• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:de9154cd29224090f97cdd1bd97cc0a5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h5 style=\"font-family: \'lucida grande\', tahoma, verdana, arial, sans-serif; font-size: 15px; font-weight: normal; padding: 0px 20px 0px 15px; line-height: 18px; background-color: #ffffff; margin: 0px 0px 5px; word-wrap: break-word\" class=\"uiStreamMessage userContentWrapper\" data-ft=\"{&quot;type&quot;:1,&quot;tn&quot;:&quot;K&quot;}\"><span style=\"line-height: 1.38\" class=\"messageBody\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"background-color: #ff9900\">การค้นหาข้อมูลมีด้วยกัน 2 วิธีด้วยกัน คือ<br />\n</span>1. <span style=\"background-color: #ffff99\">การค้นหาในรูปแบบ Index Directory</span> วิธีการค้นหาข้อมูลแบบ Index นี้ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมากกว่าการค้นหาข้อมูลด้วย วิธีของ Search Engine เพราะจะสามารถคัดแยกข้อมูลออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัดแบ่งแยก Site ต่างๆออกเป็นประเภท เมื่อได้ข้อมูลตรงกับความต้องการแล้ว สามารถ Click ลงไปยัง Link เพื่อขอเชื่อมต่อทางเว็บไซต์ก็จะนำเอาผลของข้อมูลดังกล่าวออกมาแสดงผลทันที<br />\n2. <span style=\"background-color: #ffff99\">การค้นหาในรูปแบบ Search Engine</span> ในโลกของอินเตอร์เน็ทข้อมูลมีมากมายเหลือเกิน ถ้าจะใช้เวลาในการอ่านทุกสิ่งบน เข้าไปค้นหาอินเตอร์เน็ทคงต้องใช้เวลานานหลายชั่วอายุคน จริง ๆ แล้วเราคงไม่มีความสนใจในทุกเรื่อง แต่คงสนใจเฉพาะเรื่องที่เราสนใจเท่านั้น จึงมีคนคิดเครื่องมือใน<br />\nการช่วยค้นหาข้อมูลที่ต้องการ นั้นก็คือ Search Engine\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px\">\n<span style=\"background-color: #ff9900\">เทคนิคการค้นหาข้อมูล</span><br />\n• เลือกหมวดหมู่ที่สนใจ และตรงกับเนื้อหาที่ต้องการให้มากที่สุด <br />\n• ระบุ คีย์เวิร์ดให้เยอะๆ ให้ครอบคลุมเนื้อหาให้มากที่สุด<br />\n• คีย์เวิร์ด (keyword) ต้องไม่กำกวม <br />\n• ไม่ต้องใส่คำนำหน้า/คำเชื่อมในคีย์เวิร์ด เช่น the, a, an, and ระบุคำที่สนใจไว้ในเครื่องหมายคำพูด<br />\n• ใส่ตัวกรอง (Filter) ช่วยในการค้นหา •ใช้เครื่องหมาย + นำหน้าคีย์เวิร์ด เพื่อบังคับให้มีคำที่ระบุ ใช้เครื่องหมาย - นำหน้าคีย์เวิร์ด เพื่อบังคับไม่ให้มีคำที่ระบุ <br />\n• ข้อมูลที่เป็นภาพ, เสียง, ภาพเคลื่อนไหว ควรใช้ค้นหาจากเว็บไซต์ที่ให้บริการเฉพาะทาง<br />\n• ค้นหาโดยอาศัยกลุ่มข่าว และเว็บบอร์ด<br />\n• ติดตั้งเครื่องมือช่วยค้นหาให้กับบราวเซอร์\n</p>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px\">\n<span style=\"background-color: #ff9900\">วิธีการสืบค้นข้อมูลหนังสือ</span><br />\n1. โฮมเพจ (Home) เป็นการสืบค้นจาก ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง โดยพิมพ์คำที่ต้องการสืบค้น เพื่อทำการค้นหา<br />\n2. การค้นหาหนังสือ (Book Search) ผู้ใช้สามารถเลือกแนวทางในการสืบค้นได้ 3 แนวทาง คือ <br />\n พื้นฐาน (Basic) เป็นการสืบค้นจาก ชื่อผู้แต่ง (Author Alphabetical) ชื่อเรื่อง (All Titles Alphabetical) หัวเรื่อง (Subject Alphabetical) เลขหมู่หนังสือ (Dewey Call Number) หมายเลข ISBN หมายเลข ISSN เป็นต้น<br />\n คำสำคัญ (Advanced) เป็นการสืบค้นด้วยคำสำคัญ (คำนาม) จากชื่อผู้แต่ง ชื่อชุด ชื่อเรื่อง และหัวเรื่อง โดยใส่คำค้นอย่างน้อย 1 คำ <br />\n บูลีน (Power) เป็นการสืบค้นโดยใช้สันธาน (คำเชื่อม) AND หรือ OR หรือ NOT หรือ X OR จากคำสำคัญ ชื่อชุด ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง โดยใส่คำอย่างน้อย 1 คำ\n</p>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px\">\n<span style=\"background-color: #ff9900\">หลักการเขียนบรรณานุกรมและการอ้างอิงแหล่งข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต</span> \n</p>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px\">\nการเขียนรายละเอียดทางบรรณานุกรมสำหรับ หนังสือ เอกสาร และบทความที่เผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตมีรูปแบบ และองค์ประกอบเช่นเดียวกับ บรรณานุกรมหนังสือ เอกสาร และบทความที่เผยแพร่ทั่วไปในรูปสิ่งพิมพ์ <br />\nรายละเอียดที่ ควรมี ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ปีที่ผลิต (เทียบได้กับปีที่พิมพ์) และแม้ว่าจะละรายละเอียดบางประการ เช่น เมืองที่พิมพ์ หรือสำนักพิมพ์ ซึ่งหาไม่ได้ก็ได้แต่ต้องมีข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการสืบค้นเอกสารนั้น ๆ ระบุไว้ ได้แก่ วันที่และเดือนปีที่ สืบค้น และยูอาร์แอล (URL) ซึ่งควรให้เฉพาะเจาะจงจนถึงหน้าเอกสารที่อ้างถึงให้มากที่สุด และหากยูอาร์แอลมีความยาว ไม่ สามารถพิมพ์ให้จนจบได้ในบรรทัดเดียว ควรแบ่งข้อความโดยขึ้นบรรทัดใหม่ด้วยข้อความหลังเครื่อง หมายทับ (/) หรือ ก่อนเครื่องหมายมหัพภาค (.)\n</p>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px\">\n<span style=\"background-color: #ff9900\">การอ้างอิงจากหนังสือ<br />\n</span><br />\nผู้แต่ง. (ปี). ชื่อเรื่อง. สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์.<br />\nตัวอย่าง<br />\nOkuda, M., &amp; Okuda, D. (1993). Star trek chronology: The history of the future. New York: Pocket Books.\n</p>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px\">\n<span style=\"background-color: #ff9900\">การอ้างอิงจากเว็บไซต์</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0.5em 0px; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px\">\nผู้แต่ง. (ปี). ชื่อเรื่อง. สืบค้นเมื่อวัน เดือน, ปี, จาก ชื่อเว็บไซต์: URL<br />\nตัวอย่าง<br />\nLynch, T. (1996). DS9 trials and tribble-ations review. Retrieved October 8, 1997, from Psi Phi: Bradley\'s Science Fiction Club Web site:<a href=\"http://www.facebook.com/l.php?u=http%3A%2F%2Fwww.bradley.edu%2Fcampusorg%2Fpsiphi%2FDS9%2Fep%2F503r.html&amp;h=gAQGDgPKAAQH6j64aPT2IrcUp-0maWteP5hrJ2YgEPvmDvg&amp;s=1\" style=\"cursor: pointer\" rel=\"nofollow nofollow\" target=\"_blank\">http://www.bradley.edu/campusorg/psiphi/DS9/ep/503r.html</a>\n</p>\n<p></p></span></span></h5>\n', created = 1728023805, expire = 1728110205, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:de9154cd29224090f97cdd1bd97cc0a5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

“เทคนิคการสืบค้นข้อมูล”และ “หลักการเขียนบรรณานุกรมและการอ้างอิงแหล่งข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต”

การค้นหาข้อมูลมีด้วยกัน 2 วิธีด้วยกัน คือ
1. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory วิธีการค้นหาข้อมูลแบบ Index นี้ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมากกว่าการค้นหาข้อมูลด้วย วิธีของ Search Engine เพราะจะสามารถคัดแยกข้อมูลออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัดแบ่งแยก Site ต่างๆออกเป็นประเภท เมื่อได้ข้อมูลตรงกับความต้องการแล้ว สามารถ Click ลงไปยัง Link เพื่อขอเชื่อมต่อทางเว็บไซต์ก็จะนำเอาผลของข้อมูลดังกล่าวออกมาแสดงผลทันที
2. การค้นหาในรูปแบบ Search Engine ในโลกของอินเตอร์เน็ทข้อมูลมีมากมายเหลือเกิน ถ้าจะใช้เวลาในการอ่านทุกสิ่งบน เข้าไปค้นหาอินเตอร์เน็ทคงต้องใช้เวลานานหลายชั่วอายุคน จริง ๆ แล้วเราคงไม่มีความสนใจในทุกเรื่อง แต่คงสนใจเฉพาะเรื่องที่เราสนใจเท่านั้น จึงมีคนคิดเครื่องมือใน
การช่วยค้นหาข้อมูลที่ต้องการ นั้นก็คือ Search Engine

 

เทคนิคการค้นหาข้อมูล
• เลือกหมวดหมู่ที่สนใจ และตรงกับเนื้อหาที่ต้องการให้มากที่สุด 
• ระบุ คีย์เวิร์ดให้เยอะๆ ให้ครอบคลุมเนื้อหาให้มากที่สุด
• คีย์เวิร์ด (keyword) ต้องไม่กำกวม 
• ไม่ต้องใส่คำนำหน้า/คำเชื่อมในคีย์เวิร์ด เช่น the, a, an, and ระบุคำที่สนใจไว้ในเครื่องหมายคำพูด
• ใส่ตัวกรอง (Filter) ช่วยในการค้นหา •ใช้เครื่องหมาย + นำหน้าคีย์เวิร์ด เพื่อบังคับให้มีคำที่ระบุ ใช้เครื่องหมาย - นำหน้าคีย์เวิร์ด เพื่อบังคับไม่ให้มีคำที่ระบุ 
• ข้อมูลที่เป็นภาพ, เสียง, ภาพเคลื่อนไหว ควรใช้ค้นหาจากเว็บไซต์ที่ให้บริการเฉพาะทาง
• ค้นหาโดยอาศัยกลุ่มข่าว และเว็บบอร์ด
• ติดตั้งเครื่องมือช่วยค้นหาให้กับบราวเซอร์

วิธีการสืบค้นข้อมูลหนังสือ
1. โฮมเพจ (Home) เป็นการสืบค้นจาก ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง โดยพิมพ์คำที่ต้องการสืบค้น เพื่อทำการค้นหา
2. การค้นหาหนังสือ (Book Search) ผู้ใช้สามารถเลือกแนวทางในการสืบค้นได้ 3 แนวทาง คือ 
 พื้นฐาน (Basic) เป็นการสืบค้นจาก ชื่อผู้แต่ง (Author Alphabetical) ชื่อเรื่อง (All Titles Alphabetical) หัวเรื่อง (Subject Alphabetical) เลขหมู่หนังสือ (Dewey Call Number) หมายเลข ISBN หมายเลข ISSN เป็นต้น
 คำสำคัญ (Advanced) เป็นการสืบค้นด้วยคำสำคัญ (คำนาม) จากชื่อผู้แต่ง ชื่อชุด ชื่อเรื่อง และหัวเรื่อง โดยใส่คำค้นอย่างน้อย 1 คำ 
 บูลีน (Power) เป็นการสืบค้นโดยใช้สันธาน (คำเชื่อม) AND หรือ OR หรือ NOT หรือ X OR จากคำสำคัญ ชื่อชุด ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง โดยใส่คำอย่างน้อย 1 คำ

หลักการเขียนบรรณานุกรมและการอ้างอิงแหล่งข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต 

การเขียนรายละเอียดทางบรรณานุกรมสำหรับ หนังสือ เอกสาร และบทความที่เผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตมีรูปแบบ และองค์ประกอบเช่นเดียวกับ บรรณานุกรมหนังสือ เอกสาร และบทความที่เผยแพร่ทั่วไปในรูปสิ่งพิมพ์ 
รายละเอียดที่ ควรมี ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ปีที่ผลิต (เทียบได้กับปีที่พิมพ์) และแม้ว่าจะละรายละเอียดบางประการ เช่น เมืองที่พิมพ์ หรือสำนักพิมพ์ ซึ่งหาไม่ได้ก็ได้แต่ต้องมีข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการสืบค้นเอกสารนั้น ๆ ระบุไว้ ได้แก่ วันที่และเดือนปีที่ สืบค้น และยูอาร์แอล (URL) ซึ่งควรให้เฉพาะเจาะจงจนถึงหน้าเอกสารที่อ้างถึงให้มากที่สุด และหากยูอาร์แอลมีความยาว ไม่ สามารถพิมพ์ให้จนจบได้ในบรรทัดเดียว ควรแบ่งข้อความโดยขึ้นบรรทัดใหม่ด้วยข้อความหลังเครื่อง หมายทับ (/) หรือ ก่อนเครื่องหมายมหัพภาค (.)

การอ้างอิงจากหนังสือ

ผู้แต่ง. (ปี). ชื่อเรื่อง. สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์.
ตัวอย่าง
Okuda, M., & Okuda, D. (1993). Star trek chronology: The history of the future. New York: Pocket Books.

การอ้างอิงจากเว็บไซต์

ผู้แต่ง. (ปี). ชื่อเรื่อง. สืบค้นเมื่อวัน เดือน, ปี, จาก ชื่อเว็บไซต์: URL
ตัวอย่าง
Lynch, T. (1996). DS9 trials and tribble-ations review. Retrieved October 8, 1997, from Psi Phi: Bradley's Science Fiction Club Web site:http://www.bradley.edu/campusorg/psiphi/DS9/ep/503r.html

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 520 คน กำลังออนไลน์