• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d11cf88394e02b0f4296420d0f243e57' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 24pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">โลกและการเปลี่ยนแปลง</span></b><span style=\"font-size: 24pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">การแบ่งโครงสร้างภายในของโลก</span></b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">โครงสร้างภายในของโลก สามารถสรุปเป็นชั้นต่างๆ สำคัญ ดังนี้</span></b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 2.4pt 0cm\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #0e191b\">           ·         <b><span lang=\"TH\">เปลือกโลก</span></b> <span lang=\"TH\">คือ ส่วนที่อยู่ชั้นนอกสุดของโลก<br />\nมีทั้งส่วนที่เป็นแผ่นดินและน้ำที่</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 30pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #0e191b\">·         <span lang=\"TH\">มองเห็นอยู่ภายนอกกับส่วนที่เป็นหินแข็งฝังลึกลงไป ใต้ผิวดินและผิวน้ำ</span> <o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 48pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #0e191b\">·         <span lang=\"TH\">เปลือกโลกนี้มีความหนาประมาณ</span> 6- 35 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 48pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #0e191b\">·         <b><span lang=\"TH\">แมนเทิล</span></b> <span lang=\"TH\">คือ<br />\nส่วนที่อยู่ถัดลงไปจากเปลือกโลกหนาประมาณ</span> 2,900 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร</span> <o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 48pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #0e191b\">·         <span lang=\"TH\">บางส่วนของชั้นนี้มีหินเหลวหนืดและร้อนจัดประกอบด้วยธาตุต่างๆ เช่น</span> <o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 48pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #0e191b\">·         <span lang=\"TH\">ซิลิคอน</span> <span lang=\"TH\">เหล็ก อะลูมิเนียม หลอม<br />\nละลายปนกันอยู่ภายใต้ความดันและอุณหภูมิ</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 48pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #0e191b\">·         <span lang=\"TH\">สูงมาก</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 48pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #0e191b\">·         <b><span lang=\"TH\">แก่นชั้นนอก</span> </b><span lang=\"TH\">คือ ส่วนที่อยู่ชั้นในของโลก<br />\nมีความหนาประมาณ</span> 2,250<o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 48pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #0e191b\">·         <span lang=\"TH\">กิโลเมตร ในชั้นนี้ประกอบด้วยเหล็กและนิเกิล โดยแก่นโลกชั้นนอกเป็นสาร</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 48pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #0e191b\">·         <span lang=\"TH\">หลอมเหลว</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 48pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #0e191b\">·         <b><span lang=\"TH\">แก่นชั้นใน</span></b> <span lang=\"TH\">คือ ส่วนที่อยู่ชั้นในสุดของโลก<br />\nมีความหนาประมาณ</span> 1,230<o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 48pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #0e191b\">·         <span lang=\"TH\">กิโลเมตร ในชั้นนี้จะอยู่ลึกมาก<br />\nจึงมีความกดดันและมีอุณหภูมิสูงทำให้อนุภาค</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 48pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #0e191b\">·         <span lang=\"TH\">ของเหล็กและนิเกิลถูกอัดแน่นจนเป็นของแข็ง</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 24pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #0e191b\"> <o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\">\n </li>\n</ul>\n<p class=\"MsoNormal\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u87607/Earth_Struct_clip_image002.gif\" width=\"416\" height=\"331\" />\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 24pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">แผ่นเปลือกโลก</span></b><span style=\"font-size: 24pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <br />\n<span lang=\"TH\">เปลือกโลกมีแผ่นหลายแผ่นเรียงชิดติดกันเรียกว่า</span> <b><span lang=\"TH\">เพลต</span></b> (Plate) <span lang=\"TH\">ซึ่งมีอยู่ประมาณ</span>20 <span lang=\"TH\">เพลต เพลตที่มีขนาดใหญ่ ได้แก่ เพลตแปซิฟิก เพลตอเมริกาเหนือ<br />\nเพลตอเมริกาใต้ เพลตยูเรเซีย เพลตแอฟริกา เพลตอินโดออสเตรเลีย และเพลตแอนตาร์กติก<br />\nเป็นต้น เพลตทุกเพลตเคลื่อนตัวเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างอยู่ตลอดเวลาดังภาพ</span></span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span><img src=\"/files/u87607/Earth_Struct_clip_image003_0.jpg\" width=\"523\" height=\"303\" />\n</p>\n<p><img src=\"/files/u87607/Earth_Struct_clip_image001_0.gif\" width=\"224\" height=\"92\" /><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Leelawadee, sans-serif\"><o:p></o:p></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">แผนภาพแสดง แผ่นเปลือกโลก</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">ทวีปในอดีต</span></b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <br />\n<span lang=\"TH\">เมื่อมองดูแผนที่โลก<br />\nหากเราตัดส่วนที่เป็นพื้นมหาสมุทรออก จะพบว่าส่วนโค้งของขอบแต่ละทวีปนั้น<br />\nโค้งรับกันราวกับนำมาเลื่อนต่อกันได้เสมือนเกมส์ต่อแผนภาพ (</span>Jigsaw) <span lang=\"TH\">นักธรณีวิทยาพบว่า ตามบริเวณแนวรอยต่อของเพลตต่างๆ<br />\nมักเป็นที่ตั้งของเทือกเขาสูงและภูเขาไฟ ทั้งบนทวีปและใต้มหาสมุทร<br />\nการศึกษาการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกด้วยทฤษฎีเพลตเทคโทนิคส์<br />\nประกอบกับร่องรอยทางธรณีวิทยาในอดีตพบว่า เมื่อ</span></span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">200 <span lang=\"TH\">ล้านปีก่อน<br />\nทุกทวีปอยู่ชิดติดกันเป็นแผ่นดินขนาดใหญ่ เรียกว่า</span> <b><span lang=\"TH\">แพนเจีย</span></b> (Pangaea) <span lang=\"TH\">โดยมีดินแดนทางตอนเหนือชื่อ</span> <b><span lang=\"TH\">ลอเรเซีย</span></b> (Lawresia) <span lang=\"TH\">และดินแดนทางใต้ชื่อ</span> <b><span lang=\"TH\">กอนด์วานา</span></b> (Gonwana) <span lang=\"TH\">ซึ่งแบ่งแยกด้วยทะเลเททิส</span></span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: left\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u87607/Earth_Struct_clip_image001_0000_0.gif\" width=\"356\" height=\"260\" />\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u87607/Earth_Struct_clip_image006.gif\" width=\"423\" height=\"245\" /> \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: Leelawadee, sans-serif\"> <o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">ภาพแสดง ทวีปในอดีตที่<br />\nทุกทวีปอยู่ชิดติดกันเป็นแผ่นดินขนาดใหญ่</span></b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">การเกิดแผ่นดินไหว</span></b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <br />\n<span lang=\"TH\">ความร้อนจากแก่นโลกนอกจากจะทำให้แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ได้แล้ว<br />\nยังทำให้เปลือกโลกส่วนล่างขยายตัวได้มากกว่าผิวด้านบน<br />\nทั้งนี้เพราะผิวโลกมีอุณหภูมิต่ำกว่าแก่นโลกมาก<br />\nนอกจากนี้บริเวณผิวโลกยังมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยู่ตลอดเวลา<br />\nสาเหตุดังกล่าวนี้ทำให้เปลือกโลกมีการขยายตัวและหดตัวไม่สม่ำเสมอ<br />\nอิทธิพลนี้จะส่งผลกระทบต่อรอยแตกในชั้นหินและรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกโดยตรง<br />\nคือรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกบางแห่งอาจแยกห่างออก บางแห่งเคลื่อนที่เข้าชนกัน<br />\nการชนกันหรือแยกออกจากกันของเปลือกโลกอาจทำให้เปลือกโลกบางส่วนในบริเวณนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลัน<br />\nเช่น เปลือกโลกเกิดการทรุดตัวหรือยุบตัวลง ทำให้เปลือกโลกบริเวณนนั้นเกิดการกระทบกระเทือนหือเคลื่อนที่ตามแนวระดับและจะส่งอิทธิพลของการกระทบกระแทกหรือการเคลื่อนที่ตามแนวระดับนี้ออกไปยังบริเวณรอบๆ<br />\nในรูปของคลื่น เราเรียกการเปลี่ยนแปลงเปลือกโลกที่เกิดขึ้น ในลักษณะนี้ว่า<br />\nแผ่นดินไหว จากการศึกษาของนักธรณีวิทยาพบว่า บริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกนั้นมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวมากกว่าบริเวณอื่นๆ<br />\nทั้งนี้เพราะแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา<br />\nบริเวณรอยต่อจึงมีโอกาสเกิดการกระทบกระแทกได้ง่ายและถ้าการกระทบกระแทกเกิดขึ้นอย่างรุนแรงจนเป็นเหตุให้เปลือกโลกบริเวณนนั้นฉีกขาดตามแนวระดับหรือทรุดตัวลงอย่างรวดเร็วด้วยอิทธิพลของแรงดึงดูดของโลก<br />\nก็อาจทำให้อาคาร บ้านเรือนและสิ่งก่อสร้างต่างๆ พังทลายและได้รับความเสียหายได้</span></span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u87607/Earth_Struct_clip_image002_0.jpg\" width=\"370\" height=\"231\" />\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u87607/Earth_Struct_clip_image004.jpg\" width=\"389\" height=\"205\" />\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: left\">\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">ภูเขาไฟ</span></b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">             หินหนืดที่อยู่ใต้เปลือกโลกนั้นมีอุณหภูมิและความดันสูงมาก<br />\nหินหนืดจะถูกแรงดันอัดให้แทรกรอยแตกขึ้นสู่ผิวโลกโดยมีแรงปะทุหรือแรงระเบิดเกิดขึ้น<br />\nเรียกว่าการเกิดภูเขาไฟ<br />\nแรงอัดที่ถูกปล่อยออกมาจะบ่งบอกถึงความรุนแรงของการระเบิดของภูเขาไฟ<br />\nหินหนืดที่พุ่งขึ้นมาจากการระเบิดของภูเขาไฟนี้เรียกว่า</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <b><span lang=\"TH\">ลาวา</span></b><span lang=\"TH\">ซึ่งจะไหลลงสู่บริเวณที่อยู่ระดับต่ำกว่าและสร้างความเสียหายให้แก่มนุษย์สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมากนอกจากหินหนืดที่พุ่งออกมาจากปล่องภูเขาไฟแล้วยังมีสิ่งอื่นปะปนออกมาอีกมากมายมีทั้งไอน้ำฝุ่นละอองเศษหินและก๊าซต่างๆเช่นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แก็สไนโตรเจนเป็นต้น</span></span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">นอกจากนี้นักธรณีวิทยาสังเกตพบว่าก่อนที่ภูเขาไฟจะระเบิดมักมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นก่อน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">  <span lang=\"TH\">ทั้งนี้เพราะเปลือกโลกบริเวณนั้นอาจมีจุดอ่อน<br />\nเช่น อาจมีรอยแตกหรือรอยแยกของชั้นหิน<br />\nร่องรอยเหล่านี้เมื่อได้รับแรงดันจากหินหนืดชั้นหินบริเวณนั้นจึงเคลื่อนได้<br />\nและภายหลังจากที่ภูเขาไฟ ระเบิดแล้วก็จะมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นเช่นเดียวกัน<br />\nซึ่งเกิดจากการปรับตัวระหว่างหินหนืดกับชั้นหินบริเวณข้างเคียง</span> </span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">แนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกจะเป็นบริเวณที่มีโอกาสเกิดภูเขาไฟระเบิดมากกว่าบริเวณที่อยู่ถัดเข้าไปภายในแผ่นทวีปทั้งนี้เพราะบริเวณรอยต่อนี้จะมีขอบทวีปส่วนหนึ่งมุดจมลงไปใต้แผ่นเปลือกโลกอีกแผ่นหนึ่ง<br />\nส่วนที่มุดลงไปนี้จะหลอมเหลวเป็นหินหนืด มีอุณหภูมิและแรงดันสูงมาก<br />\nจึงดันแทรกตัวขึ้นมาตามรอยแยกได้ง่ายกว่าบริเวณอื่น</span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u87607/Earth_Struct_clip_image002_0000.jpg\" width=\"400\" height=\"277\" />\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">ภาพความเสียหายจาก เกิดแผ่นดินไหวชนาด</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> 6.8 <span lang=\"TH\">ริคเตอร์</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">ที่เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อ</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> 17 <span lang=\"TH\">มกราคม<br />\nพ.ศ.</span> 2538</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <span lang=\"TH\">ภูเขาไฟที่ประเทศอินโดนีเซีย</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา<br />\nและแบ่งการเคลื่อนที่ของแผ่นโลกออกเป็น</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> 3 <span lang=\"TH\">แบบคือการชนกัน การแยกจากกัน<br />\nและแบบรอยเลื่อน ซึ่งมีผลทำให้เกิดกระบวนการทางธรณีวิทยาดังนี้</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">1. <span lang=\"TH\">การคดโค้งโก่งงอ</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">การคดโค้งโก่งงอ<br />\nเกิดจากแผ่นเปลือกโลก</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> 2 <span lang=\"TH\">แผ่น เคลื่อนที่ชนกันด้วยแรงดันมหาศาลทำให้ชั้นหินตรงบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกชนกันเกิดการคดโค้งโก่งงอ<br />\nแต่การเกิดรอยคดโค้งโก่งงอจะใช้เวลาเป็นพันปีและต้องได้รับพลังงานอย่างต่อเนื่อง<br />\nรอยคดโค้ดโก่งงอของชั้นหินเกิดติดต่อกันเป็นบริเวณกว้างกินพื้นที่มากจะกลายเป็นเทือกเขา<br />\nเช่น เทือกเขาหิมาลัยในทวีปเอเซีย เทือกเขาแอลป์ในทวีปยุโรป<br />\nเทือกเขาภูพานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นต้น</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">2. <span lang=\"TH\">การยกตัวและการยุบตัว</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">การยกตัวและการยุบตัว<br />\nเกิดจากพลังงานที่สะสมอยู่ภายในเปลือกโลก<br />\nจะเริ่มแตกและแยกออกจากกันในทิศทางที่เป็นเส้นตรงหรือแนวราบ ทำให้เกิดรอยเลื่อนในลักษณะต่าง<br />\nๆ เช่น การยกตัวของแผ่นเปลือกโลกที่เกิดจากรอยเลื่อนแบบปกติเป็นภูเขา เรียกว่า</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> Block Mountain <span lang=\"TH\">โดยยอดเขาจะมีลักษณะราบและไหล่เขาชันมาก เช่น ภูกระดึง จังหวัดเลย<br />\nและอีกแบบคือ การยุบตัวของแผ่นเปลือกโลก กลายเป็นแอ่งหรือหุบเขา เรียกว่า</span> Rift<br />\nvalleys <span lang=\"TH\">ซึ่งเกิดจากรอยเลื่อนแบบย้อน</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">3. <span lang=\"TH\">การผุพังอยู่กับที่</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">การผุพังอยู่กับที่เป็นกระบวนการที่ทำให้วัสดุสลายออกเป็นชิ้นเล็กๆ<br />\nโดยมีการเปลี่ยนแปลงขนาดและองค์ประกอบเคมีของอนุภาคที่สลายตัว<br />\nปัจจัยทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ มีดังนี้</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 24pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">         <o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 48pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">o    <span lang=\"TH\">ปัจจัยทางกายภาพ<br />\nเกิดจากน้ำที่แทรกตัวเข้าไปอยู่ในชั้นหินที่มีรอยแยกหรือรอยแตกเมื่อุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลง<br />\nเช่น ในเวลากลางคืนอากาศเย็นจัด น้ำจะกลายเป็นน้ำแข็งมีปริมาณเพิ่มขึ้น<br />\nดันรอยแยกให้ขยายตัวมากขึ้น ทำให้ชั้นหินที่อยู่ด้านล่างแตก<br />\nและเมื่อถึงตอนกลางวันน้ำแข็งละลาย น้ำนะแทรกไปตามรอยแตกใหม่<br />\nจะเกิดเป็นวัฏจักรอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนในที่สุดเกิดการผุพังเกิดขึ้น</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 48pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">o    <span lang=\"TH\">ปัจจัยทางเคมี เกิดจากน้ำฝนที่เป็นปัจจัยสำคัญ<br />\nโดยการเกิดกระบวนการปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส ปฏิกิริยาออกซิเดชัน<br />\nและปฏิกิริยาคาร์บอเนชัน ที่เป็นสาเหตุของการผุพัง</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 2.4pt 0cm 2.4pt 48pt; text-indent: -18pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">o    <span lang=\"TH\">ปัจจัยชีวภาพ เกิดจากพืชเป็นตัวกลางที่ทำให้ชั้นหินเกิดการผุพัง เช่น<br />\nรากพืชที่ไปชอนไชไปในรอยแตกของหิน เมื่อพืชโตขึ้นรากพืชจะทำให้หินแตกเป็นชั้น ๆ</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">4. <span lang=\"TH\">การกร่อน</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">การกร่อน<br />\nเป็นการพังทลายของชั้นหินเนื่องจากลม ฝน แม่น้ำ ลำธาร ธารน้ำแข็ง คลื่น เป็นต้น</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">5. <span lang=\"TH\">การพัดพาและทับถม</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">ดิน<br />\nหิน เมื่อเกิดการกัดกร่อน จะถูกน้ำหรือลมพัดไปสู่ที่ต่ำกว่า<br />\nเกิดการทับถมเป็นลักษณะต่างๆ เช่น แม่น้ำเจ้าพระยา<br />\nเกิดจากการพัดพาตะกอนไปทับถมที่ปากน้ำ เกิดเป็นดินดอนปากแม่น้ำ เป็นต้น</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: left\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<img src=\"/files/u87607/Earth_Struct_clip_image001_0001.gif\" width=\"596\" height=\"176\" /> \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: Leelawadee, sans-serif\"> </span><b><u><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 20pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">สรุป</span></u></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">       </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">มนุษย์ได้พยายามศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของโลก<br />\nเพื่อหาสาเหตุและวิธีการปรับปรุง แก้ไข</span><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <span lang=\"TH\" style=\"background-color: white\">ตลอดจนเตรียมการป้องกันและผลกระทบที่จะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ<br />\nทำให้เกิดทฤษฎีต่างๆ หลายทฤษฎีที่สำคัญและเป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน คือ<br />\nทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค(</span>plate tectonic<span lang=\"TH\">)</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><u><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 20pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">ข้อสอบ</span></u></b><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><u><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 20pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">สรุป</span></u></b><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">       </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">มนุษย์ได้พยายามศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของโลก<br />\nเพื่อหาสาเหตุและวิธีการปรับปรุง แก้ไข</span><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <span lang=\"TH\" style=\"background-color: white\">ตลอดจนเตรียมการป้องกันและผลกระทบที่จะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ<br />\nทำให้เกิดทฤษฎีต่างๆ หลายทฤษฎีที่สำคัญและเป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน คือ<br />\nทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค(</span>plate tectonic<span lang=\"TH\">)</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><u><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 20pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">ข้อสอบ</span></u></b><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n</p>\n<table class=\"MsoTableLightGridAccent3\" border=\"1\" cellspacing=\"0\" cellpadding=\"0\" style=\"border-collapse: collapse; border: none\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: solid; border-color: #9bbb59; border-width: 1pt 1pt 2.25pt; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">1.</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <span lang=\"TH\" style=\"background-color: white\">ชั้นใดของโลกมีอุณภูมิสูงที่สุด</span></span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; background-color: #e6eed5; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">       </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <span lang=\"TH\" style=\"background-color: white\">ก.ชั้นแก่นโลก</span></span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">                                           <o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">       </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">ข.ชั้นหินไซมา</span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; background-color: #e6eed5; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">       </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">ค.ชั้นแมนเทิล</span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">       </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">ง.ชั้นหินไซอัล</span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; background-color: #e6eed5; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">2.</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <span lang=\"TH\" style=\"background-color: white\">ส่วนที่เป็นแก่นโลกประกอบด้วนธาตุใดบ้าง</span></span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">        </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">ก.เหล็กและซิลิกา</span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; background-color: #e6eed5; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">        </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">ข.เหล็กและนิกเกิล</span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">        </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">ค.อะลูมิเนียมและซิลิกา</span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; background-color: #e6eed5; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">        </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">ง.อะลูมิเนียมและแมกนีเซียม</span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">3.<span lang=\"TH\">เปลือกโลกเคลื่อนที่ได้เพราะเหตุใด</span></span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; background-color: #e6eed5; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">       </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">ก.พายุหมุนที่เกิดทั่วโลก</span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">       </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">ข.คลื่นลมแรงในมหาสมุทร</span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; background-color: #e6eed5; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">       </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">ค.การหมุนรอบตัวเองของโลก</span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">       </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\">ง.การเกิดแผ่นดินไหว</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; background-color: white; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"616\" valign=\"top\" style=\"width: 462.1pt; border-style: none solid solid; border-right-color: #9bbb59; border-bottom-color: #9bbb59; border-left-color: #9bbb59; border-right-width: 1pt; border-bottom-width: 1pt; border-left-width: 1pt; background-color: #e6eed5; padding: 0cm 5.4pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></b><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span></b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1728181235, expire = 1728267635, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d11cf88394e02b0f4296420d0f243e57' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง

 

โลกและการเปลี่ยนแปลง

 

การแบ่งโครงสร้างภายในของโลก

โครงสร้างภายในของโลก สามารถสรุปเป็นชั้นต่างๆ สำคัญ ดังนี้

 

           ·         เปลือกโลก คือ ส่วนที่อยู่ชั้นนอกสุดของโลก
มีทั้งส่วนที่เป็นแผ่นดินและน้ำที่

·         มองเห็นอยู่ภายนอกกับส่วนที่เป็นหินแข็งฝังลึกลงไป ใต้ผิวดินและผิวน้ำ 

·         เปลือกโลกนี้มีความหนาประมาณ 6- 35 กิโลเมตร

·         แมนเทิล คือ
ส่วนที่อยู่ถัดลงไปจากเปลือกโลกหนาประมาณ
 2,900 กิโลเมตร 

·         บางส่วนของชั้นนี้มีหินเหลวหนืดและร้อนจัดประกอบด้วยธาตุต่างๆ เช่น 

·         ซิลิคอน เหล็ก อะลูมิเนียม หลอม
ละลายปนกันอยู่ภายใต้ความดันและอุณหภูมิ

·         สูงมาก

·         แก่นชั้นนอก คือ ส่วนที่อยู่ชั้นในของโลก
มีความหนาประมาณ
 2,250

·         กิโลเมตร ในชั้นนี้ประกอบด้วยเหล็กและนิเกิล โดยแก่นโลกชั้นนอกเป็นสาร

·         หลอมเหลว

·         แก่นชั้นใน คือ ส่วนที่อยู่ชั้นในสุดของโลก
มีความหนาประมาณ
 1,230

·         กิโลเมตร ในชั้นนี้จะอยู่ลึกมาก
จึงมีความกดดันและมีอุณหภูมิสูงทำให้อนุภาค

·         ของเหล็กและนิเกิลถูกอัดแน่นจนเป็นของแข็ง

 

 

 

แผ่นเปลือกโลก

 

 
เปลือกโลกมีแผ่นหลายแผ่นเรียงชิดติดกันเรียกว่า เพลต (Plate) ซึ่งมีอยู่ประมาณ20 เพลต เพลตที่มีขนาดใหญ่ ได้แก่ เพลตแปซิฟิก เพลตอเมริกาเหนือ
เพลตอเมริกาใต้ เพลตยูเรเซีย เพลตแอฟริกา เพลตอินโดออสเตรเลีย และเพลตแอนตาร์กติก
เป็นต้น เพลตทุกเพลตเคลื่อนตัวเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างอยู่ตลอดเวลาดังภาพ

 

 

 

 

แผนภาพแสดง แผ่นเปลือกโลก

ทวีปในอดีต

 
เมื่อมองดูแผนที่โลก
หากเราตัดส่วนที่เป็นพื้นมหาสมุทรออก จะพบว่าส่วนโค้งของขอบแต่ละทวีปนั้น
โค้งรับกันราวกับนำมาเลื่อนต่อกันได้เสมือนเกมส์ต่อแผนภาพ (
Jigsaw) นักธรณีวิทยาพบว่า ตามบริเวณแนวรอยต่อของเพลตต่างๆ
มักเป็นที่ตั้งของเทือกเขาสูงและภูเขาไฟ ทั้งบนทวีปและใต้มหาสมุทร
การศึกษาการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกด้วยทฤษฎีเพลตเทคโทนิคส์
ประกอบกับร่องรอยทางธรณีวิทยาในอดีตพบว่า เมื่อ
 200 ล้านปีก่อน
ทุกทวีปอยู่ชิดติดกันเป็นแผ่นดินขนาดใหญ่ เรียกว่า
 แพนเจีย (Pangaea) โดยมีดินแดนทางตอนเหนือชื่อ ลอเรเซีย (Lawresia) และดินแดนทางใต้ชื่อ กอนด์วานา (Gonwana) ซึ่งแบ่งแยกด้วยทะเลเททิส

 

 

 

 

 

 

 

 

ภาพแสดง ทวีปในอดีตที่
ทุกทวีปอยู่ชิดติดกันเป็นแผ่นดินขนาดใหญ่

การเกิดแผ่นดินไหว

 
ความร้อนจากแก่นโลกนอกจากจะทำให้แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ได้แล้ว
ยังทำให้เปลือกโลกส่วนล่างขยายตัวได้มากกว่าผิวด้านบน
ทั้งนี้เพราะผิวโลกมีอุณหภูมิต่ำกว่าแก่นโลกมาก
นอกจากนี้บริเวณผิวโลกยังมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยู่ตลอดเวลา
สาเหตุดังกล่าวนี้ทำให้เปลือกโลกมีการขยายตัวและหดตัวไม่สม่ำเสมอ
อิทธิพลนี้จะส่งผลกระทบต่อรอยแตกในชั้นหินและรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกโดยตรง
คือรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกบางแห่งอาจแยกห่างออก บางแห่งเคลื่อนที่เข้าชนกัน
การชนกันหรือแยกออกจากกันของเปลือกโลกอาจทำให้เปลือกโลกบางส่วนในบริเวณนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลัน
เช่น เปลือกโลกเกิดการทรุดตัวหรือยุบตัวลง ทำให้เปลือกโลกบริเวณนนั้นเกิดการกระทบกระเทือนหือเคลื่อนที่ตามแนวระดับและจะส่งอิทธิพลของการกระทบกระแทกหรือการเคลื่อนที่ตามแนวระดับนี้ออกไปยังบริเวณรอบๆ
ในรูปของคลื่น เราเรียกการเปลี่ยนแปลงเปลือกโลกที่เกิดขึ้น ในลักษณะนี้ว่า
แผ่นดินไหว จากการศึกษาของนักธรณีวิทยาพบว่า บริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกนั้นมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวมากกว่าบริเวณอื่นๆ
ทั้งนี้เพราะแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา
บริเวณรอยต่อจึงมีโอกาสเกิดการกระทบกระแทกได้ง่ายและถ้าการกระทบกระแทกเกิดขึ้นอย่างรุนแรงจนเป็นเหตุให้เปลือกโลกบริเวณนนั้นฉีกขาดตามแนวระดับหรือทรุดตัวลงอย่างรวดเร็วด้วยอิทธิพลของแรงดึงดูดของโลก
ก็อาจทำให้อาคาร บ้านเรือนและสิ่งก่อสร้างต่างๆ พังทลายและได้รับความเสียหายได้

 

 

 

 

 

 

ภูเขาไฟ

             หินหนืดที่อยู่ใต้เปลือกโลกนั้นมีอุณหภูมิและความดันสูงมาก
หินหนืดจะถูกแรงดันอัดให้แทรกรอยแตกขึ้นสู่ผิวโลกโดยมีแรงปะทุหรือแรงระเบิดเกิดขึ้น
เรียกว่าการเกิดภูเขาไฟ
แรงอัดที่ถูกปล่อยออกมาจะบ่งบอกถึงความรุนแรงของการระเบิดของภูเขาไฟ
หินหนืดที่พุ่งขึ้นมาจากการระเบิดของภูเขาไฟนี้เรียกว่า
 ลาวาซึ่งจะไหลลงสู่บริเวณที่อยู่ระดับต่ำกว่าและสร้างความเสียหายให้แก่มนุษย์สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมากนอกจากหินหนืดที่พุ่งออกมาจากปล่องภูเขาไฟแล้วยังมีสิ่งอื่นปะปนออกมาอีกมากมายมีทั้งไอน้ำฝุ่นละอองเศษหินและก๊าซต่างๆเช่นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แก็สไนโตรเจนเป็นต้น

นอกจากนี้นักธรณีวิทยาสังเกตพบว่าก่อนที่ภูเขาไฟจะระเบิดมักมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นก่อน  ทั้งนี้เพราะเปลือกโลกบริเวณนั้นอาจมีจุดอ่อน
เช่น อาจมีรอยแตกหรือรอยแยกของชั้นหิน
ร่องรอยเหล่านี้เมื่อได้รับแรงดันจากหินหนืดชั้นหินบริเวณนั้นจึงเคลื่อนได้
และภายหลังจากที่ภูเขาไฟ ระเบิดแล้วก็จะมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นเช่นเดียวกัน
ซึ่งเกิดจากการปรับตัวระหว่างหินหนืดกับชั้นหินบริเวณข้างเคียง
 

แนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกจะเป็นบริเวณที่มีโอกาสเกิดภูเขาไฟระเบิดมากกว่าบริเวณที่อยู่ถัดเข้าไปภายในแผ่นทวีปทั้งนี้เพราะบริเวณรอยต่อนี้จะมีขอบทวีปส่วนหนึ่งมุดจมลงไปใต้แผ่นเปลือกโลกอีกแผ่นหนึ่ง
ส่วนที่มุดลงไปนี้จะหลอมเหลวเป็นหินหนืด มีอุณหภูมิและแรงดันสูงมาก
จึงดันแทรกตัวขึ้นมาตามรอยแยกได้ง่ายกว่าบริเวณอื่น

 

 

 

 

 

 

ภาพความเสียหายจาก เกิดแผ่นดินไหวชนาด 6.8 ริคเตอร์

ที่เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อ 17 มกราคม
พ.ศ.
 2538

 

 ภูเขาไฟที่ประเทศอินโดนีเซีย

 

การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา
และแบ่งการเคลื่อนที่ของแผ่นโลกออกเป็น
 3 แบบคือการชนกัน การแยกจากกัน
และแบบรอยเลื่อน ซึ่งมีผลทำให้เกิดกระบวนการทางธรณีวิทยาดังนี้

1. การคดโค้งโก่งงอ

การคดโค้งโก่งงอ
เกิดจากแผ่นเปลือกโลก
 2 แผ่น เคลื่อนที่ชนกันด้วยแรงดันมหาศาลทำให้ชั้นหินตรงบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกชนกันเกิดการคดโค้งโก่งงอ
แต่การเกิดรอยคดโค้งโก่งงอจะใช้เวลาเป็นพันปีและต้องได้รับพลังงานอย่างต่อเนื่อง
รอยคดโค้ดโก่งงอของชั้นหินเกิดติดต่อกันเป็นบริเวณกว้างกินพื้นที่มากจะกลายเป็นเทือกเขา
เช่น เทือกเขาหิมาลัยในทวีปเอเซีย เทือกเขาแอลป์ในทวีปยุโรป
เทือกเขาภูพานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นต้น

2. การยกตัวและการยุบตัว

การยกตัวและการยุบตัว
เกิดจากพลังงานที่สะสมอยู่ภายในเปลือกโลก
จะเริ่มแตกและแยกออกจากกันในทิศทางที่เป็นเส้นตรงหรือแนวราบ ทำให้เกิดรอยเลื่อนในลักษณะต่าง
ๆ เช่น การยกตัวของแผ่นเปลือกโลกที่เกิดจากรอยเลื่อนแบบปกติเป็นภูเขา เรียกว่า
 Block Mountain โดยยอดเขาจะมีลักษณะราบและไหล่เขาชันมาก เช่น ภูกระดึง จังหวัดเลย
และอีกแบบคือ การยุบตัวของแผ่นเปลือกโลก กลายเป็นแอ่งหรือหุบเขา เรียกว่า
 Rift
valleys ซึ่งเกิดจากรอยเลื่อนแบบย้อน

3. การผุพังอยู่กับที่

การผุพังอยู่กับที่เป็นกระบวนการที่ทำให้วัสดุสลายออกเป็นชิ้นเล็กๆ
โดยมีการเปลี่ยนแปลงขนาดและองค์ประกอบเคมีของอนุภาคที่สลายตัว
ปัจจัยทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ มีดังนี้

         

o    ปัจจัยทางกายภาพ
เกิดจากน้ำที่แทรกตัวเข้าไปอยู่ในชั้นหินที่มีรอยแยกหรือรอยแตกเมื่อุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลง
เช่น ในเวลากลางคืนอากาศเย็นจัด น้ำจะกลายเป็นน้ำแข็งมีปริมาณเพิ่มขึ้น
ดันรอยแยกให้ขยายตัวมากขึ้น ทำให้ชั้นหินที่อยู่ด้านล่างแตก
และเมื่อถึงตอนกลางวันน้ำแข็งละลาย น้ำนะแทรกไปตามรอยแตกใหม่
จะเกิดเป็นวัฏจักรอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนในที่สุดเกิดการผุพังเกิดขึ้น

o    ปัจจัยทางเคมี เกิดจากน้ำฝนที่เป็นปัจจัยสำคัญ
โดยการเกิดกระบวนการปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
และปฏิกิริยาคาร์บอเนชัน ที่เป็นสาเหตุของการผุพัง

o    ปัจจัยชีวภาพ เกิดจากพืชเป็นตัวกลางที่ทำให้ชั้นหินเกิดการผุพัง เช่น
รากพืชที่ไปชอนไชไปในรอยแตกของหิน เมื่อพืชโตขึ้นรากพืชจะทำให้หินแตกเป็นชั้น ๆ

4. การกร่อน

การกร่อน
เป็นการพังทลายของชั้นหินเนื่องจากลม ฝน แม่น้ำ ลำธาร ธารน้ำแข็ง คลื่น เป็นต้น

5. การพัดพาและทับถม

ดิน
หิน เมื่อเกิดการกัดกร่อน จะถูกน้ำหรือลมพัดไปสู่ที่ต่ำกว่า
เกิดการทับถมเป็นลักษณะต่างๆ เช่น แม่น้ำเจ้าพระยา
เกิดจากการพัดพาตะกอนไปทับถมที่ปากน้ำ เกิดเป็นดินดอนปากแม่น้ำ เป็นต้น

 

 

 

 

 

 สรุป

        มนุษย์ได้พยายามศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของโลก
เพื่อหาสาเหตุและวิธีการปรับปรุง แก้ไข
  ตลอดจนเตรียมการป้องกันและผลกระทบที่จะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ
ทำให้เกิดทฤษฎีต่างๆ หลายทฤษฎีที่สำคัญและเป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน คือ
ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค(
plate tectonic)

ข้อสอบ

 

สรุป

        มนุษย์ได้พยายามศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของโลก
เพื่อหาสาเหตุและวิธีการปรับปรุง แก้ไข
  ตลอดจนเตรียมการป้องกันและผลกระทบที่จะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ
ทำให้เกิดทฤษฎีต่างๆ หลายทฤษฎีที่สำคัญและเป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน คือ
ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค(
plate tectonic)

ข้อสอบ

1. ชั้นใดของโลกมีอุณภูมิสูงที่สุด

        ก.ชั้นแก่นโลก                                          

        ข.ชั้นหินไซมา

        ค.ชั้นแมนเทิล

        ง.ชั้นหินไซอัล

2. ส่วนที่เป็นแก่นโลกประกอบด้วนธาตุใดบ้าง

         ก.เหล็กและซิลิกา

         ข.เหล็กและนิกเกิล

         ค.อะลูมิเนียมและซิลิกา

         ง.อะลูมิเนียมและแมกนีเซียม

3.เปลือกโลกเคลื่อนที่ได้เพราะเหตุใด

        ก.พายุหมุนที่เกิดทั่วโลก

        ข.คลื่นลมแรงในมหาสมุทร

        ค.การหมุนรอบตัวเองของโลก

        ง.การเกิดแผ่นดินไหว 

 

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 387 คน กำลังออนไลน์