• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0bc17c16a713303ea3ad63cac4d1367f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img height=\"200\" width=\"600\" src=\"/files/u88913/3.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"198\" width=\"250\" src=\"/files/u88913/G155.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.rachineeburana.net/main/images/stories/pic_school/sripatcharin1.jpg\">http://www.rachineeburana.net/main/images/stories/pic_school/sripatcharin1.jpg</a>\n</p>\n<p>\n          สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ( พระพันปีหลวง ) ประสูติ ในพระบรมมหาราชวังเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2406 เป็นพระราชธิดาในพระ บาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเปี่ยม (ซึ่งในรัชกาล ที่ 5 ได้รับพระราชทานสถาปนาเป็นเจ้าคุณจอมมารดา และในรัชกาลที่ 6 เป็นสมเด็จพระปิยมาวดีศรีพัชรินทรมาตา) ในการสมโภชเมื่อ ประสูติได้ ครบเดือนหนึ่ง พระองค์ได้รับพระราชทานพระนามว่า พระองค์เจ้าเสาวภา ผ่องศรี <br />\n          สมเด็จฯ ทรงมีพระปัญญาเฉียบแหลมมาแต่ยังทรงพระเยาว์ แต่บางทีก็ดื้อมาก เช่น เวลาทรงพระอักษร ก็ไม่ยอมทรงอ่านดัง ๆ พระอาจารย์อ่านถวายไปเท่าใด ท่านก็ทอดพระเนตรตามไปเฉย ๆ พระอาจารย์ไม่อาจทราบว่าสามารถทรงได้เพียงไหน จึงต้องไปร้องทุกข์ต่อเจ้าจอมมารดา ครั้นเจ้า จอมมารดาทูลต่อว่า ก็ตรัสว่า &quot; ฉันอ่านได้แล้ว &quot; เจ้าจอมมารดาบังคับให้ทรงอ่านให้ฟังก็ได้จริงดั่งที่ตรัสมา พระองค์เป็นพระราชธิดาที่สมเด็จพระบรมชนกนาถ ทรง พระเมตตามาก ดั่งปรากฏในพระนิพนธ์เรื่อง ความทรงจำของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพว่า เมื่อเสด็จทรงพระราชทานประพาสในที่ใด ๆ ก็โปรดให้สมเด็จฯ ประทับบนพระเพลา คู่กับพระองค์เจ้าสว่างวัฒนา ( สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าในรัชกาลปัจจุบัน ) ถ้าไปทางไกลหน่อยก็ประทับที่ ซอกพระขนอง แต่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตเสียเมื่อพระองค์มีพระชันษาเพียง 5 ปี ครั้นเมื่อมีพระชันษาได้ 13 ปี ได้เสด็จเข้า พระราชพิธี โสกันต์ พร้อมด้วยพระราชโอรสธิดาในรัชกาลที่สี่อีก 5 พระองค์ อาทิ คือ พระองค์เจ้าจิตรเจริญ ( สมเด็จพระเจ้าบรม วงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวิตติวงศ์ ) ครั้งนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้จัดเป็นการพิเศษ คือมีกระบวนแห่รอบนอกด้วย <br />\n          สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทววงศ์วโรปการ ได้ทรงกล่าวไว้ในพระราชประวัติของพระองค์ที่พิมพ์ไว้ต้นหนังสือแจกงาน      พระบรมศพว่า &quot; ในปลาย รัชกาลที่ 4 นั้น ยังหาได้มีที่จะศึกษาเล่าเรียนได้ดีเสมอเหมือนอย่างทุกวันนี้ไม่ และพระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายในซึ่งทรงชำนาญในการอักษร เคยเป็นที่ศึกษาเล่าเรียน ของเจ้านายชั้นหลังนั้นก็สิ้นพระชนม์ไปเสียหมดแล้ว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ จึงมีโอกาสที่จะทรงศึกษาเล่าเรียนได้น้อยนัก แต่หากว่าทรงมีพระวิริยะพระปัญญา แตก ตั้งแต่ประสูติมาเดิมแล้ว และพระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงทรงพระเมตตากรุณาใช้สอยติดตามเสด็จ มาแต่ยังทรงพระเยาว์ได้ทรงเห็นทรงฟังพระกระแส รับสั่ง และการงานในพระราชสำนักมาก อีกทั้งได้ทรงพระอุตสาหะหมั่นฟังหมั่นถาม เล่าเรียน หมั่นเขียน หมั่นตริตรองตามวิสัยบัณฑิตยชาติ จึงได้ทรงทราบสรรพ วิชาอันควรจะทราบได้ ถ้าแม้จะไม่ดีกว่า ก็เสมอเหมือนผู้ที่มีความรู้และศึกษาเล่าเรียนอย่างดีแล้วก็ได้ ความข้อนี้มีพยานที่จะให้เห็นปรากฏชัด ในลายพระราชหัตถ์ ที่ทรงไว้เป็นอันมาก กับทั้งในราชการบ้านเมืองอันสำคัญที่สุด ซึ่งได้ทรงสำเร็จราชการแผ่นดินต่างพระองค์ ในเวลาซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง เสด็จพระ ราชดำเนินประพาสยุโรปใน พ.ศ. 2440 ย่อมปรากฏชัดเจนแก่คนทั้งปวงทั่วหน้ากันแล้ว ทรงพระปัญญาสามารถที่จะวินิจฉัยราชการได้ทั่วไป แม้ที่สุดในข้อสำคัญ ๆ ซึ่งเกิดมีความเห็นแตกต่างกันในระหว่างเจ้ากระทรวงทบวงการนั้น ๆ ก็ยังทรงพระราชวินิจฉัยได้แต่โดยลำพังพระองค์ให้เป็นที่พอใจกันได้ทั่วหน้าแล้ว และมิให้ เป็นที่เสียประโยชน์ราชการอย่างหนึ่งอย่างใดได้เลย &quot;\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p>  <br />\n          พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประดิษฐานพระองค์ไว้ในตำแหน่ง พระมเหสีมีพระอิสริยยศเป็นลำดับมาคือ เป็น พระนางเธอเสาวภาผ่องศรี แล้วเป็น พระนางเจ้า ฯ พระวรราชเทวี ต่อมาเป็น สมเด็จพระนางเจ้าพระอัครราชเทวี ครั้นถึง พ.ศ. 2440 เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะเสด็จประพาสยุโรป ได้ทรงสถาปนาพระองค์เป็น สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ผู้สำเร็จราชการต่างพระองค์โดยฐานะที่ทรงเป็นพระราชมารดาของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ในรัชกาลที่หก พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาพระองค์เป็น                สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนี และทรงมอบการปกครอง ในพระบรมมหาราชวังถวายเป็นสิทธิ์ขาดแก่พระองค์ ต่อมายังถวายพระเกียรติในทางทหารคือ ทรงเป็นพันโทผู้บังคับการพิเศษกองพันที่ 2 กรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ในพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพันเอกพิเศษแห่งกรมทหารม้าที่ 5 นครราชสีมา สมเด็จ ฯ ได้ทรงรับพระราชทาน เครื่องราชอิสริยา ภรณ์ฝ่ายในชั้นที่ 1 ทุกอย่าง ตั้งแต่ในรัชกาลที่ห้ามาแล้วและได้ทรงดำรงตำแหน่งมหาสวามินีแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าฝ่ายในด้วย ( ตำแหน่งนี้มีหน้าที่ กำหนดตัวผู้ที่สมควรได้รับพระราชทานตราขึ้นถวายเพื่อทรงพิจารณา ได้เลิกไปแล้วภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน พ.ศ. 2475 )  ในรัชกาลที่หก เมื่อ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎสยามชั้นสูงสุด คือ มหาวชิรมงกุฎขึ้น ได้ถวายแด่พระองค์เป็นปฐมสำหรับสตรี โดย วางบนพานตั้งไว้หน้าพระบรมโกศ เพราะตรานี้สร้างเสร็จเมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตแล้ว พระองค์ยังได้ทรงรับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฝ่ายใน ของต่างประเทศ อีก หลายประเทศ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"240\" width=\"320\" src=\"/files/u88913/untitled_1_.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://2.bp.blogspot.com/_06cZHWPKmOI/SmFxbaY1spI/AAAAAAAAAKA/pCqnWCKmVhU/s400/untitled%5B1%5D.jpg\">http://2.bp.blogspot.com/_06cZHWPKmOI/SmFxbaY1spI/AAAAAAAAAKA/pCqnWCKmVhU/s400/untitled%5B1%5D.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n          สมเด็จฯ ได้บำเพ็ญพระราชกรณียกิจอย่างน่าสรรเสริญในฐานะพระมเหสีของพระมหากษัตริย์ กล่าวคือ ทรงตั้งมั่นอยู่ในราชธรรมจรรยา มีพระราชหฤทัย กว้าง ขวาง เพียบพร้อมด้วยพระเมตตาและกรุณาคุณเป็นที่นับถือของคนทั้งหลาย แม้จะมีความฉุนเฉียวบ้างในบางขณะบางกรณีก็มิได้พยายาทผูกแค้นอยู่นาน จึ่งมีผลที่ บางคนเคยมีใจชิงชังพระองค์มาก่อนแล้วกลับกลายเป็นผู้จงรักภักดีในที่สุด ก็มีอยู่มาก อนึ่ง พระองค์ยังทรงมีพระญาณวิเศษอาจหยั่งทราบได้ใน ความจงรักภักดีหรือ คุณสมบัติบางประการของผู้ที่มิได้ขวนขวายเฝ้าแหน หรือพยายามวิ่งเต้นหาความชอบแต่เฉพาะพระพักตร์อันใดนัก ข้อนี้ก่อให้เกิดความจงรักภักดี มั่นคงต่อพระองค์ ยิ่งขึ้นในจิตใจของผู้ที่เห็นคุณค่าในน้ำพระราชหฤทัยอันเที่ยงธรรมนั้น สำหรับพระราชสวามีนั้นพระองค์ทรงเป็นผู้ร่วมทุกข์ร่วมสุขได้โดยแท้จริง ดั่งจะเห็นได้หลายทาง เช่นทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจอย่างสมบูรณ์ ในยามประชวร พระองค์ก็คะเนพระอาการได้ถูกต้อง และถวายการพยาบาลให้เป็นที่พอพระราชหฤทัย ในการประชวรครั้งสุดท้ายนั้น เมื่อได้เห็นพระอาการ แม้ในระยะเริ่มแรก ก็ ทรงทราบทันทีว่าหนัก ก่อนที่หมอจะทราบว่าพระวักกะไม่ทำงานและพระบังคนเบาเป็นพิษเสียอีก ทั้งนี้น่าจะเป็นด้วยทรงมีพระหฤทัยจงรักภักดีผูกพันมั่นคง อยู่ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดั่งปรากฏในพระราชดำรัส เมื่อพระราชทานเหรียญราชินีแก่ผู้โดยเสด็จดำเนินประพาสยุโรปคราวแรกๆ เมื่อ วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2440 &quot; เรามีความขอบใจท่านทั้งหลายบันดาที่ได้โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวประพาสประเทศยุโรปครั้งนี้เป็นอันมาก ถึงว่าการเสด็จยุโรปครั้งนี้มิใช่ไป ทัพศึกก็จริง แต่เมื่อคิดดูถึงระยะทางที่ไกลแลกันดาร ทั้งภยันตรายต่างๆ ซึ่งอาจจะมีจะเป็นได้ด้วยโลกะธาตุแลเหตุอื่นๆ แลที่สุดเมื่อคิดว่าพระองค์แลพระบรมสุขของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นสิ่งสำคัญของชาวเราและบ้านเมืองของเราเพียงใด ก็ย่อมและเห็นได้ว่าน่าที่ระวังเหตุการณ์ต่าง ๆ ในเวลาที่เสด็จไปครั้งนี้ เป็นการ สำคัญมาก ที่ท่านทั้งหลายได้ติดตามเสด็จพิทักษ์รักษาแลสนองพระเดชพระคุณ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยความจงรักภักดี ต่อใต้ฝ่าลอองธุลีพระบาท แลได้อุตส่าห์รักษาการตามหน้าที่เรียบร้อยตลอดมาจนเสด็จกลับคืนพระนครครั้งนี้ ชื่อว่าเป็นความชอบ ความดี และเป็นเกียรติยศแก่ท่านทั้งหลาย อันสมควรจะสรรเสริญยิ่งขึ้น\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>\n          ในส่วนตัวของเรานี้ ท่านทั้งหลายย่อมจะเข้าใจได้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เปรียบดุจดวงชีวิตของเรา ที่ท่านทั้งหลายได้ช่วยกันพิทักษ์รักษาสนอง พระเดชพระคุณในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้ทรงเป็นสุขสำราญตลอดทางกันดาร จนเสด็จกลับคืนพระนครฉะนี้ ก็เหมือนหนึ่งท่านทั้งหลายได้ช่วยป้องกันชีวิต ของเราตลอดมา จึงขอบคุณท่านทั้งหลายเป็นอันมากเมื่อเราระลึกถึงคุณของท่านทั้งหลายที่มีแก่เราดังว่ามานี้ จึงได้สร้างเหรียญราชินี * ขึ้นโดยเฉพาะ แลได้รับพระ ราชทานพระบรมราชานุญาตในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่จะได้ให้แก่ท่านทั้งหลายในเวลานี้ จงรับไว้ประดับกายเป็นที่ระลึกถึงที่เราขอบคุณท่านทั้งหลาย ใน ครั้งนี้สืบไปทุก ๆ คนเทอญ &quot; สมเด็จฯ ทรงมีพระราชโอรสธิดาคือ <br />\n1. สมเด็จเจ้าฟ้าพหุรัดมณีมัย พ.ศ. 2421-2430 ในรัชกาลที่หก ทรงสถาปนาเป็นกรมพระเทพนารีรัตน์ <br />\n2. พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติ พ.ศ. 2423 ทรงราชย์ พ.ศ. 2453 สวรรคต พ.ศ. 2468 <br />\n3. สมเด็จเจ้าฟ้าชายตรีเพชรตมธำรง พ.ศ. 2424-2430 <br />\n4. สมเด็จเจ้าฟ้าชายจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ พ.ศ. 2425-2463 <br />\n5. สมเด็จเจ้าฟ้าชายศิริราชกกุธภัณฑ์ พ.ศ. 2428-2430 <br />\n6. สมเด็จเจ้าฟ้าหญิง สิ้นพระชนม์ในวันที่ประสูติ พ.ศ. 2430 <br />\n7. สมเด็จเจ้าฟ้าชายอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา พ.ศ. 2432-2467 <br />\n8. สมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพชรบูรณ์อินทราชัย พ.ศ. 2435-2466 <br />\n9. พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติ พ.ศ. 2436 ทรงราชย์พ.ศ. 2468 สละราชสมบัติ พ.ศ. 2477<br />\nสวรรคต พ.ศ. 2484l <br />\nสมเด็จ ฯ ทรงพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคงได้ทรงทะนุบำรุงโดยการบำเพ็ญพระราชกุศลอยู่เสมอมิได้ขาด ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อสร้างเจดีย์วัตถุ มีพระพุทธรูป และพระธรรมคัมภีร์ เช่น พระไตรปิฎกสยามรัฐในรัชกาลที่ห้า ทรงสร้างพระวิหารสมเด็จที่วัดเบญจมบพิตร และทรงปฏิสังขรณ์พระ อารามต่าง ๆ ทั้งในพระนคร ทั้งในหัวเมืองในพระราชอาณาจักร แม้พระพุทธเจดียฐาน นอกพระราชอาณาจักรก็ได้ทรงปฏิสังขรณ์ด้วยกัน กับได้ถวายนิตยภัตแก่พระ สงฆ์บางองค์ ถวายข้าวสารเป็นอาหารบิณฑบาต แก่ภิกษุสามเณร<br />\nทั้งพระอารามอีกหลายพระอาราม รวมทั้งค่าน้ำประปา ค่ากระแสไฟฟ้า และค่าชำระปัดกวาดรักษาพระ อารามบางแห่งอีกด้วย ในส่วนสาธารณประโยชน์นั้น พระองค์ได้ทรงสร้างสะพานพระราชเสาวนีย์ริมทางรถไฟสายเหนือเชื่อมถนนศรีอยุธยาให้ติดต่อกันตลอดเมื่อทรงบำเพ็ญ พระราช กุศลฉลองพระชนมายุครบ 48พรรษาต่อมายังโปรดให้สร้างนางพระธรณีให้น้ำเป็นอุทกทานที่หัวมุมสนามใกล้สะพานผ่านพิภพลีลากับที่โรงพยาบาลปัญจมาธิราชอุทิศ ที่พระนครศรีอยุธยา และบ่อน้ำที่หัวหิน เป็นต้น อนึ่งพระองค์ทรงตระหนักแน่ในพระราชหฤทัยว่าความเจริญของบ้านเมืองย่อมอาศัยความที่ได้ศึกษาเล่าเรียนอันดีทั้งชายและหญิงแต่โรงเรียนสำหรับเด็กชาย นั้น ทางรัฐบาลได้จัดตั้งไว้มากแล้ว จึงได้ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้จัดตั้งโรงเรียนขึ้น เริ่มด้วยโรงเรียนเสาวภา เมื่อ พ.ศ. 2440 ต่อมายังได้โปรดให้จัด ตั้งขึ้นอีก เช่น โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ (อยุธยา) ราชินีบูรณะ (นครปฐม) สำหรับเด็กชายมีโรงเรียนวิเชียรมาตุ ที่ตรังแห่งหนึ่ง โรงเรียนที่กล่าวนามมานี้ พระราช ทานไว้แก่กระทรวงธรรมการ (คือ กระทรวงศึกษาธิการบัดนี้) <br />\nสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ในชั้นเดิมมีพระสรีรานามัยดีมาก แต่ต่อมาบรรทมหลับยากดั่งได้กล่าวมาแล้ว ทั้งพระบังคมเบามีไข่ขาวด้วย เนื่องจากพระวักกะไม่ เป็นปรกติ ครั้นเมื่อพระชนมายุบรรจบ 4 รอบ ล่วงมาแล้ว ประกอบทั้งทรงประสบวิปโยคทุกข์เมื่อตอนสิ้นรัชกาลที่ห้า ก็มีพระโรคามารบกวนบ่อย ๆ พระอาการมีทรงกับทรุด เป็นเหตุให้พระกำลังลดน้อยถอยลงไปทุกที ปีหลัง ๆ ถึงกับทรงพระดำเนินโดยลำพังพระองค์ไม่ได้ ในกลางปี พ.ศ. 2462 ได้ประชวรไข้ติด ๆ กันหลายครั้ง ครั้ง ที่สุดได้เริ่มประชวรเมื่อเวลาเที่ยง วันที่ 19 ตุลาคม 2462 ไข้นั้นเกิดแต่พิษในพระอันตะ กำลังพระหทัยทนพิษไข้ไม่ได้ เสด็จสวรรคตที่ตำหนักพญาไท เวลา 7.50 นาฬิกา วันที่ 20 ตุลาคม นั้นเอง\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/152863\"><img height=\"59\" width=\"56\" src=\"/files/u88913/home11.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p>\nจัดทำโดย ด.ญ.กรกมล พยุหเกียรติ และ น.ส.มินท์ตา  พิพัฒน์สุกลภาคย์\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1728210782, expire = 1728297182, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0bc17c16a713303ea3ad63cac4d1367f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ffccf774d41ff4443557784fbce4c987' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n          ในส่วนตัวของเรานี้ ท่านทั้งหลายย่อมจะเข้าใจได้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เปรียบดุจดวงชีวิตของเรา ที่ท่านทั้งหลายได้ช่วยกันพิทักษ์รักษาสนอง พระเดชพระคุณในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้ทรงเป็นสุขสำราญตลอดทางกันดาร จนเสด็จกลับคืนพระนครฉะนี้ ก็เหมือนหนึ่งท่านทั้งหลายได้ช่วยป้องกันชีวิต ของเราตลอดมา จึงขอบคุณท่านทั้งหลายเป็นอันมากเมื่อเราระลึกถึงคุณของท่านทั้งหลายที่มีแก่เราดังว่ามานี้ จึงได้สร้างเหรียญราชินี * ขึ้นโดยเฉพาะ แลได้รับพระ ราชทานพระบรมราชานุญาตในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่จะได้ให้แก่ท่านทั้งหลายในเวลานี้ จงรับไว้ประดับกายเป็นที่ระลึกถึงที่เราขอบคุณท่านทั้งหลาย ใน ครั้งนี้สืบไปทุก ๆ คนเทอญ &quot; สมเด็จฯ ทรงมีพระราชโอรสธิดาคือ <br />\n1. สมเด็จเจ้าฟ้าพหุรัดมณีมัย พ.ศ. 2421-2430 ในรัชกาลที่หก ทรงสถาปนาเป็นกรมพระเทพนารีรัตน์ <br />\n2. พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติ พ.ศ. 2423 ทรงราชย์ พ.ศ. 2453 สวรรคต พ.ศ. 2468 <br />\n3. สมเด็จเจ้าฟ้าชายตรีเพชรตมธำรง พ.ศ. 2424-2430 <br />\n4. สมเด็จเจ้าฟ้าชายจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ พ.ศ. 2425-2463 <br />\n5. สมเด็จเจ้าฟ้าชายศิริราชกกุธภัณฑ์ พ.ศ. 2428-2430 <br />\n6. สมเด็จเจ้าฟ้าหญิง สิ้นพระชนม์ในวันที่ประสูติ พ.ศ. 2430 <br />\n7. สมเด็จเจ้าฟ้าชายอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา พ.ศ. 2432-2467 <br />\n8. สมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพชรบูรณ์อินทราชัย พ.ศ. 2435-2466 <br />\n9. พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติ พ.ศ. 2436 ทรงราชย์พ.ศ. 2468 สละราชสมบัติ พ.ศ. 2477<br />\nสวรรคต พ.ศ. 2484l <br />\nสมเด็จ ฯ ทรงพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคงได้ทรงทะนุบำรุงโดยการบำเพ็ญพระราชกุศลอยู่เสมอมิได้ขาด ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อสร้างเจดีย์วัตถุ มีพระพุทธรูป และพระธรรมคัมภีร์ เช่น พระไตรปิฎกสยามรัฐในรัชกาลที่ห้า ทรงสร้างพระวิหารสมเด็จที่วัดเบญจมบพิตร และทรงปฏิสังขรณ์พระ อารามต่าง ๆ ทั้งในพระนคร ทั้งในหัวเมืองในพระราชอาณาจักร แม้พระพุทธเจดียฐาน นอกพระราชอาณาจักรก็ได้ทรงปฏิสังขรณ์ด้วยกัน กับได้ถวายนิตยภัตแก่พระ สงฆ์บางองค์ ถวายข้าวสารเป็นอาหารบิณฑบาต แก่ภิกษุสามเณร<br />\nทั้งพระอารามอีกหลายพระอาราม รวมทั้งค่าน้ำประปา ค่ากระแสไฟฟ้า และค่าชำระปัดกวาดรักษาพระ อารามบางแห่งอีกด้วย ในส่วนสาธารณประโยชน์นั้น พระองค์ได้ทรงสร้างสะพานพระราชเสาวนีย์ริมทางรถไฟสายเหนือเชื่อมถนนศรีอยุธยาให้ติดต่อกันตลอดเมื่อทรงบำเพ็ญ พระราช กุศลฉลองพระชนมายุครบ 48พรรษาต่อมายังโปรดให้สร้างนางพระธรณีให้น้ำเป็นอุทกทานที่หัวมุมสนามใกล้สะพานผ่านพิภพลีลากับที่โรงพยาบาลปัญจมาธิราชอุทิศ ที่พระนครศรีอยุธยา และบ่อน้ำที่หัวหิน เป็นต้น อนึ่งพระองค์ทรงตระหนักแน่ในพระราชหฤทัยว่าความเจริญของบ้านเมืองย่อมอาศัยความที่ได้ศึกษาเล่าเรียนอันดีทั้งชายและหญิงแต่โรงเรียนสำหรับเด็กชาย นั้น ทางรัฐบาลได้จัดตั้งไว้มากแล้ว จึงได้ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้จัดตั้งโรงเรียนขึ้น เริ่มด้วยโรงเรียนเสาวภา เมื่อ พ.ศ. 2440 ต่อมายังได้โปรดให้จัด ตั้งขึ้นอีก เช่น โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ (อยุธยา) ราชินีบูรณะ (นครปฐม) สำหรับเด็กชายมีโรงเรียนวิเชียรมาตุ ที่ตรังแห่งหนึ่ง โรงเรียนที่กล่าวนามมานี้ พระราช ทานไว้แก่กระทรวงธรรมการ (คือ กระทรวงศึกษาธิการบัดนี้) <br />\nสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ในชั้นเดิมมีพระสรีรานามัยดีมาก แต่ต่อมาบรรทมหลับยากดั่งได้กล่าวมาแล้ว ทั้งพระบังคมเบามีไข่ขาวด้วย เนื่องจากพระวักกะไม่ เป็นปรกติ ครั้นเมื่อพระชนมายุบรรจบ 4 รอบ ล่วงมาแล้ว ประกอบทั้งทรงประสบวิปโยคทุกข์เมื่อตอนสิ้นรัชกาลที่ห้า ก็มีพระโรคามารบกวนบ่อย ๆ พระอาการมีทรงกับทรุด เป็นเหตุให้พระกำลังลดน้อยถอยลงไปทุกที ปีหลัง ๆ ถึงกับทรงพระดำเนินโดยลำพังพระองค์ไม่ได้ ในกลางปี พ.ศ. 2462 ได้ประชวรไข้ติด ๆ กันหลายครั้ง ครั้ง ที่สุดได้เริ่มประชวรเมื่อเวลาเที่ยง วันที่ 19 ตุลาคม 2462 ไข้นั้นเกิดแต่พิษในพระอันตะ กำลังพระหทัยทนพิษไข้ไม่ได้ เสด็จสวรรคตที่ตำหนักพญาไท เวลา 7.50 นาฬิกา วันที่ 20 ตุลาคม นั้นเอง\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/152863\"><img height=\"59\" width=\"56\" src=\"/files/u88913/home11.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p>\nจัดทำโดย ด.ญ.กรกมล พยุหเกียรติ และ น.ส.มินท์ตา  พิพัฒน์สุกลภาคย์\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1728210782, expire = 1728297182, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ffccf774d41ff4443557784fbce4c987' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ( พระพันปีหลวง )

รูปภาพของ rnb32489

          ในส่วนตัวของเรานี้ ท่านทั้งหลายย่อมจะเข้าใจได้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เปรียบดุจดวงชีวิตของเรา ที่ท่านทั้งหลายได้ช่วยกันพิทักษ์รักษาสนอง พระเดชพระคุณในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้ทรงเป็นสุขสำราญตลอดทางกันดาร จนเสด็จกลับคืนพระนครฉะนี้ ก็เหมือนหนึ่งท่านทั้งหลายได้ช่วยป้องกันชีวิต ของเราตลอดมา จึงขอบคุณท่านทั้งหลายเป็นอันมากเมื่อเราระลึกถึงคุณของท่านทั้งหลายที่มีแก่เราดังว่ามานี้ จึงได้สร้างเหรียญราชินี * ขึ้นโดยเฉพาะ แลได้รับพระ ราชทานพระบรมราชานุญาตในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่จะได้ให้แก่ท่านทั้งหลายในเวลานี้ จงรับไว้ประดับกายเป็นที่ระลึกถึงที่เราขอบคุณท่านทั้งหลาย ใน ครั้งนี้สืบไปทุก ๆ คนเทอญ " สมเด็จฯ ทรงมีพระราชโอรสธิดาคือ
1. สมเด็จเจ้าฟ้าพหุรัดมณีมัย พ.ศ. 2421-2430 ในรัชกาลที่หก ทรงสถาปนาเป็นกรมพระเทพนารีรัตน์
2. พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติ พ.ศ. 2423 ทรงราชย์ พ.ศ. 2453 สวรรคต พ.ศ. 2468
3. สมเด็จเจ้าฟ้าชายตรีเพชรตมธำรง พ.ศ. 2424-2430
4. สมเด็จเจ้าฟ้าชายจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ พ.ศ. 2425-2463
5. สมเด็จเจ้าฟ้าชายศิริราชกกุธภัณฑ์ พ.ศ. 2428-2430
6. สมเด็จเจ้าฟ้าหญิง สิ้นพระชนม์ในวันที่ประสูติ พ.ศ. 2430
7. สมเด็จเจ้าฟ้าชายอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา พ.ศ. 2432-2467
8. สมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพชรบูรณ์อินทราชัย พ.ศ. 2435-2466
9. พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติ พ.ศ. 2436 ทรงราชย์พ.ศ. 2468 สละราชสมบัติ พ.ศ. 2477
สวรรคต พ.ศ. 2484l
สมเด็จ ฯ ทรงพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคงได้ทรงทะนุบำรุงโดยการบำเพ็ญพระราชกุศลอยู่เสมอมิได้ขาด ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อสร้างเจดีย์วัตถุ มีพระพุทธรูป และพระธรรมคัมภีร์ เช่น พระไตรปิฎกสยามรัฐในรัชกาลที่ห้า ทรงสร้างพระวิหารสมเด็จที่วัดเบญจมบพิตร และทรงปฏิสังขรณ์พระ อารามต่าง ๆ ทั้งในพระนคร ทั้งในหัวเมืองในพระราชอาณาจักร แม้พระพุทธเจดียฐาน นอกพระราชอาณาจักรก็ได้ทรงปฏิสังขรณ์ด้วยกัน กับได้ถวายนิตยภัตแก่พระ สงฆ์บางองค์ ถวายข้าวสารเป็นอาหารบิณฑบาต แก่ภิกษุสามเณร
ทั้งพระอารามอีกหลายพระอาราม รวมทั้งค่าน้ำประปา ค่ากระแสไฟฟ้า และค่าชำระปัดกวาดรักษาพระ อารามบางแห่งอีกด้วย ในส่วนสาธารณประโยชน์นั้น พระองค์ได้ทรงสร้างสะพานพระราชเสาวนีย์ริมทางรถไฟสายเหนือเชื่อมถนนศรีอยุธยาให้ติดต่อกันตลอดเมื่อทรงบำเพ็ญ พระราช กุศลฉลองพระชนมายุครบ 48พรรษาต่อมายังโปรดให้สร้างนางพระธรณีให้น้ำเป็นอุทกทานที่หัวมุมสนามใกล้สะพานผ่านพิภพลีลากับที่โรงพยาบาลปัญจมาธิราชอุทิศ ที่พระนครศรีอยุธยา และบ่อน้ำที่หัวหิน เป็นต้น อนึ่งพระองค์ทรงตระหนักแน่ในพระราชหฤทัยว่าความเจริญของบ้านเมืองย่อมอาศัยความที่ได้ศึกษาเล่าเรียนอันดีทั้งชายและหญิงแต่โรงเรียนสำหรับเด็กชาย นั้น ทางรัฐบาลได้จัดตั้งไว้มากแล้ว จึงได้ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้จัดตั้งโรงเรียนขึ้น เริ่มด้วยโรงเรียนเสาวภา เมื่อ พ.ศ. 2440 ต่อมายังได้โปรดให้จัด ตั้งขึ้นอีก เช่น โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ (อยุธยา) ราชินีบูรณะ (นครปฐม) สำหรับเด็กชายมีโรงเรียนวิเชียรมาตุ ที่ตรังแห่งหนึ่ง โรงเรียนที่กล่าวนามมานี้ พระราช ทานไว้แก่กระทรวงธรรมการ (คือ กระทรวงศึกษาธิการบัดนี้)
สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ในชั้นเดิมมีพระสรีรานามัยดีมาก แต่ต่อมาบรรทมหลับยากดั่งได้กล่าวมาแล้ว ทั้งพระบังคมเบามีไข่ขาวด้วย เนื่องจากพระวักกะไม่ เป็นปรกติ ครั้นเมื่อพระชนมายุบรรจบ 4 รอบ ล่วงมาแล้ว ประกอบทั้งทรงประสบวิปโยคทุกข์เมื่อตอนสิ้นรัชกาลที่ห้า ก็มีพระโรคามารบกวนบ่อย ๆ พระอาการมีทรงกับทรุด เป็นเหตุให้พระกำลังลดน้อยถอยลงไปทุกที ปีหลัง ๆ ถึงกับทรงพระดำเนินโดยลำพังพระองค์ไม่ได้ ในกลางปี พ.ศ. 2462 ได้ประชวรไข้ติด ๆ กันหลายครั้ง ครั้ง ที่สุดได้เริ่มประชวรเมื่อเวลาเที่ยง วันที่ 19 ตุลาคม 2462 ไข้นั้นเกิดแต่พิษในพระอันตะ กำลังพระหทัยทนพิษไข้ไม่ได้ เสด็จสวรรคตที่ตำหนักพญาไท เวลา 7.50 นาฬิกา วันที่ 20 ตุลาคม นั้นเอง

จัดทำโดย ด.ญ.กรกมล พยุหเกียรติ และ น.ส.มินท์ตา  พิพัฒน์สุกลภาคย์

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 431 คน กำลังออนไลน์