• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2aa8c89dd2147e5d13a2834839f47627' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-size: medium; color: #00ccff\">ระบบสุริยะประกอบด้วย <br />\n</span></strong><strong><span style=\"font-size: medium; color: #00ccff\">ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ 9 ดวง <br />\nบริวารของดาวเคราะห์มากกว่า 130 ดวง <br />\nดาวหางและดาวเคราะห์น้อย </span></strong>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img width=\"350\" src=\"http://skyclub.tsshoponline.com/articles/skyobject/solar_01.jpg\" height=\"208\" onclick=\"MM_openBrWindow(\'skyobject/solar_02.jpg\',\'orbital\',\'width=570,height=500\')\" /><br />\n<span style=\"font-size: medium; color: #00ccff\">วงโคจรของดาวเคราะห์มีลักษณะเป็นวงรี <br />\nโดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดโฟกัสจุดหนึ่ง <br />\nมีดาวพุธอยู่ใกล้ที่สุดและดาวพลูโตที่อยู่ไกลสุด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; color: #00ccff\">       วงโคจรของดาวเคราะห์จะอยู่ในระนาบเดียวกันแต่ก็มีแตกต่างกันมากบ้าง น้อยบ้างขึ้นอยู่กับแกนเอียง (เราเรียกระนาบนี้ว่า ecliptic เหมือนกับระนาบวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์) ระนาบอิคลิปติกจะเอียงเพียง 7 องศา จากระนาบเส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์ วงโคจรของดาวพลูโตจะเอียงจากระนาบอิคลิปติกมากที่สุด 17 องศา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; color: #00ccff\">       จากภาพข้างต้นจะเห็นถึงความสัมพันธ์ ของขนาดวงโคจรของดาวเคราะห์ทั้ง 9 ดวง ดาวเคราะห์ส่วนใหญ่มีทิศทางการโคจรไปในทิศทางเดียวกัน (ทวนเข็มนาฬิกาเมื่อมองจากขั้วเหนือของดวงอาทิตย์) แต่ก็มีดาวเคราะห์บางดวงที่เคลื่อนที่ตามเข็ม คือ ดาวศุกร์,ยูเรนัสและพลูโต</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; color: #00ccff\">       หากเราจะจำลองขนาด และความสัมพันธ์ของวงโคจรของดาวเคราะห์ทั้ง 9 ดวง จากหน่วย 1 ต่อ 1 พันล้าน(1x109) จะได้ว่าเส้นผ่าศูนย์กลางของโลกจะมีขนาดประมาณ 1.3 cm. (ขนาดเท่ากับผลองุ่น) ห่างออกไปประมาณ 1 ฟุต จะเป็นวงโคจรของดวงจันทร์ ถัดออกไปจากโลกประมาณ 150 m. หรือ 1 ช่วงตึกจะเป็นตำแหน่งของดวงอาทิตย์ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 m. (ความสูงของคน 1 คน) ตำแหน่งของดาวพฤหัส จะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 5 ช่วงตึก มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 15 cm. (ขนาดพอ ๆ กับองุ่น 1 พวงใหญ่ ๆ ) ถัดออกไปจากดาวพฤหัสจะเป็นดาวเสาร์ที่มีขนาดเท่ากับส้ม 1 ลูกอยู่ห่างประมาณ 10 ช่วงตึก จากนั้นจะเป็นดาวยูเรนัสและเนปจูน ขนาดเท่า ๆ กับมะนาว 1 ลูก อยู่ห่าง 20 และ 30 ช่วงตึกไกลออกไป ถ้าเทียบสเกลนี้กับมนุษย์ มนุษย์จะมีขนาดเท่ากับ อะตอม 1 อะตอมเท่านั้น ดาวฤกษ์ดวงอื่นที่อยู่ใกล้ที่สุดจะอยู่ห่างออกไปไกลถึง 40,000 km.เลยทีเดียว</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; color: #00ccff\">       นอกจากดาวเคราะห์ดวงใหญ่ ๆ แล้วในระบบสุริยะก็ยังมีวัตถุขนาดเล็กเช่น ดาวเคราะห์น้อยที่โคจรอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัส และบริวารของดาวเคราะห์อื่น ๆ ด้วย และยังมีดาวหางที่เป็นเหมือนก้อนน้ำแข็งเล็ก ๆ อยู่ด้านนอกซึ่งนาน ๆ ครั้งจะโคจรมาให้เราได้สังเกตกันอีก</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; color: #00ccff\">แหล่งอ้างอิง: <a href=\"http://www.geocities.com/nananaru/science/science2.html\">http://www.geocities.com/nananaru/science/science2.html</a><br />\n                 <a href=\"http://skyclub.tsshoponline.com/articles/solarsystem.html\">http://skyclub.tsshoponline.com/articles/solarsystem.html</a></span>\n</p>\n', created = 1715814318, expire = 1715900718, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2aa8c89dd2147e5d13a2834839f47627' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

0004 บทนำ

ระบบสุริยะประกอบด้วย
ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ 9 ดวง
บริวารของดาวเคราะห์มากกว่า 130 ดวง
ดาวหางและดาวเคราะห์น้อย 


วงโคจรของดาวเคราะห์มีลักษณะเป็นวงรี
โดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดโฟกัสจุดหนึ่ง
มีดาวพุธอยู่ใกล้ที่สุดและดาวพลูโตที่อยู่ไกลสุด

       วงโคจรของดาวเคราะห์จะอยู่ในระนาบเดียวกันแต่ก็มีแตกต่างกันมากบ้าง น้อยบ้างขึ้นอยู่กับแกนเอียง (เราเรียกระนาบนี้ว่า ecliptic เหมือนกับระนาบวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์) ระนาบอิคลิปติกจะเอียงเพียง 7 องศา จากระนาบเส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์ วงโคจรของดาวพลูโตจะเอียงจากระนาบอิคลิปติกมากที่สุด 17 องศา

       จากภาพข้างต้นจะเห็นถึงความสัมพันธ์ ของขนาดวงโคจรของดาวเคราะห์ทั้ง 9 ดวง ดาวเคราะห์ส่วนใหญ่มีทิศทางการโคจรไปในทิศทางเดียวกัน (ทวนเข็มนาฬิกาเมื่อมองจากขั้วเหนือของดวงอาทิตย์) แต่ก็มีดาวเคราะห์บางดวงที่เคลื่อนที่ตามเข็ม คือ ดาวศุกร์,ยูเรนัสและพลูโต

       หากเราจะจำลองขนาด และความสัมพันธ์ของวงโคจรของดาวเคราะห์ทั้ง 9 ดวง จากหน่วย 1 ต่อ 1 พันล้าน(1x109) จะได้ว่าเส้นผ่าศูนย์กลางของโลกจะมีขนาดประมาณ 1.3 cm. (ขนาดเท่ากับผลองุ่น) ห่างออกไปประมาณ 1 ฟุต จะเป็นวงโคจรของดวงจันทร์ ถัดออกไปจากโลกประมาณ 150 m. หรือ 1 ช่วงตึกจะเป็นตำแหน่งของดวงอาทิตย์ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 m. (ความสูงของคน 1 คน) ตำแหน่งของดาวพฤหัส จะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ 5 ช่วงตึก มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 15 cm. (ขนาดพอ ๆ กับองุ่น 1 พวงใหญ่ ๆ ) ถัดออกไปจากดาวพฤหัสจะเป็นดาวเสาร์ที่มีขนาดเท่ากับส้ม 1 ลูกอยู่ห่างประมาณ 10 ช่วงตึก จากนั้นจะเป็นดาวยูเรนัสและเนปจูน ขนาดเท่า ๆ กับมะนาว 1 ลูก อยู่ห่าง 20 และ 30 ช่วงตึกไกลออกไป ถ้าเทียบสเกลนี้กับมนุษย์ มนุษย์จะมีขนาดเท่ากับ อะตอม 1 อะตอมเท่านั้น ดาวฤกษ์ดวงอื่นที่อยู่ใกล้ที่สุดจะอยู่ห่างออกไปไกลถึง 40,000 km.เลยทีเดียว

       นอกจากดาวเคราะห์ดวงใหญ่ ๆ แล้วในระบบสุริยะก็ยังมีวัตถุขนาดเล็กเช่น ดาวเคราะห์น้อยที่โคจรอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัส และบริวารของดาวเคราะห์อื่น ๆ ด้วย และยังมีดาวหางที่เป็นเหมือนก้อนน้ำแข็งเล็ก ๆ อยู่ด้านนอกซึ่งนาน ๆ ครั้งจะโคจรมาให้เราได้สังเกตกันอีก

แหล่งอ้างอิง: http://www.geocities.com/nananaru/science/science2.html
                 http://skyclub.tsshoponline.com/articles/solarsystem.html

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 204 คน กำลังออนไลน์