• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b705a820bf97c951ccee5d86cb625119' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table style=\"font-family: \'Times New Roman\'; font-size: medium; width: 95%;\" align=\"center\">\n<tbody>\n<tr>\n<td valign=\"top\">\n<table style=\"width: 95%;\">\n<tbody>\n<tr valign=\"top\">\n<td width=\"76%\">จอภาพ เป็นอุปกรณ์ที่รับสัญญาณจากการ์ดแสดงผล มาแสดงเป็นภาพบน จอภาพ ซึ่งเทคโนโลยีจอภาพในปัจจุบันคงจะเป็น จอภาพแบบ Trinitron และ Flat Screen(จอแบน) ไม่ว่าจะเป็น CRT(moniter ทั่วไป) หรือ LCD (จอที่มีลักษณะ<br />แบนเรียบทั้งตัวเครื่อง) จอแบนจะมีประสิทธิภาพ ในการแสดงผลมากกว่าจอปกติ เพราะสามารถลดแสดงสะท้อนได้ดี กว่าทำให้ไม่เกิดอาการเมื่อยล้า และปวดตา<br />เมื่อต้องทำงานนาน ๆ แต่ ราคาของจอแบนยังมีราคาสูงกว่า จอปกติพอสมควร<br />ทำให้ยังไม่เป็น ที่นิยมมากนัก แต่ในอนาคตอันใกล้จอแบนคงจะมีราคาที่ถูกกว่านี้&nbsp;<br />และเป็นมาตรฐานของจอภาพคอมพิวเตอร์ในอนาคต</td>\n<td width=\"24%\"><img src=\"http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/pics/775FT11.JPG\" alt=\"\" width=\"150\" height=\"150\" align=\"right\" /></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\">\n<table style=\"width: 95%;\">\n<tbody>\n<tr valign=\"top\">\n<td width=\"19%\"><img src=\"http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/pics/monitor_15viewmte53.gif\" alt=\"\" width=\"100\" height=\"100\" align=\"left\" /></td>\n<td width=\"81%\"><br />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;การที่ผู้ใช้มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ปรากฏบนจอภาพได้นั้น เป็นเพราะฮาร์ดแวร์อีกตัวหนึ่ง ที่ทำงาน ควบคู่กับจอภาพเรียกว่า การ์ดสำหรับแสดงผลจอภาพ (Display Adapter Card) เป็นวงจรภายใน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำงานร่วมกับจอภาพ</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;จำนวนสีที่สามารถแสดงบนจอภาพได้นั้นเป็นตัวกำหนดว่าภาพบนจอจะมีสีสรรสมจริงเพียงใดโดยจอ VGA (Video Graphics Array) แสดงผลในโหมดความละเอียด 640X480 พิกเซล จอ SVGA (Super Video Graphics Array) แสดงผลในโหมดความละเอียด 800X600 พิกเซล จอภาพในปัจจุบันเกือบทั้งหมดใช้จอระดับนี้แล้วจอภาพที่ แสดงจำนวนสี 65,536 หรือ 16 บิตสี จะแสดงความสมจริงได้ดีพอสมควร เหมาะสำหรับงานการฟฟิก มัลติมีเดีย และสิ่งพิมพ์ ส่วนจอภาพที่แสดงจำนวนสี 16,777,216สีจะให้สีสมจริงตามธรรมชาติ สีระดับนี้เหมาะสำหรับงาน ตกแต่งภาพและงานสิ่งพิมพ์ระดับสูง</td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\">\n<table style=\"width: 95%;\">\n<tbody>\n<tr valign=\"top\">\n<td width=\"83%\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;LCD นี้ย่อมาจาก Liquid Crystal Display ซึ่งหมายความว่า มอนิเตอร์แบบนี้ เป็นแบบผลึกเหลว ผลึกเหลวนี้เป็นสสารที่แทบจะเรียกได้ว่าโปร่งใส และมีคุณสมบัติ ก้ำกึ่งระหว่างของแข็ง และของเหลว คือว่า เมื่อตอนอยู่เฉยๆ เนี่ย ผลึกเหลวจะอยู่ในสถานะ ของเหลว แต่เมื่อมีแสงผ่านมา ก็จะเกิด การจัดเรียงโมเลกุลใหม่ ผลึกเหลวก็จะมีคุณสมบัติ เป็นของแข็งแทน ส่วนแสงที่ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว ก็จะกลับมามีคุณสมบัติเป็นของเหลว เหมือนเดิม&nbsp;<br /><br /></td>\n<td width=\"17%\"><img src=\"http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/pics/13.GIF\" alt=\"\" width=\"100\" height=\"100\" align=\"right\" /></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;สำหรับปัจจุบันนี้ มอนิเตอร์ LCD นั้นใช้กันอย่างแพร่หลายในฐานะที่เป็นมอนิเตอร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบบพกพาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น โน้ตบุ๊ค และ PDA (พวกเครื่องปาล์ม)รวมไปถึงก้าวมามีบทบาทแทนที่มอนิเตอร์แบบ&nbsp;<br />CRT (Cathode-ray tube)ของเครื่องตั้งโต๊ะที่เคยใช้กันแล้ว ในปัจจุบันแบ่งออกได้เป็นสองแบบใหญ่ๆ ก็คือ&nbsp;<br /><span style=\"color: #669900;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;Dual-Scan Twisted Nematic (DSTN)</span><br /><span style=\"color: #669900;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;Thin Flim Transistor (TFT)&nbsp;<br /></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\">\n<table style=\"width: 95%;\">\n<tbody>\n<tr valign=\"top\">\n<td width=\"16%\"><img src=\"http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/pics/monitor_LCD%2015_socos_LCD.gif\" alt=\"\" width=\"100\" height=\"100\" align=\"left\" /></td>\n<td width=\"84%\">\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;จอ LCD แบบ TFT หรือ Thin Film Transistor นั้นถูกพัฒนาเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง ของ จอ LCD แบบ DSTN โดยเป็นแบบ Active Matrix ทำให้มีการตอบสนอง ต่อการ เปลี่ยนแปลงของภาพที่เร็ว และมีความคมชัดขึ้น รวมทั้งมอนิเตอร์แบบ TFTจะมีรูปร่างบางกว่า มอนิเตอร์แบบ LCDปกติ จึงทำให้มันมีน้ำหนักเบากว่า และอัตรารีเฟรชของภาพก็ใกล้เคียง กับมอนิเตอร์แบบCRT เนื่องจากว่ากระแสไฟฟ้านั่นวิ่งเร็วกว่าจอ LCD แบบ DSTN</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<table class=\"ftable\" style=\"width: 470px;\" border=\"0\" cellspacing=\"0\" cellpadding=\"0\" align=\"center\" bgcolor=\"#FF6633\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\">เปรียบเทียบข้อดีข้อด้อยระหว่างมอนิเตอร์แบบ LCD กับ มอนิเตอร์แบบ CRT</div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<table class=\"cpu\" style=\"width: 469px;\" border=\"0\" cellspacing=\"0\" cellpadding=\"0\" align=\"center\">\n<tbody>\n<tr>\n<td bgcolor=\"#E8F3FF\">&nbsp;</td>\n<td bgcolor=\"#E8F3FF\">\n<div align=\"center\">LCD</div>\n</td>\n<td bgcolor=\"#E8F3FF\">\n<div align=\"center\">CRT</div>\n</td>\n</tr>\n<tr bgcolor=\"#FFE3D7\">\n<td width=\"137\">\n<ul>\n<li></li>\n</ul>\n<p>พื้นที่ในการแสดงผล</p></td>\n<td width=\"163\">\n<div align=\"left\">ดีกว่ามากเมื่อเทียบขนาดเดียวกัน</div>\n</td>\n<td width=\"169\">&nbsp;</td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"16\">\n<ul>\n<li></li>\n</ul>\n<p>มุมมอง</p></td>\n<td>\n<div align=\"left\">มีแค่ 49-100 องศา</div>\n</td>\n<td>\n<div align=\"left\">มีมุมมองกว้างถึง &gt;190 องศา</div>\n</td>\n</tr>\n<tr bgcolor=\"#FFE8DD\">\n<td>\n<ul>\n<li></li>\n</ul>\n<p>ความสว่าง</p></td>\n<td>\n<div align=\"left\">สบายตา</div>\n</td>\n<td bgcolor=\"#FFE8DD\">\n<div align=\"left\">สว่างมาก (แสบตาถ้าต้องเพ่งนานๆ)</div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<ul>\n<li></li>\n</ul>\n<p>อัตราการรีเฟรชของภาพ</p></td>\n<td>\n<div align=\"left\">แบบ(TFT)ใกล้เคียง CRT</div>\n</td>\n<td>\n<div align=\"left\">มีอัตราเร็วที่สุด</div>\n</td>\n</tr>\n<tr bgcolor=\"#FFE8DD\">\n<td>\n<ul>\n<li></li>\n</ul>\n<p>การใช้พลังงาน</p></td>\n<td>\n<div align=\"left\">ประหยัด</div>\n</td>\n<td>\n<div align=\"left\">กินไฟ</div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<ul>\n<li>การแผ่รังสี</li>\n</ul>\n</td>\n<td>\n<div align=\"left\">มีอัตราการแผ่รังสี =0</div>\n</td>\n<td>\n<div align=\"left\">มีการแผ่รังสี</div>\n</td>\n</tr>\n<tr bgcolor=\"#FFE8DD\">\n<td>\n<ul>\n<li>พื้นที่ในการติดตั้ง</li>\n</ul>\n</td>\n<td>\n<div align=\"left\">ใช้พื้นที่น้อยนิด</div>\n</td>\n<td>\n<div align=\"left\">ใช้พื้นที่ในการวางมากกว่า</div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<ul>\n<li>อายุการใช้งาน</li>\n</ul>\n</td>\n<td>\n<div align=\"left\">ประมาณ 6.85 ปี (2,500วัน)</div>\n</td>\n<td>\n<div align=\"left\">6-8 ปี</div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<table style=\"font-family: \'Times New Roman\'; -webkit-border-horizontal-spacing: 0px; -webkit-border-vertical-spacing: 0px; font-size: medium; width: 95%;\" align=\"center\">\n<tbody>\n<tr>\n<td valign=\"top\">ข้อควรจำ</td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ใครที่ชอบเปิดคอมฯ และมอนิเตอร์ไว้เป็นเวลานานๆ โดยไม่ได้ใช้งาน อย่าลืมใช้ screen saver เพราะการที่ ลำแสง อิเล็คตรอนถูกยิงออกมาเพื่อ ฉายภาพเดิมซ้ำแล้วซ้ำอีกเรื่อยๆ จะทำให้เจ้าสารเรืองแสงที่เคลือบอยู่ที่ผิวจอ&nbsp;<br />เสื่อมได้ การใช้ screen saver ก็จะทำให้ลำแสงที่ยิงออกมาเปลี่ยนที่ไปเรื่อยๆ ไม่ได้ฉายซ้ำอยู่ที่เดียว</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1719961772, expire = 1720048172, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b705a820bf97c951ccee5d86cb625119' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

จอภาพ (รุจิรา)

จอภาพ เป็นอุปกรณ์ที่รับสัญญาณจากการ์ดแสดงผล มาแสดงเป็นภาพบน จอภาพ ซึ่งเทคโนโลยีจอภาพในปัจจุบันคงจะเป็น จอภาพแบบ Trinitron และ Flat Screen(จอแบน) ไม่ว่าจะเป็น CRT(moniter ทั่วไป) หรือ LCD (จอที่มีลักษณะ
แบนเรียบทั้งตัวเครื่อง) จอแบนจะมีประสิทธิภาพ ในการแสดงผลมากกว่าจอปกติ เพราะสามารถลดแสดงสะท้อนได้ดี กว่าทำให้ไม่เกิดอาการเมื่อยล้า และปวดตา
เมื่อต้องทำงานนาน ๆ แต่ ราคาของจอแบนยังมีราคาสูงกว่า จอปกติพอสมควร
ทำให้ยังไม่เป็น ที่นิยมมากนัก แต่ในอนาคตอันใกล้จอแบนคงจะมีราคาที่ถูกกว่านี้ 
และเป็นมาตรฐานของจอภาพคอมพิวเตอร์ในอนาคต

            การที่ผู้ใช้มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ปรากฏบนจอภาพได้นั้น เป็นเพราะฮาร์ดแวร์อีกตัวหนึ่ง ที่ทำงาน ควบคู่กับจอภาพเรียกว่า การ์ดสำหรับแสดงผลจอภาพ (Display Adapter Card) เป็นวงจรภายใน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำงานร่วมกับจอภาพ
            จำนวนสีที่สามารถแสดงบนจอภาพได้นั้นเป็นตัวกำหนดว่าภาพบนจอจะมีสีสรรสมจริงเพียงใดโดยจอ VGA (Video Graphics Array) แสดงผลในโหมดความละเอียด 640X480 พิกเซล จอ SVGA (Super Video Graphics Array) แสดงผลในโหมดความละเอียด 800X600 พิกเซล จอภาพในปัจจุบันเกือบทั้งหมดใช้จอระดับนี้แล้วจอภาพที่ แสดงจำนวนสี 65,536 หรือ 16 บิตสี จะแสดงความสมจริงได้ดีพอสมควร เหมาะสำหรับงานการฟฟิก มัลติมีเดีย และสิ่งพิมพ์ ส่วนจอภาพที่แสดงจำนวนสี 16,777,216สีจะให้สีสมจริงตามธรรมชาติ สีระดับนี้เหมาะสำหรับงาน ตกแต่งภาพและงานสิ่งพิมพ์ระดับสูง
           LCD นี้ย่อมาจาก Liquid Crystal Display ซึ่งหมายความว่า มอนิเตอร์แบบนี้ เป็นแบบผลึกเหลว ผลึกเหลวนี้เป็นสสารที่แทบจะเรียกได้ว่าโปร่งใส และมีคุณสมบัติ ก้ำกึ่งระหว่างของแข็ง และของเหลว คือว่า เมื่อตอนอยู่เฉยๆ เนี่ย ผลึกเหลวจะอยู่ในสถานะ ของเหลว แต่เมื่อมีแสงผ่านมา ก็จะเกิด การจัดเรียงโมเลกุลใหม่ ผลึกเหลวก็จะมีคุณสมบัติ เป็นของแข็งแทน ส่วนแสงที่ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว ก็จะกลับมามีคุณสมบัติเป็นของเหลว เหมือนเดิม 

              สำหรับปัจจุบันนี้ มอนิเตอร์ LCD นั้นใช้กันอย่างแพร่หลายในฐานะที่เป็นมอนิเตอร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบบพกพาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น โน้ตบุ๊ค และ PDA (พวกเครื่องปาล์ม)รวมไปถึงก้าวมามีบทบาทแทนที่มอนิเตอร์แบบ 
CRT (Cathode-ray tube)ของเครื่องตั้งโต๊ะที่เคยใช้กันแล้ว ในปัจจุบันแบ่งออกได้เป็นสองแบบใหญ่ๆ ก็คือ 
             Dual-Scan Twisted Nematic (DSTN)
             Thin Flim Transistor (TFT) 

          จอ LCD แบบ TFT หรือ Thin Film Transistor นั้นถูกพัฒนาเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง ของ จอ LCD แบบ DSTN โดยเป็นแบบ Active Matrix ทำให้มีการตอบสนอง ต่อการ เปลี่ยนแปลงของภาพที่เร็ว และมีความคมชัดขึ้น รวมทั้งมอนิเตอร์แบบ TFTจะมีรูปร่างบางกว่า มอนิเตอร์แบบ LCDปกติ จึงทำให้มันมีน้ำหนักเบากว่า และอัตรารีเฟรชของภาพก็ใกล้เคียง กับมอนิเตอร์แบบCRT เนื่องจากว่ากระแสไฟฟ้านั่นวิ่งเร็วกว่าจอ LCD แบบ DSTN

 

 

 

เปรียบเทียบข้อดีข้อด้อยระหว่างมอนิเตอร์แบบ LCD กับ มอนิเตอร์แบบ CRT
 
LCD
CRT

พื้นที่ในการแสดงผล

ดีกว่ามากเมื่อเทียบขนาดเดียวกัน
 

มุมมอง

มีแค่ 49-100 องศา
มีมุมมองกว้างถึง >190 องศา

ความสว่าง

สบายตา
สว่างมาก (แสบตาถ้าต้องเพ่งนานๆ)

อัตราการรีเฟรชของภาพ

แบบ(TFT)ใกล้เคียง CRT
มีอัตราเร็วที่สุด

การใช้พลังงาน

ประหยัด
กินไฟ
  • การแผ่รังสี
มีอัตราการแผ่รังสี =0
มีการแผ่รังสี
  • พื้นที่ในการติดตั้ง
ใช้พื้นที่น้อยนิด
ใช้พื้นที่ในการวางมากกว่า
  • อายุการใช้งาน
ประมาณ 6.85 ปี (2,500วัน)
6-8 ปี
ข้อควรจำ
             ใครที่ชอบเปิดคอมฯ และมอนิเตอร์ไว้เป็นเวลานานๆ โดยไม่ได้ใช้งาน อย่าลืมใช้ screen saver เพราะการที่ ลำแสง อิเล็คตรอนถูกยิงออกมาเพื่อ ฉายภาพเดิมซ้ำแล้วซ้ำอีกเรื่อยๆ จะทำให้เจ้าสารเรืองแสงที่เคลือบอยู่ที่ผิวจอ 
เสื่อมได้ การใช้ screen saver ก็จะทำให้ลำแสงที่ยิงออกมาเปลี่ยนที่ไปเรื่อยๆ ไม่ได้ฉายซ้ำอยู่ที่เดียว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 465 คน กำลังออนไลน์