• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:30dcb14365f6a829203bd69fcb397ffd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u87607/framx.jpg\" width=\"200\" height=\"100\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">            ในประวัติศาสตร์ชาติไทยนั้น<br />\nประชาชนชาวไทยได้เสียสละชีวิต ร่วมมือกันฟันฝ่าอุปสรรค  ช่วยกันพัฒนาสร้างบ้านเมืองมาโดยลำดับ<br />\nพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ได้ทรงเสียสละความสุขส่วนพระองค์ทุ่มเทให้แก่แผ่นดิน<br />\nช่วยสร้างความเจริญรุ่งเรือง ความมั่นคงสถาพรให้ชาติไทยได้มีเอกราชสืบต่อมาจนทุกวันนี้</span> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u87607/1.jpg\" width=\"200\" height=\"250\" /> \n</div>\n<table class=\"MsoNormalTable\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" style=\"text-align: center; margin-left: 36pt\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"padding: 0.75pt\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt\">\n <span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">              พระเจ้าพรหม<br />\n มหาราชองค์แรกของไทย</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">ประเทศไทย<br />\nตั้งอยู่ท่ามกลางคาบสมุทรอินโดจีน มีเนื้อที่ประมาณ </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">200,148 <span lang=\"TH\">ตารางไมล์<br />\nหรือประมาณ </span>514,000 <span lang=\"TH\">ตารางกิโลเมตร</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">ภูมิประเทศ</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> <span lang=\"TH\">ภาคเหนือเป็นที่สูง<br />\nมีภูเขาสูงสลับซับซ้อนกันหลายพืด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นที่ราบสูง<br />\nภาคกลางเป็นที่ราบกว้างใหญ่ มีแม่น้ำสำคัญหลายสาย<br />\nภาคใต้เป็นภูเขาติดต่อเป็นทิวยาวไปทางทิศใต้ มีที่ราบแถบชายทะเล</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<img src=\"/files/u87607/2.gif\" width=\"184\" height=\"154\" /> <span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">แผนที่ประเทศไทย.</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">ภูมิอากาศ</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> <span lang=\"TH\">ประเทศไทยอยู่ในแถบร้อน<br />\nมี </span>3 <span lang=\"TH\">ฤดู คือ ฤดูร้อน ดูฝน และฤดูหนาว</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">ประเทศไทยมีพลเมือง </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">60 <span lang=\"TH\">ล้านคน<br />\n(สถิติเมื่อวันที่ </span>2 <span lang=\"TH\">พ.ย. </span>2539, <span lang=\"TH\">เวลา </span>09.48<br />\n<span lang=\"TH\">น. มีเด็ก </span>10 <span lang=\"TH\">คน เกิดในเวลานี้ทั่วประเทศ)<br />\nพลเมืองส่วนมาก นับถือศาสนาพุทธ</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">เมืองหลวงของประเทศไทย คือ<br />\nกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บน สองฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยา<br />\nพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงสร้างกรุงเทพ ฯ ขึ้น เมื่อ พ.ศ. </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">2325 <span lang=\"TH\">เป็นศูนย์กลางการค้า<br />\nการอุตสาหกรรม การศึกษา และการคมนาคม</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">ข้อมูลประเทศไทย</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">สำนักงานสถิติแห่งชาติรายงานผลการสำรวจสำมะโนประชากรและเคหะ<br />\nพ.ศ.</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">2543<br />\n<span lang=\"TH\">ซึ่ง เป็นการจัดทำทุกระยะ </span>10 <span lang=\"TH\">ปี สรุปว่า ณ<br />\nวันที่ </span>1 <span lang=\"TH\">เม.ย.</span>2543 <span lang=\"TH\">มีประชากรอาศัยอยู่ในประเทศไทย<br />\n</span>60.6 <span lang=\"TH\">ล้านคน เป็นชาย </span>29.8 <span lang=\"TH\">ล้านคน<br />\nและหญิง </span>30.8 <span lang=\"TH\">ล้านคน เพิ่ม </span>1.05 % <span lang=\"TH\">ต่อปี<br />\nเมื่อจำแนก ตามหมวดอายุ พบว่าเป็นประชากรวัยเด็กสูงถึง </span>14 <span lang=\"TH\">ปี<br />\n</span>24.1 % <span lang=\"TH\">วัยทำงาน </span>15-59 <span lang=\"TH\">ปี </span>65.5<br />\n% <span lang=\"TH\">และวัยสูงอายุ </span>9.4 % <span lang=\"TH\">ทั้งนี้<br />\nประชากรที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยเกือบทั้งหมด หรือ </span>99.5 % <span lang=\"TH\">เป็น<br />\nผู้มีสัญชาติไทย โดยนับถือศาสนาพุทธ </span>94.6 % <span lang=\"TH\">ศาสนาอิสลาม </span>4.6<br />\n% <span lang=\"TH\">และที่เหลือนับถือศาสนา อื่น เช่นคริสต์</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><span lang=\"TH\"></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">โดยคนไทยมีแนวโน้มแต่งงานช้าลง<br />\nและผู้หญิงแต่งงานเร็วกว่าผู้ชาย ซึ่งในการสำรวจ ของปี </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">2543 <span lang=\"TH\">พบว่าผู้หญิงแต่งงานครั้งแรกเมื่อมีอายุเฉลี่ยประมาณ<br />\n</span>24.1 <span lang=\"TH\">ปี ผู้ชายประมาณ </span>27.2 <span lang=\"TH\">ปี<br />\nในขณะที่ปี </span>2533 <span lang=\"TH\">ผู้หญิงแต่งงานครั้งแรกเมื่ออายุ </span>23.5<br />\n<span lang=\"TH\">ปี และผู้ชายประมาณ </span>25.9 <span lang=\"TH\">ปี<br />\nนอกจากนี้การมีบุตรของผู้หญิงโดยเฉลี่ยก็ลดลงเช่นกันคือ ผู้หญิงที่เคยสมรสอยายุ </span>15-49<br />\n<span lang=\"TH\">ปี มีบุตรเกิดรอดโดยเฉลี่ยประมาณ </span>2.4 <span lang=\"TH\">คน ในปี </span>2533<br />\n<span lang=\"TH\">และลดลงเหลือ </span>1.7 <span lang=\"TH\">คน ในปี </span>2543 <span lang=\"TH\">อีกทั้ง มีหัวหน้าครัวเรือนเป็นหญิงเพิ่มขึ้นในปี </span>2543 <span lang=\"TH\">คิดเป็น </span>25.5 % <span lang=\"TH\">ของครัวเรือนทั้งสิ้น เปรียบเทียบ<br />\nกับ </span>19.4 % <span lang=\"TH\">ในปี </span>2533</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<img src=\"/files/u87607/3.jpg\" width=\"316\" height=\"179\" />\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">      เรื่องความเป็นมาของชนชาติไทย<br />\nในสมัยโบราณนั้น  เท่าที่ทราบกันส่วนมากยังเป็นตำนานเก่าแก่หรือนิยายปรำปรา<br />\nเล่าสืบต่อกันมา ไม่ใคร่มีหลักฐานแน่ชัด เช่น </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> <span lang=\"TH\">กล่าวว่าคนไทย เคลื่อนย้ายลงมาจากดินแดนจีนตอนใต้ คือ จากมณฑลฮุนหนำ<br />\nกุยจิ๋ว และกวางไส ส่วนที่เป็นมาก่อนหน้านั้นยังไม่กระจ่าง<br />\nเนื่องจากไทยเราไม่มีบันทึกเรื่องราวดังกล่าวไว้  ซึ่งอาจจะไม่มีมาแต่เดิม<br />\nหรือเคยมีแต่ได้สูญหายไปหมด อย่างไรก็ตามได้มีชาวยุโรปหลายชาติ<br />\nได้ทำการค้นคว้า เรื่องชนชาติไทยโบราณไว้เป็นหลักฐาน<br />\nและจากจดหมายเหตุของจีนก็ได้กล่าวถึงเรื่องชน ชาติไทยอยู่มาก<br />\nซึ่งยังไม่ได้นำมาเปิดเผยให้แพร่หลาย</span></span> \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">        งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทยอาจทำได้</span><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">๒</span></b><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">วิธี  วิธีหนึ่ง<br />\nใช้วิธีเดินทางท่องเที่ยวไปในหมู่ชนชาติไทย </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">  <span lang=\"TH\">ที่ยังคงมีถิ่นฐานกระจัดกระจายอยู่ในประเทศจีนตอนใต้ ตังเกี๋ย ลาว พม่า<br />\nและอินเดีย  ทำการสอบสวนค้นคว้า ทางภาษา บ้านเรือน การแต่งกาย ความเป็นอยู่<br />\nอาหารการกิน อาชีพ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปกรรม และอื่น ๆ วิธีนี้ต้องลงทุนลงแรง<br />\nและใช้เวลามาก </span>  <span lang=\"TH\">วิธีนี้ได้มีชาวยุโรป<br />\nและชาวไทยบางท่านได้ทำไว้แล้ว เช่น หมอวิลเลียมคลิฟตัน ดอดด์<br />\nซึ่งเป็นหมอสอนศาสนาชาวอเมริกัน ได้ใช้เวลาถึง ๒๕ ปี<br />\nเดินทางท่องเที่ยวไปพำนักอยู่กับคนไทย ในถิ่นประเทศต่าง ๆ  </span><span lang=\"TH\">เพื่อเผยแพร่ศาสนาคริสต์<br />\nและใช้โอกาสนั้นศึกษาค้นคว้าเรื่องชนชาติไทยไปด้วย<br />\nและได้เขียนเอกสารเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้อย่างยากที่จะผู้ใดเสมอเหมือนได้</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><span lang=\"TH\"></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">          นอกจากนี้<br />\nยังมีชาวอังกฤษและชาวฝรั่งเศส ซึ่งมามีเมืองขึ้นอยู่ในดินแดนที่ชนชาติไทยมีถิ่นฐานกระจายกันอยู่อย่างกว้างขวาง<br />\nได้ค้นคว้าศึกษาเกี่ยวกับชนชาติไทยไว้ไม่น้อย  ประกอบ กับ</span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> <span lang=\"TH\">เอกสารวรรณคดีโบราณของจีนก็มีเรื่องของไทยเรา<br />\nแทรกอยู่ใช้เป็นเครื่องช่วยอย่างสำคัญ </span>  <span lang=\"TH\">สำหรับนักค้นคว้าในรุ่นหลังต่อมา<br />\n</span> <span lang=\"TH\">สำหรับคนไทยเราเองมีนักวิชาการบางท่านได้ออก</span> <span lang=\"TH\">สำรวจถิ่นฐาน ของชนชาติไทยในดินแดนเหนือประเทศไทย</span></span> \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">          ปัจจุบันเข้าไปจนถึงดินแดนจีนทางตอนใต้<br />\nและได้ประมวลเรื่องที่ได้พบเห็นไว้ในหนังสือเรื่อง  &quot;กาเลหม่านไต&quot;</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">   (<span lang=\"TH\">ท่องเที่ยวไปยังบ้านคนไทย) ซึ่งเป็นข้อมูลค่อนข้างใหม่กว่าข้อมูล ที่ชาวตะวันตกทั้งหลาย<br />\nได้ค้นคว้าเอาไว้ เป็นข้อมูลประมาณหลังสงครามมหาเอเชียบูรพาสิ้นสุดลงใหม่ ๆ<br />\nซึ่งก็สอดคล้องกับที่ชาวตะวันตกหลายชาติที่เขียนเอาไว้ก่อนหน้านั้น </span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><span lang=\"TH\"></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">          จากการค้นคว้าดังกล่าว<br />\nทำให้ได้ความรู้อันแน่ชัดว่า ไทยเราเป็นเชื้อชาติที่สำคัญยิ่งมาแต่โบราณกาล<br />\nมีอารยธรรม มีความรู้ทางการปกครอง และมีสิ่งดีหลายอย่างมาพร้อมกับชาติ โบราณ</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> <span lang=\"TH\">ทั้งหลาย บรรดาผู้ทำการค้นคว้าชาวตะวันตกหลายชาติทั้ง อังกฤษ ฝรั่งเศส และ<br />\nอเมริกา ต่างยืนยันว่า</span> <span lang=\"TH\">ชนชาติไทยเจริญมารุ่นราวคราวเดียวกันกับชาติโบราณอื่น<br />\nๆ เช่น คาลเดีย </span> <span lang=\"TH\">และบาบิโลน และว่าชนชาติไทยเป็นพี่ชายของชนชาติจีน<br />\nเช่น หนังสือที่หมอดอดต์แต่งชื่อ </span>The Tai Race <span lang=\"TH\">มีชื่อเพิ่มเติมว่า<br />\n</span>Elder brother of the chinese </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">           ชาวตะวันตกรู้จักประเทศไทยมาช้านาน<br />\nตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีหนังสือตำนานพิมพ์ออกมาแพร่หลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาษาฝรั่งเศส<br />\nตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าหลุยที่ ๑๔ </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">  <span lang=\"TH\">ต่อมาเมื่ออังกฤษ และฝรั่งเศสมาได้เมืองขึ้นในดินแดนเอเชียตะวันออก<br />\nอังกฤษก็ได้พบคนไทยใหญ่ และไทยอาหมที่พูด ภาษาไทย </span> <span lang=\"TH\">ฝรั่งเศสพบลาวและชนชาติไทยในภาคเหนือของตังเกี๋ย ซึ่งพูดภาษาไทย<br />\nและมีรูปร่างลักษณะเป็นคนไทย นอกจากนั้นเข้าไปในมณฑลยูนนาน และกวางสีของจีน<br />\nก็ได้พบคนที่พูดภาษาไทยอีกเป็นจำนวนมาก</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<img src=\"/files/u87607/4.jpg\" height=\"278\" width=\"220\" />\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">            </span><span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">บรรดานักค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย ได้พยายามอธิบายเรื่องชนชาติไทยไว้เป็นอันมาก<br />\nพอประมวลได้ดังนึ้</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">              พันโทมอริส อาบาดี ชาวฝรั่งเศส<br />\nอธิบายว่า กลุ่มเชื้อชาติของกลุ่มคนที่เรียกชื่อว่าไทย<br />\nเป็นกลุ่มสำคัญที่สุดในบรรดาหมู่ชนทั้งหลายที่ได้พบในประเทศจีนตอนใต้ และในอินโดจีน</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> <span lang=\"TH\">ทั้งหมดเป็นกลุ่มทึ่รวมหมู่มากมายหลายประเภท<br />\nแต่มีลักษณะสำคัญที่เหมือนกันในทางภาษา ขนบประเพณี และจารีต</span></span> \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">              นายดอชเรน ชาวอังกฤษ<br />\nซึ่งเป็นสมาชิกราชบัณฑิตสภาอังกฤษ เกี่ยวกับทวีปอาเซีย ให้คำอธิบายว่าเชื้อชาติไทย<br />\nแบ่งแยกเรียกชื่อตามหมู่เหล่าหลายชื่อ แต่เป็นเชื้อชาติเดียวกัน ได้ยืด</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> <span lang=\"TH\">ครองพื้นที่กว้างใหญ่ไพศาลว่าคนเชื้อชาติอื่นๆ ในแหลมอินโดจีน<br />\nในอัสสัมซึ่งเรียกว่าอาหม ตลอดแนวเขตแดนระหว่างพม่ากับจีน แบ่งแยกเป็นหลายพวก และบางพวกก็เป็นอิสระอย่างครึ่ง<br />\nๆ</span> <span lang=\"TH\">เรียกชื่อตามที่พม่าเรียกว่าฉาน<br />\nชนเชื้อชาติเดียวกันนี้ได้แผ่ออกไปทางใต้ใช้ชื่อว่า ลาว ยึดครองพื้นที่ระหว่าง<br />\nแม่น้ำสาละวินกับ แม่น้ำโขงใต้ลงไปอีก ที่รู้จักกันมากที่สุด<br />\nและเป็นสาขาเชื้อชาติที่  มีอารยธรรมสูงที่สุด<br />\nคือไทยสยาม ซึ่งได้ตั้งอาณาจักรที่มีอำนาจอยู่ทางฝั่งทะเล</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">              นายเอเตียน เอโมนิเอร์<br />\nชาวฝรั่งเศส  เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองขึ้นของฝรั่งเศส<br />\nได้เขียนไว้ในหนังสือเรื่องประเทศกัมพูชา พิมพ์ออกเผยแพร่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๓ </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">  <span lang=\"TH\">มีความว่า ครอบครัวเชื้อชาติใหญ่ ซึ่งเรียกว่าไทย ที่แปลกันว่าเสรีชน<br />\nประกอบด้วยหมู่ชนมากมายหลายสาขา มีความสัมพันธ์อย่างเครือญาติใกล้ชิด<br />\nโดยเฉพาะอย่างยิ่งในทางภาษา หมู่ใหญ่ของชนชาติ ดังกล่าวนี้มี ฉาน ลาว หรือ<br />\nลาวเฉียง ผู้ไท และชาวสยาม เมื่อก่อนคริสตศักราช<br />\nชนเชื้อชาตินี้ได้มีถิ่นฐานอยู่ในที่ราบสูงยูนนาน หรือธิเบตตะวันออก </span>  <span lang=\"TH\">ต่อมาได้เคลื่อนย้ายลงมาตามทางลาดเอียงของลำน้ำ เข้ายึดครองลุ่มน้ำหลายแห่งในประเทศจีนตอนใต้<br />\nและได้แผ่ลงมาทางใต้เหมือนน้ำไหลอย่างแรง<br />\nครอบคลุมที่ราบในแหลมอินโดจีนเกือบทั้งหมด และได้ขับไล่พวกชาวป่าชาวดอยเจ้า<br />\nของถิ่นเดิมให้เข้าไปอยู่ในป่าดง และภูเขาแล้ว<br />\nชนชาติไทยก็เข้าครอบครองดินแดนโดยเหลือแต่ที่ที่ยื่นออกตามชายฝั่งทะเล </span>  <span lang=\"TH\">ไว้ให้แก่ชนชาติอื่นที่เจริญแล้วคือ ญวน จามปา เขมร มลายู มอญ และพม่า</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">               ศาสตราจารย์ แตริอัง เดอลาคุเปอรี<br />\nชาวอังกฤษ ได้ตรวจสอบภาษาพูดที่ทางจีนสมัยโบราณรวบรวมไว้ </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">  <span lang=\"TH\">พบว่าคำพูดของหมู่ชนที่จีนเรียกว่าคนป่าในสมัยโบราณนั้น แยกออกได้เป็น สองสาขา<br />\nคือ  บางคำตรงกับ<u>ภาษาไทย</u></span><span class=\"apple-converted-space\"> </span> <span lang=\"TH\">บางคำตรงกับ<u>ภาษามอญและญวน</u></span><span class=\"apple-converted-space\"><u> </u></span><span lang=\"TH\">เมื่อลองตรวจนับดูก็พบว่าในบรรดาคำ<br />\n๑๙ คำ จะเป็นภาษาไทย ๑๒ คำ เป็นภาษามอญและญวน  และมีอยู่มากคำที่<br />\nไม่รู้ว่าเป็นอะไร ด้วยเหตุนี้ ศาสตราจารย์ คุเปอรีจึงถือว่า หมู่ชนที่ชาวจีนเรียกว่าคนป่านั้นต้องเป็นพันธุ์ๆ<br />\nหนึ่ง ซึ่งเขาเขาชื่อว่าพันธุ์ &quot;มอญไทย&quot;<br />\nโดยที่พันธุ์มอญได้เคลื่อนลงมาทางใต้ก่อนพันธุ์ ไทย และมากลายเป็น มอญ เขมร ญวน<br />\nในปัจจุบัน </span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">               สำหรับเจ้าตำราทางฝรั่งเศส<br />\nได้อธิบายไว้ว่ามอญกับเขมรเป็นสาขาเดียวกัน เรียกว่ามอญขะแมร์<br />\nถือเป็นมอญแท้พวกหนึ่ง และเป็นขะแมร์อีกพวกหนึ่ง ชนชาติอื่นๆที่นับเข้าเป็นสาขามอญ<br />\nขะแมร์  ได้แก่ ปะหล่อง ว้า ยาง นายดอชเรนได้เขียนไว้ว่าพันธุ์มอญ เป็นเชื้อชาติแรกที่อพยพจากแดนจีนลงมาทางใต้</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">               พันตรี เดวิด ชาวอังกฤษ<br />\nได้เขียนเรื่องไทยในยูนนานไว้ว่า คนจีนในยูนนานกล่าวว่า<br />\nชาวกวางตุ้งนั้นเป็นเชื้อชาติฉาน (ไทยใหญ่) </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">  <span lang=\"TH\">ดวงหน้าของชาวจีนทางใต้กับพวกฉานเหมือนกันมาก<br />\nอาจเป็นไปได้ว่าในสมัยหนึ่งพวกฉาน<br />\nได้ครองครองพื้นที่ส่วนใหญ่ในประเทศจีนทางด้านทิศใต้ ของแม่น้ำยังจื้อ<br />\nแต่ส่วนมากถูกจีนกลืนไป</span></span> \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                </span><span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">เซอร์ ยอร์ช สก๊อต ชาวอังกฤษ  ผู้เขียนประวัติศาสตร์พม่า ได้เขียนความตอนหนึ่งว่า<br />\nเชื้อชาติไทยเป็นเชื้อชาติแผ่ไพศาลที่สุดในแหลมอินโดจีน </span><span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">  </span><span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">ชาวอาหมในแคว้นอัสสัมเป็นฉาน ชาวฮักก้าในกวางตุ้งเป็นพวกที่ไปจากฉาน<br />\nอาจจะเป็นไปได้ว่า เชื้อชาติไทยประกอบเป็นส่วนใหญ่ในสี่มณฑลของจีน</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                หมอวิลเลียมคลิฟตัน ดอดต์<br />\nได้อ้างคำของนายเจไมซัน กงสุลให้อังกฤษประจำเมืองแดนตอน (กวางตุ้ง) เมื่อ ประมาณปี<br />\nพ.ศ. ๒๔๕๐ ว่าพลเมืองในมณฑลกวางสี และกวางตุ้งทั้งหมด<br />\nเป็นชนเชื้อชาติไทยทั้งในทางเชื้อชาติและทางภาษา</span> \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                </span><span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">เรเวอเรนต์ เบอร์กวอล นักบวชชาวอังกฤษ กล่าวว่าชาวไทยในมณฑลกวางสี<br />\nตามอำเภอชนบทมากหลาย ปกครองโดยหัวหน้าของเขาเอง ที่สืบเชื้อสายต่อกันมา<br />\nไม่พูดภาษาจีน และถือ พวกถือหมู่ ถึงขั้นไม่ยินดีรับอารยธรรมจีน</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                หมอวิลเลียมคลิฟตัน ดอดด์<br />\nผู้แต่งหนังสือเรื่องเชื้อชาติไทย เขียนไว้ว่ามีข้อที่จะอ้างอิงได้เป็นอันมากว่า<br />\nในปัจจุบันนี้ชาวจีนซึ่งถือว่าหมู่ที่อยู่รอบข้างตน เป็นคนป่า ชั้นต่ำกว่าตนนั้น<br />\nมีเลือดไทยอยู่ในสายเลือดของตนเป็นอันมาก และยังมีเลือดของพวกโลโล้ ยูง ยาง<br />\nกะเหรี่ยง เต็ก แม้ว เย้า ไปจนถึงพวกมอญ - ขะแมร์ด้วย  พวกเหล่านี้เป็นชาวใต้<br />\nเป็นตัวแทนของชาติโบราณที่ เคลื่อนที่มาเรื่อย ๆ จากทางเหนือ<br />\nเมื่อประมวลความเห็นเหล่านี้เข้าด้วยกัน<br />\nจะเห็นได้ว่าธาตุสำคัญอันหนึ่งที่ทำให้เกิดชาติจีนในปัจจุบันคือ ชนชาติใหญ่<br />\nชื่อว่า อ้ายลาว ต่อมาภายหลังเรียกว่าไทย พม่าเรียกว่า ฉาน<br />\nซึ่งอยู่ในประเทศจีนมาก่อน เก่ากว่าชาวจีน</span> \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                </span><u style=\"font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif; font-size: 18pt; background-color: white\"><span lang=\"TH\">แม่น้ำฮวงโห และ แม่น้ำแยงซีเกียง</span></u><span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" class=\"apple-converted-space\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">ได้แบ่งประเทศจีนออกเป็น<br />\n๓ ตอน ตอนเหนือคือ  พื้นที่ทางด้านเหนือแม่น้ำฮวงโหขึ้นไป<br />\nตอนกลางคือพื้นที่ระหว่างแม่น้ำทั้งสองนึ้ และตอนใต้คือ พื้นที่ทางด้านทิศใต้ของแม่น้ำแยงซีเกียงลงมา</span> \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">                ทางเดินของชนชาติจีนตามประวัติศาสตร์นั้น<br />\nจีนลงมาจากทางเหนือ และเพิ่งมาตั้งอาณาจักรแท้จริงเท่าที่เราทราบ<br />\nเมื่อมาถึงแม่น้ำฮวงโห และอยู่ในพื้นที่ตอนบนเหนือมแม่น้ำสายนี้ ในระยะเวลานั้นยังไม่พบกับไทย<br />\nในระยะต่อมาก็เคลื่อนที่ข้ามแม่น้ำฮวงโหเข้ามาสู่พื้นที่ตอนกลางและได้พบกับไทยในพื้นที่ตรงนี้<br />\n</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">  <span lang=\"TH\">จากนั้นจีนก็ได้เปลี่ยนแนวทางเคลื่อนย้าย คือแทนที่จะ<br />\nเคลื่อนที่เรื่อย ๆ ลงมาทางใต้ตามทิศทางที่เคยเคลื่อนที่มาก่อน<br />\nก็กลับวกไปทางด้านทิศตะวันออก จีนใช้เวลาถึงหนึ่งพันปีในการเคลื่อนที่สู่ทิศตะวันออกเรื่อยไปจนกระทั่งถึงทะเลเหลือง<br />\nปรากฎการณ์ดังกล่าวนี้เป็นข้อสนับสนุนว่า อาณาจักรไทยที่จีนมาพบนั้น<br />\nต้องเป็นอาณาจักรที่มั่นคงแข็งแรง<br />\nสามารถเป็นทำนบกั้นการเคลื่อนที่ของจีนลงทางใต้ได้ยาวนานถึงหนึ่งพันปี<br />\nภายหลังเมื่อจีนขยายตัวไปถึงทะเลเหลืองแล้ว </span>   <span lang=\"TH\">จึงได้กลับมากดดันลงทางใต้<br />\nและกว่าจะแผ่ขยายไปถึงฝั่งทะเลทางตอนใต้ก็ต้องใช้เวลาอีกประมาณหนึ่งพันปีเช่นกัน<br />\nประวัติศาสตร์จีนที่ ขงจื้อเขียน<br />\nไม่มีข้อความตอนใดกล่าวถึงดินแดนทางตอนใต้ของแม่น้ำแยงซีเกียงลงไป<br />\nแสดงว่าในสมัยนั้น จีนยังไม่รู้จักดินแดนตอนใต้</span></span> \n</p>\n<p style=\"background-color: white\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">มีอาณาจักรอยู่หลายอาณาจักรที่จีนเรียกว่าคนป่า<br />\nแต่เป็นอาณาจักรที่ปกครองตนเอง โดยมีความสัมพันธ์กับจีน<br />\nมีอาณาจักรอีกสองอาณาจักรที่น่าสนใจ นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้ว คือ</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                         <span lang=\"TH\">อาณาจักรปัง  อยู่ทางทิศเหนือของมณฑลเสฉวนและ ฮูเป คือ<br />\nอยู่ในพื้นที่ตอนกลางระหว่างแม่น้ำ ฮวงโห กับแม่น้ำ แยงซีเกียง<br />\nในตำนานของจีนกล่าวว่า อาณาจักรนี้ได้ถูกรวมเข้า กับจีน เมื่อ ๗๖๗ ก่อนพุทธศักราช<br />\nและตำนานจีนยังกล่าวไว้ว่า อาณาจักรนี้ได้ตั้งเป็นอิสระมาก่อนแล้ว ๗๖๗ ปี<br />\nแสดงว่าอาณาจักรนี้ตั้งมาตั้งแต่ ๑๔๕๔ ปี ก่อนพุทธศักราช  ขงจื้อเมื่อเขียน<br />\nถึงชนชาตินี้ จะใช้คำว่า &quot;ปังโบราณ&quot;<br />\nอาณาจักรปังเป็นอาณาจักรใหญ่มีหมู่บ้านถึง แปดหมื่นหมู่บ้าน<br />\nเมื่อรวมกับจีนแล้วก็ยังคงใช้ประมุขคนพื้นเมืองปกครองกันเอง ต่อมาภายหลังได้รับการ<br />\nยกย่องให้อยู่ในฐานะกษัตริย์ จีนเรียกเมืองแสนหวีที่อยู่ในรัฐไทยใหญ่ปัจจุบันว่ามูปัง<br />\nคำว่าปังอาจจะออกเสียงเป็นปอง ปง หรือพงได้นั้น ยังเหลือซากอยู่ในหมู่ชนชาติไทย<br />\nชื่อเมืองของชนชาติ </span> <span lang=\"TH\">ไทยบางแห่งยังมีชื่อว่า เมืองพง<br />\nชาวไทยใหญ่บางพวกยังเรียกตัวเองว่าไทยปอง หรือไทยพง</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                      <span lang=\"TH\">อาณาจักรจู  ทางไทยอาจจะเรียกว่า &quot;</span> <span lang=\"TH\">ฌ้อ&quot;<br />\nเป็นอีกรัฐหนึ่งที่รวมเข้ากับจีน </span>  <span lang=\"TH\">ภายหลังจากที่ได้ต่อสู้กันอยู่ช้านาน<br />\nนับว่าเป็นรัฐใหญ่ที่สุดในบรรดารัฐคนป่าทั้งหลาย  เขตแดนทางเหนือ<br />\nจดครึ่งของพื้นที่ตอนกลาง ระหว่างแม่น้ำฮวงโหกับแม่น้ำแยงซีเกียง<br />\nทางด้านทิศตะวันออกได้ทอดยาวไปตามลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียง จากหลักฐานของจีน ชาวชุงเชียสืบสายมาจากชาวจู<br />\nและหมอวิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ ได้พบชาวชุงเชีย และพูดกันรู้เรื่องด้วยภาษาไทย</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                     <span lang=\"TH\">ศาสตราจารย์ ลาคุเปอรี ได้พบจดหมายเหตุจีนกล่าวถึงชนชาติไทยเป็นครั้งแรก<br />\nในรัชสมัย พระเจ้ายู้ของจีน เมื่อ ๑๖๕๔ ปี ก่อนพุทธศักราช<br />\nชนชาติไทยได้ถูกระบุไว้ในรายงานการ สำรวจภูมิประเทศของจีนในครั้งนั้น<br />\nแต่จดหมายเหตุจีนเรียกชนชาติไทยว่า&quot;มุง&quot; และบางแห่งเรียก<br />\n&quot;ต้ามุง&quot; คือมุงใหญ่ ถิ่นที่อยู่ของชนชาติไทยดังกล่าวนี้<br />\nอยู่ในเขตมณฑลเสฉวนของจีนใน ปัจจุบัน ซึ่งอยู่ในพื้นที่จีนกลางค่อนไปทางตะวันตก</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: left; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                    </span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">มีจดหมายเหตุของจีน กล่าวถึงชนชาติไทย ได้เรียกชื่อไทยเป็นสองพวก คือ<br />\n&quot;ลุง&quot; กับ &quot;ปา&quot; อาจจะเป็นได้ว่าทิวเขากุยลุง<br />\nได้ชื่อมาจากไทยพวกที่จีนเรียกว่าลุง คำว่ากุย เป็นคำไทย</span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">แปลว่าเขา นอกจากนั้น ยังมีชนชาติไทยอีกพวกหนึ่ง อยู่ในพื้นที่ระหว่างมณฑล<br />\nโฮนาน ฮูเป และอันฮุย แล้วได้ขยายตัว</span><span style=\"font-size: 18pt; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">ออกไปถึงทิวเขากุยลุงทางด้านทิศตะวันตก<br />\nเราก็จะได้พบชนชาติไทย ที่เรียกชื่อว่า มุง ลุง ปา ปัง และลาว<br />\nบนฝั่งซ้ายของแม่น้ำแยงซีเกียง ครอบครองดินแดนตั้งแต่มณฑลเสฉวนภาคตะวันตก<br />\nต่อเนื่องทางด้านตะวันออก จนเกือบถึงทะเล และย้อนขึ้นไปทางเขต มณฑลเกียงสู<br />\nทิวภูเขาลาวในแถบนี้ ก็อาจจะได้ชื่อมาจากพวกไทย ที่เรียกตัวเองว่าลาวนี้เอง</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 0.0001pt 36pt\">\n<img src=\"/files/u87607/5.jpg\" height=\"300\" width=\"200\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; background-color: white; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                <span lang=\"TH\">ประเทศไทยตั้งอยู่ในแหลมอินโดจีน</span> <span lang=\"TH\">การที่เรียกว่าแหลมอินโดจีน</span> <br />\n<span lang=\"TH\">เพราะถือว่าอยู่ระหว่างประเทศอินเดีย กับประเทศจีน<br />\nซึ่งเป็นการถือเอาประเทศใหญ่เป็นจุดอ้าง</span> <span lang=\"TH\">แต่ถ้าถือเอาสภาพทางภูมิศาสตร์<br />\nเป็นจุดอ้างก็น่าจะเรียกว่า อินโด - แปซิฟิค</span> <span lang=\"TH\">เพราะเป็น<br />\nแหลมที่แบ่งน่านน้ำออกเป็นมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิค</span> <span lang=\"TH\">มีพิกัดทางภูมิศาสตร์ ดังนี้</span></span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> <span style=\"background-color: white\"><br />\n<b><span lang=\"TH\">ทิศเหนือ</span></b>   <br />\n<span lang=\"TH\">จดเส้นรุ้ง ๒๐ องศา ๒๕ ลิบดา ๓๐<br />\nพิลิบดา เหนือ ที่กิ่งอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย</span></span> <span style=\"background-color: white\"><br />\n<b><span lang=\"TH\">ทิศใต้</span></b> <br />\n<span lang=\"TH\">จดเส้นรุ้ง<br />\n๕ องศา ๓๗ ลิบดา ที่กิ่งอำเภอเบตง จังหวัดยะลา</span></span> <span style=\"background-color: white\"><br />\n<b><span lang=\"TH\">ทิศตะวันออก</span></b> <br />\n<span lang=\"TH\">จดเส้นแวง ๑๐๕ องศา ๓๗ ลิบดา ๓๐ พิลิบดา ที่อำเภอพิบูลมังสาหาร<br />\nจังหวัดอุบลราชธานี</span></span> <span style=\"background-color: white\"><br />\n<b><span lang=\"TH\">ทิศตะวันตก</span></b> <br />\n<span lang=\"TH\">จดเส้นแวง ๙๗ องศา ๒๒ ลิบดา ตะวันออก<br />\nที่อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">สภาพธรรมชาติในเขตร้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบตะวันออก -<br />\nใต้ของทวีปเอเซีย มีอุณหภูมิสูง มีทะเลลมและฝน เป็นปัจจัยให้เกิดป่าดง<br />\nประกอบไปด้วยพันธุ์ไม้เขตร้อน และสัตว์ป่านานาชนิด<br />\nที่มีปริมาณมากกว่าอีกหลายส่วนของโลก นับว่าเป็นย่านอันอุดมสมบูรณ์ด้วยอาหาร<br />\nและทรัพยากรที่สำคัญแห่งหนึ่งของทวีปเอเซีย</span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">การที่เส้นแวง ๑๐๑ องศา ตะวันออก<br />\nซึ่งเป็นเส้นผ่านกลางพื้นที่ประเทศไทย</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">   <span lang=\"TH\">การคิดเวลาของประเทศไทย<br />\nจึงควรใช้เส้น </span>  <span lang=\"TH\">แวงเส้นนี้เป็นตัวกำหนด</span> <br />\n<span lang=\"TH\">แต่เนื่องจากว่าเพื่อให้สะดวกในกิจการรถไฟ<br />\nซึ่งเชื่อมต่อไปยังแหลมมลายู ได้มีเวลาตรงกันทั้งไทย และมลายู (มาเลเซีย)<br />\nไทยจึงตกลงใช้เส้นแวง ๑๐๕ องศาตะวันออก<br />\nซึ่งเป็นเส้นศูนย์เที่ยงทางภูมิศาสตร์ของมลายู<br />\nและเป็นเส้นศูนย์เที่ยงของอินโดจีนด้วย เป็นเส้นศูนย์เที่ยงของไทยด้วย</span> <br />\n<span lang=\"TH\">จึงทำให้เวลาที่แท้จริงของไทยเร็วไป ๑๘ นาทีของที่ควรจะเป็น</span> <br />\n<b><span lang=\"TH\">ภูมิรัฐศาสตร์</span></b> <br />\n<span lang=\"TH\">ประเทศไทยตั้งอยู่ใจกลางของผืนแผ่นดินในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ซึ่งมีพรมแดนธรรมชาติที่เหมาะสมในแง่ภูมิศาสตร์<br />\nโดยมีเทือกเขาขนาดใหญ่ และทุรกันดารทอดตัวเป็นแนวยาวจากเหนือมาใต้ ดังนี้</span> <br />\n<b><span lang=\"TH\">ด้านทิศตะวันตก</span></b> <br />\n<span lang=\"TH\">มีเทือกเขาอารกันโยมา อันเป็นสาขาของเทือกเขาหิมาลัย</span>  <span lang=\"TH\">ทำให้เกิดป่าดงดิบทึบ เป็นการแยกประเทศพม่าออกจากประเทศอินเดียโดยสิ้นเชิง</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ไม่มีปัญหาเรื่องการมีสายน้ำร่วมกัน</span>  <span lang=\"TH\">ในสงครามมหาเอเซียบูรพา</span> <br />\n<span lang=\"TH\">กองทัพญี่ปุ่นได้รุกไปทางตะวันตกผ่านไทย ผ่านพม่า<br />\nมุ่งสู่อินเดียก็มาสิ้นสุดที่แนวเทือกเขาแห่งนี้เท่านั้น</span> <br />\n<b><span lang=\"TH\">ด้านทิศเหนือ</span></b> <br />\n<span lang=\"TH\">เป็นเทือกเขาขนาดใหญ่บนที่ราบสูง ยูนนานของประเทศจีนตอนใต้<br />\nเป็นสาขาปลายตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัย ที่ผ่านไปสู่ประเทศจีน</span>  <span lang=\"TH\">เป็นย่านทุรกันดารเป็นป่าเขายากแก่การคมนาคมทางบก</span> <br />\n<b><span lang=\"TH\">ด้านทิศตะวันออก</span></b> <br />\n<span lang=\"TH\">เป็นทะเลจีนใต้อันเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิค</span>  <span lang=\"TH\">อันเป็นพรมแดนทางธรรมชาติอย่างแท้จริงในทางภูมิรัฐศาสตร์</span> <br />\n<b><span lang=\"TH\">ด้านทิศใต้</span></b> <br />\n<span lang=\"TH\">เป็นทะเลในด้านอ่าวไทย และมหาสมุทรอินเดีย</span>  <span lang=\"TH\">จึงมีสภาพพรมแดนทางธรรมชาติ เช่นเดียวกับด้านทิศตะวันออก</span> <br />\n<o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">            </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">ด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์ ดังกล่าวมาแล้วทำให้ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้<br />\nในส่วนที่เป็นผืนแผ่นดินใหญ่ อันประกอบด้วย พม่า ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา<br />\nและมาเลเซีย</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">  </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">มีปราการทางธรรมชาติ<br />\nที่เกื้อกูลต่อความปลอดภัยร่วมกันได้เป็นอย่างดี</span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\"></span><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">ขนาดของประเทศไทย</span></b>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\"></span></b><img src=\"/files/u87607/6.jpg\" height=\"288\" width=\"190\" />\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">            <span lang=\"TH\">จากหลักฐานของกรมแผนที่ทหาร  ประเทศไทยมีพื้นที่ ประมาณ ๕๑๑</span>,<span lang=\"TH\">๙๓๗ ตารางกิโลเมตร ตัวเลขนี้เป็นตัวเลขที่เป็นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๘๓<br />\nจนถึงปัจจุบัน</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">            <span lang=\"TH\">ในระหว่างกรณีพิพาทอินโดจีน<br />\nประเทศไทยได้พื้นที่เดิมที่เสียให้แก่ฝรั่งเศส<br />\nในพื้นที่สี่จังหวัดทางภาคตะวันออกของไทย คือ จังหวัดพระตะบอง (เขมร)<br />\nเสียมราฐ (เขมร)  นครจำปาศักดิ์ </span>(<span lang=\"TH\">ลาว) ล้านช้าง</span><br />\n(<span lang=\"TH\">ลาว)  เป็นพื้นที่ประมาณ ๖๙</span>,<span lang=\"TH\">๐๒๙<br />\nตารางกิโลเมตร และในสงครามมหาเอเซียบูรพา<br />\nประเทศไทยได้รับดินแดนคืนจากที่เสียให้แก่อังกฤษ คือ สหรัฐไทยเดิม<br />\nเป็นพื้นที่ประมาณ ๓๙</span>,<span lang=\"TH\">๘๕๕ ตารางกิโลเมตร และ ๔ รัฐมาลัย คือ<br />\nรัฐกลันตัน ตรังกานู ไทรบุรี (เคดาร์) และปะลิส เป็นพื้นที่ประมาณ ๓๓</span>,<span lang=\"TH\">๒๔๕ ตารางกิโลเมตร</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">             <span lang=\"TH\">เมื่อสงครามมหาเอเซียบูรพายุติลง ไทยจำต้องคืนดินแดนที่ได้กลับคืนมา<br />\nคืนกลับไปให้ฝรั่งเศส และอังกฤษไป</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">             <span lang=\"TH\">เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศ ที่มีขนาดใหญ่กว่าประเทศไทยแล้ว จะได้ดังนี้</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                                    -<br />\n<span lang=\"TH\">เล็กกว่า ประเทศพม่าอยู่  ๖๑</span>,<span lang=\"TH\">๔๖๑ </span>  <span lang=\"TH\">ตารางไมล์</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                                    -<br />\n<span lang=\"TH\">เล็กกว่า ประเทศอินเดีย  ๗ </span>   <span lang=\"TH\">เท่า</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                                    -<br />\n<span lang=\"TH\">เล็กกว่า ประเทศจีน  ๑๐ </span>  <span lang=\"TH\">เท่า</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                                    -<br />\n<span lang=\"TH\">เล็กกว่า ประเทศตุรกี  ๑/๓  เท่า</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                                    -<br />\n<span lang=\"TH\">เล็กกว่า ประเทศฝรั่งเศสเล็กน้อย</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                                    -<br />\n<span lang=\"TH\">เล็กกว่า ประเทศสหรัฐอเมริกา  ๑๓ </span>  <span lang=\"TH\">เท่า</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> <b><span lang=\"TH\">รูปร่างของประเทศไทย</span></b><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">               <span lang=\"TH\">ประเทศไทยมีความยาวที่สุด จากเหนือ จดใต้ ประมาณ ๑</span>,<span lang=\"TH\">๘๓๓<br />\nกิโลเมตร  มีความกว้างที่สุดจากตะวันออก<br />\nไปตะวันตกตามแนวเส้นรุ้งที่ผ่านจังหวัดอุบล ฯ - อำเภอพิมาย จังหวัด</span><br />\n<span lang=\"TH\">นครราชสีมาไปทางตะวันตก ประมาณ<br />\n๘๕๐ กิโลเมตร  ส่วนที่แคบที่สุดอยู่ที่ตำบลห้วยยาง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์<br />\nมีความกว้าง ประมาณ ๑๒ กิโลเมตร และตอนแคบที่สุดของแหลม</span><br />\n<span lang=\"TH\">มลายูอยู่ที่ตรงคอคอดกระ<br />\nกว้างประมาณ ๖๔ กิโลเมตร</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">            <span lang=\"TH\">รูปร่างของประเทศไทยที่กล่าวกันไว้มีอยู่สามภาพด้วยกันคือ<br />\nเป็นรูปกระบวยตักน้ำ เป็นรูปขวานโบราณ และเป็นรูปหัวช้างมีงวงทอดลงไปในทะเลใต้<br />\nสรุปแล้วประเทศไทยมีส่วนยาว</span><br />\n<o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">      </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">เป็นสองเท่าของส่วนกว้าง<br />\nและครึ่งหนึ่งของส่วนยาวเป็นส่วนแคบ ๆ ทอดยาวลงไปทางใต้<br />\nเราอาจแบ่งรูปร่างของประเทศไทยออกอย่างกว้าง ๆ เป็นสองส่วนคือ</span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\"></span><img src=\"/files/u87607/7.jpg\" height=\"210\" width=\"200\" />\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">ส่วนบน</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">  <span lang=\"TH\">มีรูปร่างค่อนข้างจะเป็นรูปสี่เหลี่ยม ที่มีความเว้าแหว่งอยู่มาก<br />\nห้องภูมิประเทศที่เกิดจากแนวเทือกเขา ที่ทอดตัวจากเหนือไปใต้<br />\nทำให้เกิดส่วนแคบขึ้นสองแนวคือ แนว</span><br />\n<o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">       </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">จังหวัดตาก - อุตรดิตถ์<br />\nและแนวอำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว - อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย</span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\"></span><img src=\"/files/u87607/8.jpg\" height=\"100\" width=\"150\" />\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                <b><span lang=\"TH\">ส่วนล่าง</span></b>  <span lang=\"TH\">มีรูปร่างแคบและยาวมาก<br />\nมีทะเลขนาบอยู่สองด้าน</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">พรมแดนไทย</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">            <span lang=\"TH\">พรมแดนของไทยที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน  กำหนดขึ้นด้วยสัญญาระหว่างประเทศ<br />\nกับประเทศอังกฤษ และประเทศฝรั่งเศส<br />\nในสมัยที่ประเทศทั้งสองมีอาณานิคมอยู่ติดกับประเทศไทย</span><br />\n<span lang=\"TH\">ในทุกด้าน ดังนี้</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                    -<br />\n<span lang=\"TH\">สนธิสัญญา ปี พ.ศ. ๒๔๓๕ - ๓๖ ระหว่างไทยกับอังกฤษ<br />\nกำหนดพรมแดนไทยกับพม่า</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                    -<br />\n<span lang=\"TH\">สนธิสัญญา เมื่อ ๓ ตุลาคม ๒๔๗๓ (ร.ศ.๑๑๖) ระหว่างไทยกับฝรั่งเศส</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                    -<br />\n<span lang=\"TH\">สนธิสัญญา เมื่อ ๗ ตุลาคม ๒๔๔๕ ระหว่างไทยกับฝรั่งเศส</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                    -<br />\n<span lang=\"TH\">สนธิสัญญา เมื่อ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๔๗ ระหว่างไทยกับฝรั่งเศส</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                    -<br />\n<span lang=\"TH\">สนธิสัญญา เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๕๕ ระหว่างไทยกับอังกฤษ</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">            <span lang=\"TH\">พรมแดนไทยกับพม่า  เริ่มต้นจากจังหวัดระนอง ที่ลำน้ำกระ (เส้นรุ้ง ๑๐<br />\nลิบดา เหนือ) เป็นแนวเส้นเขตแดนต่อไปทางเหนือ ตามแนวสันเขาตะนาวศรี<br />\nสันเขาถนนธงชัย  สันเขาแดนลาว  </span><br />\n<span lang=\"TH\">ไปจดแม่น้ำโขง ที่จุดเส้นรุ้ง ๒๕ องศา ๕<br />\nลิบดา เหนือ  ที่กิ่งอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย<br />\nแนวพรมแดนด้านนี้ยาว ประมาณ ๑</span>,<span lang=\"TH\">๔๕๐ กิโลเมตร<br />\nไม่สู้คดโค้งมากนัก ส่วนใหญ่เป็นทิวเขาสูงใหญ่</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">            <span lang=\"TH\">พรมแดนไทยกับลาว  เริ่มจากบ้านใหม่ (เส้นรุ้ง ๒๐ องศา ๑๕ ลิบดา<br />\nเหนือ) มีลำน้ำโขงเป็นแนวเส้นเขตแดน แล้ววกเขาหาทิวเขาหลวงพระบาง ลงมาทางใต้<br />\nแล้ววกไปหาแม่น้ำโขงไป</span><br />\n<span lang=\"TH\">จนจดปากน้ำมูล จังหวัดอุบลราชธานี<br />\nช่วงนี้ยาวประมาณ ๑</span>,<span lang=\"TH\">๒๐๐ กิโลเมตร</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">           <span lang=\"TH\">พรมแดนไทยกับกัมพูชา  เริ่มจากปากแม่น้ำมูล<br />\nแนวพรมแดนเป็นสันเขาพนมดงรัก  ซึ่งโค้งมาทางตะวันตก จนถึงจังหวัดบุรีรัมย์<br />\nเป็นระยะทาง ประมาณ ๓๒๐ กิโลเมตร  จากนั้นแนวเส้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">เขตแดนจะเป็นที่ราบจนจดทะเลที่อ่าวไทย</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">           <span lang=\"TH\">พรมแดนไทยกับมาเลเซีย<br />\nเริ่มที่ลำน้ำนราธิวาสทางอ่าวไทยไหลไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เล็กน้อย<br />\nแล้วใช้สันเขาสันกาลาคีรี เป็นแนวเขตแดนไปจนจดมหาสมุทรอินเดีย ที่จังหวัดสตูล</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">           <span lang=\"TH\">นอกจากนี้ไทยยังมีพรมแดนที่เป็นฝั่งทะเล คือ</span> <br />\n<o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">           - </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">ด้านอ่าวไทย จากจังหวัดตราด ถึง นราธิวาส มีความยาวประมาณ ๑</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">,</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">๘๗๐ กิโลเมตร และด้านมหาสมุทรอินเดีย จากจังหวัดระนอง ถึงจังหวัดสตูล<br />\nยาวประมาณ ๗๔๐ กิโลเมตร</span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center; background-color: white\" class=\"MsoNormal\">\n<img src=\"/files/u87607/9.jpg\" height=\"300\" width=\"200\" />\n</p>\n<p style=\"background-color: white\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">                   คำว่าไทย เป็นชื่อรวมของชนเผ่ามองโกล<br />\nซึ่งแบ่งแยกออกเป็นหลายสาขา เช่น ไทยอาหม ในแคว้นอัสสัม ไทยใหญ่ ไทยน้อย ไทยโท้<br />\nในแคว้นตั้งเกี๋ย อุปนิสัยปกติมักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่รักสันติ และความเป็นอิสระ</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                    <span lang=\"TH\">ความเจริญของชนชาติไทยนี้ สันนิษฐานว่า<br />\nมีอายุไร่เรี่ยกันมากับความเจริญของ ชาวอียิปต์บาบิโลเนีย  และอัสสิเรียโบราณ<br />\nไทยเป็นชาติที่มีความเจริญมาก่อนจีน และก่อนชาวยุโรป</span> <span lang=\"TH\">ซึ่งขณะนั้นยังเป็นพวกอนารยชนอยู่<br />\nเป็นระยะเวลา ประมาณ ๕</span>,<span lang=\"TH\">๐๐๐ - ๖</span>,<span lang=\"TH\">๐๐๐<br />\nปีมาแล้ว  ที่ชนชาติไทยได้เคยมีที่ทำกินเป็นหลักฐาน  มีการปกครองเป็นปึกแผ่น<br />\nและมีระเบียบแบบแผนอยู่ ณ ดินแดนซึ่งเป็นประเทศจีนในปัจจุบัน</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">                    <span lang=\"TH\">เมื่อประมาณ ๓</span>,<span lang=\"TH\">๕๐๐ ปี ก่อนพุทธศักราช  ชนชาติไทยได้อพยพข้ามเทือกเขาเทียนชาน<br />\nเดินทางมาจนถึงที่ราบลุ่มอันอุดมสมบูรณ์ ณ บริเวณต้นแม่น้ำฮวงโห และแม่น้ำแยงซีเกียง<br />\nและได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ ณ บริเวณที่แห่งนั้น<br />\nแล้วละเลิกอาชีพเลี้ยงสัตว์แต่เดิม  เปลี่ยนมาเป็นทำการกสิกรรม<br />\nความเจริญก็ยิ่งทวีมากขึ้น  มีการปกครองเป็นปึกแผ่น และได้ขยายที่ทำกินออกไป</span> <span lang=\"TH\">ทางทิศตะวันออกตามลำดับ</span><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<u><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">สรุป</span></u><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 4.8pt 0cm 6pt; text-indent: 30pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">       </span><span style=\"font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมักเริ่มนับตั้งแต่สมัย</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%82%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A2\" title=\"อาณาจักรสุโขทัย\"><span style=\"color: black\" lang=\"TH\">อาณาจักรสุโขทัย</span></a><span lang=\"TH\">เป็นต้นมา<br />\nหากแต่ในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน<br />\nพบหลักฐานของมนุษย์ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดถึงห้าแสนปีตลอดจนหลักฐานของอารยธรรมและรัฐโบราณเป็นจำนวนมาก</span></span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 4.8pt 0cm 6pt; text-indent: 30pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">       <br />\n<span lang=\"TH\">ภูมิภาคสุวรรณภูมิเคยถูกชาวมอญ เขมรและมาเลย์ปกครองมาก่อน ต่อมา<br />\nคนไทยได้สถาปนาอาณาจักรของตนเอง เช่น</span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%82%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A2\" title=\"อาณาจักรสุโขทัย\"><span style=\"color: black\" lang=\"TH\">อาณาจักรสุโขทัย</span></a></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">ไล่เลี่ยกันกับ</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B2\" title=\"อาณาจักรล้านนา\"><span style=\"color: black\" lang=\"TH\">อาณาจักรล้านนา</span></a></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%99\" title=\"อาณาจักรเชียงแสน\"><span style=\"color: black\" lang=\"TH\">อาณาจักรเชียงแสน</span></a></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">และ</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%B2\" title=\"อาณาจักรอยุธยา\"><span style=\"color: black\" lang=\"TH\">อาณาจักรอยุธยา</span></a></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">อาณาจักรสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองในช่วงเวลาค่อนข้างสั้นประมาณ</span><span style=\"font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">200</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">ปี<br />\nก็ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยา</span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<u><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">ข้อสอบ</span></u><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">1.<span lang=\"TH\">พ่อขุนผาเมืองจึงยกเมืองให้พ่อขุนบาง<br />\nกลางหาวพร้อมทั้งมอบนามอะไร</span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">         <span lang=\"TH\">ก.ขุนรามคำแหง</span></span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">         <span lang=\"TH\">ข.ศรีอินทราทราทิตย์</span></span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">         <span lang=\"TH\">ค.พระยาลิไทย</span></span><span style=\"font-size: 15pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">         <span lang=\"TH\">ง.ขุนบางเมือง</span></span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">2.<span lang=\"TH\">สมเด็จพระรามาธิบดีที่</span></span><span style=\"font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">1</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">ครองราชย์อยู่ได้เพียงกี่ปีก็เสด็จ สวรรคต</span><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span></b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">         </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">ก.</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">17</span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">         <span lang=\"TH\">ข.</span>18</span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">         </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">ค.</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">19</span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">         </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">ง.</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">20</span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">3.<span lang=\"TH\">พระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญเกิดขึ้นในสมัยใด</span></span><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span></b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">        </span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\" lang=\"TH\">ก.รัชกาลที่</span><span style=\"font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">6</span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">         <span lang=\"TH\">ข.รัชกาลที่</span></span><span style=\"font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">7</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">         <span lang=\"TH\">ค.รัชกาลที่</span></span><span style=\"font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">8</span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\">         <span lang=\"TH\">ง.รัชกาลที่ 9</span></span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"> <o:p></o:p></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"background-color: white\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"background-color: white\">\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'TH Charm of AU\', sans-serif\"><o:p></o:p></span>\n</p>\n<!--EndFragment--><!--EndFragment-->', created = 1728181404, expire = 1728267804, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:30dcb14365f6a829203bd69fcb397ffd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติศาสตร์ ชาติไทย

            ในประวัติศาสตร์ชาติไทยนั้น
ประชาชนชาวไทยได้เสียสละชีวิต ร่วมมือกันฟันฝ่าอุปสรรค  ช่วยกันพัฒนาสร้างบ้านเมืองมาโดยลำดับ
พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ได้ทรงเสียสละความสุขส่วนพระองค์ทุ่มเทให้แก่แผ่นดิน
ช่วยสร้างความเจริญรุ่งเรือง ความมั่นคงสถาพรให้ชาติไทยได้มีเอกราชสืบต่อมาจนทุกวันนี้
 
 

              พระเจ้าพรหม
มหาราชองค์แรกของไทย

ประเทศไทย
ตั้งอยู่ท่ามกลางคาบสมุทรอินโดจีน มีเนื้อที่ประมาณ
200,148 ตารางไมล์
หรือประมาณ
514,000 ตารางกิโลเมตร

ภูมิประเทศ ภาคเหนือเป็นที่สูง
มีภูเขาสูงสลับซับซ้อนกันหลายพืด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นที่ราบสูง
ภาคกลางเป็นที่ราบกว้างใหญ่ มีแม่น้ำสำคัญหลายสาย
ภาคใต้เป็นภูเขาติดต่อเป็นทิวยาวไปทางทิศใต้ มีที่ราบแถบชายทะเล

 แผนที่ประเทศไทย.

ภูมิอากาศ ประเทศไทยอยู่ในแถบร้อน
มี
3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ดูฝน และฤดูหนาว

ประเทศไทยมีพลเมือง 60 ล้านคน
(สถิติเมื่อวันที่
2 พ.ย. 2539, เวลา 09.48
น. มีเด็ก 10 คน เกิดในเวลานี้ทั่วประเทศ)
พลเมืองส่วนมาก นับถือศาสนาพุทธ

เมืองหลวงของประเทศไทย คือ
กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บน สองฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยา
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงสร้างกรุงเทพ ฯ ขึ้น เมื่อ พ.ศ.
2325 เป็นศูนย์กลางการค้า
การอุตสาหกรรม การศึกษา และการคมนาคม

ข้อมูลประเทศไทย

สำนักงานสถิติแห่งชาติรายงานผลการสำรวจสำมะโนประชากรและเคหะ
พ.ศ.
2543
ซึ่ง เป็นการจัดทำทุกระยะ 10 ปี สรุปว่า ณ
วันที่
1 เม.ย.2543 มีประชากรอาศัยอยู่ในประเทศไทย
60.6 ล้านคน เป็นชาย 29.8 ล้านคน
และหญิง
30.8 ล้านคน เพิ่ม 1.05 % ต่อปี
เมื่อจำแนก ตามหมวดอายุ พบว่าเป็นประชากรวัยเด็กสูงถึง
14 ปี
24.1 % วัยทำงาน 15-59 ปี 65.5
% และวัยสูงอายุ 9.4 % ทั้งนี้
ประชากรที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยเกือบทั้งหมด หรือ
99.5 % เป็น
ผู้มีสัญชาติไทย โดยนับถือศาสนาพุทธ
94.6 % ศาสนาอิสลาม 4.6
% และที่เหลือนับถือศาสนา อื่น เช่นคริสต์

โดยคนไทยมีแนวโน้มแต่งงานช้าลง
และผู้หญิงแต่งงานเร็วกว่าผู้ชาย ซึ่งในการสำรวจ ของปี
2543 พบว่าผู้หญิงแต่งงานครั้งแรกเมื่อมีอายุเฉลี่ยประมาณ
24.1 ปี ผู้ชายประมาณ 27.2 ปี
ในขณะที่ปี
2533 ผู้หญิงแต่งงานครั้งแรกเมื่ออายุ 23.5
ปี และผู้ชายประมาณ 25.9 ปี
นอกจากนี้การมีบุตรของผู้หญิงโดยเฉลี่ยก็ลดลงเช่นกันคือ ผู้หญิงที่เคยสมรสอยายุ
15-49
ปี มีบุตรเกิดรอดโดยเฉลี่ยประมาณ 2.4 คน ในปี 2533
และลดลงเหลือ 1.7 คน ในปี 2543 อีกทั้ง มีหัวหน้าครัวเรือนเป็นหญิงเพิ่มขึ้นในปี 2543 คิดเป็น 25.5 % ของครัวเรือนทั้งสิ้น เปรียบเทียบ
กับ
19.4 % ในปี 2533

      เรื่องความเป็นมาของชนชาติไทย
ในสมัยโบราณนั้น  เท่าที่ทราบกันส่วนมากยังเป็นตำนานเก่าแก่หรือนิยายปรำปรา
เล่าสืบต่อกันมา ไม่ใคร่มีหลักฐานแน่ชัด เช่น
 กล่าวว่าคนไทย เคลื่อนย้ายลงมาจากดินแดนจีนตอนใต้ คือ จากมณฑลฮุนหนำ
กุยจิ๋ว และกวางไส ส่วนที่เป็นมาก่อนหน้านั้นยังไม่กระจ่าง
เนื่องจากไทยเราไม่มีบันทึกเรื่องราวดังกล่าวไว้  ซึ่งอาจจะไม่มีมาแต่เดิม
หรือเคยมีแต่ได้สูญหายไปหมด อย่างไรก็ตามได้มีชาวยุโรปหลายชาติ
ได้ทำการค้นคว้า เรื่องชนชาติไทยโบราณไว้เป็นหลักฐาน
และจากจดหมายเหตุของจีนก็ได้กล่าวถึงเรื่องชน ชาติไทยอยู่มาก
ซึ่งยังไม่ได้นำมาเปิดเผยให้แพร่หลาย
 

        งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทยอาจทำได้  วิธี  วิธีหนึ่ง
ใช้วิธีเดินทางท่องเที่ยวไปในหมู่ชนชาติไทย
  ที่ยังคงมีถิ่นฐานกระจัดกระจายอยู่ในประเทศจีนตอนใต้ ตังเกี๋ย ลาว พม่า
และอินเดีย  ทำการสอบสวนค้นคว้า ทางภาษา บ้านเรือน การแต่งกาย ความเป็นอยู่
อาหารการกิน อาชีพ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปกรรม และอื่น ๆ วิธีนี้ต้องลงทุนลงแรง
และใช้เวลามาก
  วิธีนี้ได้มีชาวยุโรป
และชาวไทยบางท่านได้ทำไว้แล้ว เช่น หมอวิลเลียมคลิฟตัน ดอดด์
ซึ่งเป็นหมอสอนศาสนาชาวอเมริกัน ได้ใช้เวลาถึง ๒๕ ปี
เดินทางท่องเที่ยวไปพำนักอยู่กับคนไทย ในถิ่นประเทศต่าง ๆ  
เพื่อเผยแพร่ศาสนาคริสต์
และใช้โอกาสนั้นศึกษาค้นคว้าเรื่องชนชาติไทยไปด้วย
และได้เขียนเอกสารเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้อย่างยากที่จะผู้ใดเสมอเหมือนได้

          นอกจากนี้
ยังมีชาวอังกฤษและชาวฝรั่งเศส ซึ่งมามีเมืองขึ้นอยู่ในดินแดนที่ชนชาติไทยมีถิ่นฐานกระจายกันอยู่อย่างกว้างขวาง
ได้ค้นคว้าศึกษาเกี่ยวกับชนชาติไทยไว้ไม่น้อย  ประกอบ กับ
 เอกสารวรรณคดีโบราณของจีนก็มีเรื่องของไทยเรา
แทรกอยู่ใช้เป็นเครื่องช่วยอย่างสำคัญ
  สำหรับนักค้นคว้าในรุ่นหลังต่อมา
 สำหรับคนไทยเราเองมีนักวิชาการบางท่านได้ออก สำรวจถิ่นฐาน ของชนชาติไทยในดินแดนเหนือประเทศไทย
 

          ปัจจุบันเข้าไปจนถึงดินแดนจีนทางตอนใต้
และได้ประมวลเรื่องที่ได้พบเห็นไว้ในหนังสือเรื่อง  "กาเลหม่านไต"
   (ท่องเที่ยวไปยังบ้านคนไทย) ซึ่งเป็นข้อมูลค่อนข้างใหม่กว่าข้อมูล ที่ชาวตะวันตกทั้งหลาย
ได้ค้นคว้าเอาไว้ เป็นข้อมูลประมาณหลังสงครามมหาเอเชียบูรพาสิ้นสุดลงใหม่ ๆ
ซึ่งก็สอดคล้องกับที่ชาวตะวันตกหลายชาติที่เขียนเอาไว้ก่อนหน้านั้น 

          จากการค้นคว้าดังกล่าว
ทำให้ได้ความรู้อันแน่ชัดว่า ไทยเราเป็นเชื้อชาติที่สำคัญยิ่งมาแต่โบราณกาล
มีอารยธรรม มีความรู้ทางการปกครอง และมีสิ่งดีหลายอย่างมาพร้อมกับชาติ โบราณ
 ทั้งหลาย บรรดาผู้ทำการค้นคว้าชาวตะวันตกหลายชาติทั้ง อังกฤษ ฝรั่งเศส และ
อเมริกา ต่างยืนยันว่า
 ชนชาติไทยเจริญมารุ่นราวคราวเดียวกันกับชาติโบราณอื่น
ๆ เช่น คาลเดีย
 และบาบิโลน และว่าชนชาติไทยเป็นพี่ชายของชนชาติจีน
เช่น หนังสือที่หมอดอดต์แต่งชื่อ
The Tai Race มีชื่อเพิ่มเติมว่า
Elder brother of the chinese 

           ชาวตะวันตกรู้จักประเทศไทยมาช้านาน
ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีหนังสือตำนานพิมพ์ออกมาแพร่หลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาษาฝรั่งเศส
ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าหลุยที่ ๑๔
  ต่อมาเมื่ออังกฤษ และฝรั่งเศสมาได้เมืองขึ้นในดินแดนเอเชียตะวันออก
อังกฤษก็ได้พบคนไทยใหญ่ และไทยอาหมที่พูด ภาษาไทย
 ฝรั่งเศสพบลาวและชนชาติไทยในภาคเหนือของตังเกี๋ย ซึ่งพูดภาษาไทย
และมีรูปร่างลักษณะเป็นคนไทย นอกจากนั้นเข้าไปในมณฑลยูนนาน และกวางสีของจีน
ก็ได้พบคนที่พูดภาษาไทยอีกเป็นจำนวนมาก

            บรรดานักค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย ได้พยายามอธิบายเรื่องชนชาติไทยไว้เป็นอันมาก
พอประมวลได้ดังนึ้

              พันโทมอริส อาบาดี ชาวฝรั่งเศส
อธิบายว่า กลุ่มเชื้อชาติของกลุ่มคนที่เรียกชื่อว่าไทย
เป็นกลุ่มสำคัญที่สุดในบรรดาหมู่ชนทั้งหลายที่ได้พบในประเทศจีนตอนใต้ และในอินโดจีน
 ทั้งหมดเป็นกลุ่มทึ่รวมหมู่มากมายหลายประเภท
แต่มีลักษณะสำคัญที่เหมือนกันในทางภาษา ขนบประเพณี และจารีต
 

              นายดอชเรน ชาวอังกฤษ
ซึ่งเป็นสมาชิกราชบัณฑิตสภาอังกฤษ เกี่ยวกับทวีปอาเซีย ให้คำอธิบายว่าเชื้อชาติไทย
แบ่งแยกเรียกชื่อตามหมู่เหล่าหลายชื่อ แต่เป็นเชื้อชาติเดียวกัน ได้ยืด
 ครองพื้นที่กว้างใหญ่ไพศาลว่าคนเชื้อชาติอื่นๆ ในแหลมอินโดจีน
ในอัสสัมซึ่งเรียกว่าอาหม ตลอดแนวเขตแดนระหว่างพม่ากับจีน แบ่งแยกเป็นหลายพวก และบางพวกก็เป็นอิสระอย่างครึ่ง
 เรียกชื่อตามที่พม่าเรียกว่าฉาน
ชนเชื้อชาติเดียวกันนี้ได้แผ่ออกไปทางใต้ใช้ชื่อว่า ลาว ยึดครองพื้นที่ระหว่าง
แม่น้ำสาละวินกับ แม่น้ำโขงใต้ลงไปอีก ที่รู้จักกันมากที่สุด
และเป็นสาขาเชื้อชาติที่  มีอารยธรรมสูงที่สุด
คือไทยสยาม ซึ่งได้ตั้งอาณาจักรที่มีอำนาจอยู่ทางฝั่งทะเล

              นายเอเตียน เอโมนิเอร์
ชาวฝรั่งเศส  เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองขึ้นของฝรั่งเศส
ได้เขียนไว้ในหนังสือเรื่องประเทศกัมพูชา พิมพ์ออกเผยแพร่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๓
  มีความว่า ครอบครัวเชื้อชาติใหญ่ ซึ่งเรียกว่าไทย ที่แปลกันว่าเสรีชน
ประกอบด้วยหมู่ชนมากมายหลายสาขา มีความสัมพันธ์อย่างเครือญาติใกล้ชิด
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทางภาษา หมู่ใหญ่ของชนชาติ ดังกล่าวนี้มี ฉาน ลาว หรือ
ลาวเฉียง ผู้ไท และชาวสยาม เมื่อก่อนคริสตศักราช
ชนเชื้อชาตินี้ได้มีถิ่นฐานอยู่ในที่ราบสูงยูนนาน หรือธิเบตตะวันออก
  ต่อมาได้เคลื่อนย้ายลงมาตามทางลาดเอียงของลำน้ำ เข้ายึดครองลุ่มน้ำหลายแห่งในประเทศจีนตอนใต้
และได้แผ่ลงมาทางใต้เหมือนน้ำไหลอย่างแรง
ครอบคลุมที่ราบในแหลมอินโดจีนเกือบทั้งหมด และได้ขับไล่พวกชาวป่าชาวดอยเจ้า
ของถิ่นเดิมให้เข้าไปอยู่ในป่าดง และภูเขาแล้ว
ชนชาติไทยก็เข้าครอบครองดินแดนโดยเหลือแต่ที่ที่ยื่นออกตามชายฝั่งทะเล
  ไว้ให้แก่ชนชาติอื่นที่เจริญแล้วคือ ญวน จามปา เขมร มลายู มอญ และพม่า

               ศาสตราจารย์ แตริอัง เดอลาคุเปอรี
ชาวอังกฤษ ได้ตรวจสอบภาษาพูดที่ทางจีนสมัยโบราณรวบรวมไว้
  พบว่าคำพูดของหมู่ชนที่จีนเรียกว่าคนป่าในสมัยโบราณนั้น แยกออกได้เป็น สองสาขา
คือ  บางคำตรงกับภาษาไทย
  บางคำตรงกับภาษามอญและญวน เมื่อลองตรวจนับดูก็พบว่าในบรรดาคำ
๑๙ คำ จะเป็นภาษาไทย ๑๒ คำ เป็นภาษามอญและญวน  และมีอยู่มากคำที่
ไม่รู้ว่าเป็นอะไร ด้วยเหตุนี้ ศาสตราจารย์ คุเปอรีจึงถือว่า หมู่ชนที่ชาวจีนเรียกว่าคนป่านั้นต้องเป็นพันธุ์ๆ
หนึ่ง ซึ่งเขาเขาชื่อว่าพันธุ์ "มอญไทย"
โดยที่พันธุ์มอญได้เคลื่อนลงมาทางใต้ก่อนพันธุ์ ไทย และมากลายเป็น มอญ เขมร ญวน
ในปัจจุบัน 

               สำหรับเจ้าตำราทางฝรั่งเศส
ได้อธิบายไว้ว่ามอญกับเขมรเป็นสาขาเดียวกัน เรียกว่ามอญขะแมร์
ถือเป็นมอญแท้พวกหนึ่ง และเป็นขะแมร์อีกพวกหนึ่ง ชนชาติอื่นๆที่นับเข้าเป็นสาขามอญ
ขะแมร์  ได้แก่ ปะหล่อง ว้า ยาง นายดอชเรนได้เขียนไว้ว่าพันธุ์มอญ เป็นเชื้อชาติแรกที่อพยพจากแดนจีนลงมาทางใต้

               พันตรี เดวิด ชาวอังกฤษ
ได้เขียนเรื่องไทยในยูนนานไว้ว่า คนจีนในยูนนานกล่าวว่า
ชาวกวางตุ้งนั้นเป็นเชื้อชาติฉาน (ไทยใหญ่)
  ดวงหน้าของชาวจีนทางใต้กับพวกฉานเหมือนกันมาก
อาจเป็นไปได้ว่าในสมัยหนึ่งพวกฉาน
ได้ครองครองพื้นที่ส่วนใหญ่ในประเทศจีนทางด้านทิศใต้ ของแม่น้ำยังจื้อ
แต่ส่วนมากถูกจีนกลืนไป
 

                เซอร์ ยอร์ช สก๊อต ชาวอังกฤษ  ผู้เขียนประวัติศาสตร์พม่า ได้เขียนความตอนหนึ่งว่า
เชื้อชาติไทยเป็นเชื้อชาติแผ่ไพศาลที่สุดในแหลมอินโดจีน
  ชาวอาหมในแคว้นอัสสัมเป็นฉาน ชาวฮักก้าในกวางตุ้งเป็นพวกที่ไปจากฉาน
อาจจะเป็นไปได้ว่า เชื้อชาติไทยประกอบเป็นส่วนใหญ่ในสี่มณฑลของจีน

                หมอวิลเลียมคลิฟตัน ดอดต์
ได้อ้างคำของนายเจไมซัน กงสุลให้อังกฤษประจำเมืองแดนตอน (กวางตุ้ง) เมื่อ ประมาณปี
พ.ศ. ๒๔๕๐ ว่าพลเมืองในมณฑลกวางสี และกวางตุ้งทั้งหมด
เป็นชนเชื้อชาติไทยทั้งในทางเชื้อชาติและทางภาษา
 

                เรเวอเรนต์ เบอร์กวอล นักบวชชาวอังกฤษ กล่าวว่าชาวไทยในมณฑลกวางสี
ตามอำเภอชนบทมากหลาย ปกครองโดยหัวหน้าของเขาเอง ที่สืบเชื้อสายต่อกันมา
ไม่พูดภาษาจีน และถือ พวกถือหมู่ ถึงขั้นไม่ยินดีรับอารยธรรมจีน

                หมอวิลเลียมคลิฟตัน ดอดด์
ผู้แต่งหนังสือเรื่องเชื้อชาติไทย เขียนไว้ว่ามีข้อที่จะอ้างอิงได้เป็นอันมากว่า
ในปัจจุบันนี้ชาวจีนซึ่งถือว่าหมู่ที่อยู่รอบข้างตน เป็นคนป่า ชั้นต่ำกว่าตนนั้น
มีเลือดไทยอยู่ในสายเลือดของตนเป็นอันมาก และยังมีเลือดของพวกโลโล้ ยูง ยาง
กะเหรี่ยง เต็ก แม้ว เย้า ไปจนถึงพวกมอญ - ขะแมร์ด้วย  พวกเหล่านี้เป็นชาวใต้
เป็นตัวแทนของชาติโบราณที่ เคลื่อนที่มาเรื่อย ๆ จากทางเหนือ
เมื่อประมวลความเห็นเหล่านี้เข้าด้วยกัน
จะเห็นได้ว่าธาตุสำคัญอันหนึ่งที่ทำให้เกิดชาติจีนในปัจจุบันคือ ชนชาติใหญ่
ชื่อว่า อ้ายลาว ต่อมาภายหลังเรียกว่าไทย พม่าเรียกว่า ฉาน
ซึ่งอยู่ในประเทศจีนมาก่อน เก่ากว่าชาวจีน
 

                แม่น้ำฮวงโห และ แม่น้ำแยงซีเกียง  ได้แบ่งประเทศจีนออกเป็น
๓ ตอน ตอนเหนือคือ  พื้นที่ทางด้านเหนือแม่น้ำฮวงโหขึ้นไป
ตอนกลางคือพื้นที่ระหว่างแม่น้ำทั้งสองนึ้ และตอนใต้คือ พื้นที่ทางด้านทิศใต้ของแม่น้ำแยงซีเกียงลงมา
 

                ทางเดินของชนชาติจีนตามประวัติศาสตร์นั้น
จีนลงมาจากทางเหนือ และเพิ่งมาตั้งอาณาจักรแท้จริงเท่าที่เราทราบ
เมื่อมาถึงแม่น้ำฮวงโห และอยู่ในพื้นที่ตอนบนเหนือมแม่น้ำสายนี้ ในระยะเวลานั้นยังไม่พบกับไทย
ในระยะต่อมาก็เคลื่อนที่ข้ามแม่น้ำฮวงโหเข้ามาสู่พื้นที่ตอนกลางและได้พบกับไทยในพื้นที่ตรงนี้
  จากนั้นจีนก็ได้เปลี่ยนแนวทางเคลื่อนย้าย คือแทนที่จะ
เคลื่อนที่เรื่อย ๆ ลงมาทางใต้ตามทิศทางที่เคยเคลื่อนที่มาก่อน
ก็กลับวกไปทางด้านทิศตะวันออก จีนใช้เวลาถึงหนึ่งพันปีในการเคลื่อนที่สู่ทิศตะวันออกเรื่อยไปจนกระทั่งถึงทะเลเหลือง
ปรากฎการณ์ดังกล่าวนี้เป็นข้อสนับสนุนว่า อาณาจักรไทยที่จีนมาพบนั้น
ต้องเป็นอาณาจักรที่มั่นคงแข็งแรง
สามารถเป็นทำนบกั้นการเคลื่อนที่ของจีนลงทางใต้ได้ยาวนานถึงหนึ่งพันปี
ภายหลังเมื่อจีนขยายตัวไปถึงทะเลเหลืองแล้ว
   จึงได้กลับมากดดันลงทางใต้
และกว่าจะแผ่ขยายไปถึงฝั่งทะเลทางตอนใต้ก็ต้องใช้เวลาอีกประมาณหนึ่งพันปีเช่นกัน
ประวัติศาสตร์จีนที่ ขงจื้อเขียน
ไม่มีข้อความตอนใดกล่าวถึงดินแดนทางตอนใต้ของแม่น้ำแยงซีเกียงลงไป
แสดงว่าในสมัยนั้น จีนยังไม่รู้จักดินแดนตอนใต้
 

มีอาณาจักรอยู่หลายอาณาจักรที่จีนเรียกว่าคนป่า
แต่เป็นอาณาจักรที่ปกครองตนเอง โดยมีความสัมพันธ์กับจีน
มีอาณาจักรอีกสองอาณาจักรที่น่าสนใจ นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้ว คือ

                         อาณาจักรปัง  อยู่ทางทิศเหนือของมณฑลเสฉวนและ ฮูเป คือ
อยู่ในพื้นที่ตอนกลางระหว่างแม่น้ำ ฮวงโห กับแม่น้ำ แยงซีเกียง
ในตำนานของจีนกล่าวว่า อาณาจักรนี้ได้ถูกรวมเข้า กับจีน เมื่อ ๗๖๗ ก่อนพุทธศักราช
และตำนานจีนยังกล่าวไว้ว่า อาณาจักรนี้ได้ตั้งเป็นอิสระมาก่อนแล้ว ๗๖๗ ปี
แสดงว่าอาณาจักรนี้ตั้งมาตั้งแต่ ๑๔๕๔ ปี ก่อนพุทธศักราช  ขงจื้อเมื่อเขียน
ถึงชนชาตินี้ จะใช้คำว่า "ปังโบราณ"
อาณาจักรปังเป็นอาณาจักรใหญ่มีหมู่บ้านถึง แปดหมื่นหมู่บ้าน
เมื่อรวมกับจีนแล้วก็ยังคงใช้ประมุขคนพื้นเมืองปกครองกันเอง ต่อมาภายหลังได้รับการ
ยกย่องให้อยู่ในฐานะกษัตริย์ จีนเรียกเมืองแสนหวีที่อยู่ในรัฐไทยใหญ่ปัจจุบันว่ามูปัง
คำว่าปังอาจจะออกเสียงเป็นปอง ปง หรือพงได้นั้น ยังเหลือซากอยู่ในหมู่ชนชาติไทย
ชื่อเมืองของชนชาติ
 ไทยบางแห่งยังมีชื่อว่า เมืองพง
ชาวไทยใหญ่บางพวกยังเรียกตัวเองว่าไทยปอง หรือไทยพง

                      อาณาจักรจู  ทางไทยอาจจะเรียกว่า " ฌ้อ"
เป็นอีกรัฐหนึ่งที่รวมเข้ากับจีน
  ภายหลังจากที่ได้ต่อสู้กันอยู่ช้านาน
นับว่าเป็นรัฐใหญ่ที่สุดในบรรดารัฐคนป่าทั้งหลาย  เขตแดนทางเหนือ
จดครึ่งของพื้นที่ตอนกลาง ระหว่างแม่น้ำฮวงโหกับแม่น้ำแยงซีเกียง
ทางด้านทิศตะวันออกได้ทอดยาวไปตามลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียง จากหลักฐานของจีน ชาวชุงเชียสืบสายมาจากชาวจู
และหมอวิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ ได้พบชาวชุงเชีย และพูดกันรู้เรื่องด้วยภาษาไทย

                     ศาสตราจารย์ ลาคุเปอรี ได้พบจดหมายเหตุจีนกล่าวถึงชนชาติไทยเป็นครั้งแรก
ในรัชสมัย พระเจ้ายู้ของจีน เมื่อ ๑๖๕๔ ปี ก่อนพุทธศักราช
ชนชาติไทยได้ถูกระบุไว้ในรายงานการ สำรวจภูมิประเทศของจีนในครั้งนั้น
แต่จดหมายเหตุจีนเรียกชนชาติไทยว่า"มุง" และบางแห่งเรียก
"ต้ามุง" คือมุงใหญ่ ถิ่นที่อยู่ของชนชาติไทยดังกล่าวนี้
อยู่ในเขตมณฑลเสฉวนของจีนใน ปัจจุบัน ซึ่งอยู่ในพื้นที่จีนกลางค่อนไปทางตะวันตก

                    มีจดหมายเหตุของจีน กล่าวถึงชนชาติไทย ได้เรียกชื่อไทยเป็นสองพวก คือ
"ลุง" กับ "ปา" อาจจะเป็นได้ว่าทิวเขากุยลุง
ได้ชื่อมาจากไทยพวกที่จีนเรียกว่าลุง คำว่ากุย เป็นคำไทย
 แปลว่าเขา นอกจากนั้น ยังมีชนชาติไทยอีกพวกหนึ่ง อยู่ในพื้นที่ระหว่างมณฑล
โฮนาน ฮูเป และอันฮุย แล้วได้ขยายตัว
ออกไปถึงทิวเขากุยลุงทางด้านทิศตะวันตก
เราก็จะได้พบชนชาติไทย ที่เรียกชื่อว่า มุง ลุง ปา ปัง และลาว
บนฝั่งซ้ายของแม่น้ำแยงซีเกียง ครอบครองดินแดนตั้งแต่มณฑลเสฉวนภาคตะวันตก
ต่อเนื่องทางด้านตะวันออก จนเกือบถึงทะเล และย้อนขึ้นไปทางเขต มณฑลเกียงสู
ทิวภูเขาลาวในแถบนี้ ก็อาจจะได้ชื่อมาจากพวกไทย ที่เรียกตัวเองว่าลาวนี้เอง

                ประเทศไทยตั้งอยู่ในแหลมอินโดจีน การที่เรียกว่าแหลมอินโดจีน 
เพราะถือว่าอยู่ระหว่างประเทศอินเดีย กับประเทศจีน
ซึ่งเป็นการถือเอาประเทศใหญ่เป็นจุดอ้าง
 แต่ถ้าถือเอาสภาพทางภูมิศาสตร์
เป็นจุดอ้างก็น่าจะเรียกว่า อินโด - แปซิฟิค
 เพราะเป็น
แหลมที่แบ่งน่านน้ำออกเป็นมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิค
 มีพิกัดทางภูมิศาสตร์ ดังนี้
 
ทิศเหนือ   
จดเส้นรุ้ง ๒๐ องศา ๒๕ ลิบดา ๓๐
พิลิบดา เหนือ ที่กิ่งอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
 
ทิศใต้ 
จดเส้นรุ้ง
๕ องศา ๓๗ ลิบดา ที่กิ่งอำเภอเบตง จังหวัดยะลา
 
ทิศตะวันออก 
จดเส้นแวง ๑๐๕ องศา ๓๗ ลิบดา ๓๐ พิลิบดา ที่อำเภอพิบูลมังสาหาร
จังหวัดอุบลราชธานี
 
ทิศตะวันตก 
จดเส้นแวง ๙๗ องศา ๒๒ ลิบดา ตะวันออก
ที่อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน

สภาพธรรมชาติในเขตร้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแถบตะวันออก -
ใต้ของทวีปเอเซีย มีอุณหภูมิสูง มีทะเลลมและฝน เป็นปัจจัยให้เกิดป่าดง
ประกอบไปด้วยพันธุ์ไม้เขตร้อน และสัตว์ป่านานาชนิด
ที่มีปริมาณมากกว่าอีกหลายส่วนของโลก นับว่าเป็นย่านอันอุดมสมบูรณ์ด้วยอาหาร
และทรัพยากรที่สำคัญแห่งหนึ่งของทวีปเอเซีย

การที่เส้นแวง ๑๐๑ องศา ตะวันออก
ซึ่งเป็นเส้นผ่านกลางพื้นที่ประเทศไทย
   การคิดเวลาของประเทศไทย
จึงควรใช้เส้น
  แวงเส้นนี้เป็นตัวกำหนด 
แต่เนื่องจากว่าเพื่อให้สะดวกในกิจการรถไฟ
ซึ่งเชื่อมต่อไปยังแหลมมลายู ได้มีเวลาตรงกันทั้งไทย และมลายู (มาเลเซีย)
ไทยจึงตกลงใช้เส้นแวง ๑๐๕ องศาตะวันออก
ซึ่งเป็นเส้นศูนย์เที่ยงทางภูมิศาสตร์ของมลายู
และเป็นเส้นศูนย์เที่ยงของอินโดจีนด้วย เป็นเส้นศูนย์เที่ยงของไทยด้วย
 
จึงทำให้เวลาที่แท้จริงของไทยเร็วไป ๑๘ นาทีของที่ควรจะเป็น 
ภูมิรัฐศาสตร์ 
ประเทศไทยตั้งอยู่ใจกลางของผืนแผ่นดินในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 
ซึ่งมีพรมแดนธรรมชาติที่เหมาะสมในแง่ภูมิศาสตร์
โดยมีเทือกเขาขนาดใหญ่ และทุรกันดารทอดตัวเป็นแนวยาวจากเหนือมาใต้ ดังนี้
 
ด้านทิศตะวันตก 
มีเทือกเขาอารกันโยมา อันเป็นสาขาของเทือกเขาหิมาลัย  ทำให้เกิดป่าดงดิบทึบ เป็นการแยกประเทศพม่าออกจากประเทศอินเดียโดยสิ้นเชิง 
ไม่มีปัญหาเรื่องการมีสายน้ำร่วมกัน  ในสงครามมหาเอเซียบูรพา 
กองทัพญี่ปุ่นได้รุกไปทางตะวันตกผ่านไทย ผ่านพม่า
มุ่งสู่อินเดียก็มาสิ้นสุดที่แนวเทือกเขาแห่งนี้เท่านั้น
 
ด้านทิศเหนือ 
เป็นเทือกเขาขนาดใหญ่บนที่ราบสูง ยูนนานของประเทศจีนตอนใต้
เป็นสาขาปลายตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัย ที่ผ่านไปสู่ประเทศจีน
  เป็นย่านทุรกันดารเป็นป่าเขายากแก่การคมนาคมทางบก 
ด้านทิศตะวันออก 
เป็นทะเลจีนใต้อันเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิค  อันเป็นพรมแดนทางธรรมชาติอย่างแท้จริงในทางภูมิรัฐศาสตร์ 
ด้านทิศใต้ 
เป็นทะเลในด้านอ่าวไทย และมหาสมุทรอินเดีย  จึงมีสภาพพรมแดนทางธรรมชาติ เช่นเดียวกับด้านทิศตะวันออก 

            ด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์ ดังกล่าวมาแล้วทำให้ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
ในส่วนที่เป็นผืนแผ่นดินใหญ่ อันประกอบด้วย พม่า ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา
และมาเลเซีย
  มีปราการทางธรรมชาติ
ที่เกื้อกูลต่อความปลอดภัยร่วมกันได้เป็นอย่างดี

ขนาดของประเทศไทย

            จากหลักฐานของกรมแผนที่ทหาร  ประเทศไทยมีพื้นที่ ประมาณ ๕๑๑,๙๓๗ ตารางกิโลเมตร ตัวเลขนี้เป็นตัวเลขที่เป็นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๘๓
จนถึงปัจจุบัน

            ในระหว่างกรณีพิพาทอินโดจีน
ประเทศไทยได้พื้นที่เดิมที่เสียให้แก่ฝรั่งเศส
ในพื้นที่สี่จังหวัดทางภาคตะวันออกของไทย คือ จังหวัดพระตะบอง (เขมร)
เสียมราฐ (เขมร)  นครจำปาศักดิ์
(ลาว) ล้านช้าง
(ลาว)  เป็นพื้นที่ประมาณ ๖๙,๐๒๙
ตารางกิโลเมตร และในสงครามมหาเอเซียบูรพา
ประเทศไทยได้รับดินแดนคืนจากที่เสียให้แก่อังกฤษ คือ สหรัฐไทยเดิม
เป็นพื้นที่ประมาณ ๓๙
,๘๕๕ ตารางกิโลเมตร และ ๔ รัฐมาลัย คือ
รัฐกลันตัน ตรังกานู ไทรบุรี (เคดาร์) และปะลิส เป็นพื้นที่ประมาณ ๓๓
,๒๔๕ ตารางกิโลเมตร

             เมื่อสงครามมหาเอเซียบูรพายุติลง ไทยจำต้องคืนดินแดนที่ได้กลับคืนมา
คืนกลับไปให้ฝรั่งเศส และอังกฤษไป

             เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศ ที่มีขนาดใหญ่กว่าประเทศไทยแล้ว จะได้ดังนี้

                                    -
เล็กกว่า ประเทศพม่าอยู่  ๖๑,๔๖๑   ตารางไมล์

                                    -
เล็กกว่า ประเทศอินเดีย  ๗    เท่า

                                    -
เล็กกว่า ประเทศจีน  ๑๐   เท่า

                                    -
เล็กกว่า ประเทศตุรกี  ๑/๓  เท่า

                                    -
เล็กกว่า ประเทศฝรั่งเศสเล็กน้อย

                                    -
เล็กกว่า ประเทศสหรัฐอเมริกา  ๑๓   เท่า

 รูปร่างของประเทศไทย

               ประเทศไทยมีความยาวที่สุด จากเหนือ จดใต้ ประมาณ ๑,๘๓๓
กิโลเมตร  มีความกว้างที่สุดจากตะวันออก
ไปตะวันตกตามแนวเส้นรุ้งที่ผ่านจังหวัดอุบล ฯ - อำเภอพิมาย จังหวัด

นครราชสีมาไปทางตะวันตก ประมาณ
๘๕๐ กิโลเมตร  ส่วนที่แคบที่สุดอยู่ที่ตำบลห้วยยาง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
มีความกว้าง ประมาณ ๑๒ กิโลเมตร และตอนแคบที่สุดของแหลม

มลายูอยู่ที่ตรงคอคอดกระ
กว้างประมาณ ๖๔ กิโลเมตร

            รูปร่างของประเทศไทยที่กล่าวกันไว้มีอยู่สามภาพด้วยกันคือ
เป็นรูปกระบวยตักน้ำ เป็นรูปขวานโบราณ และเป็นรูปหัวช้างมีงวงทอดลงไปในทะเลใต้
สรุปแล้วประเทศไทยมีส่วนยาว

      เป็นสองเท่าของส่วนกว้าง
และครึ่งหนึ่งของส่วนยาวเป็นส่วนแคบ ๆ ทอดยาวลงไปทางใต้
เราอาจแบ่งรูปร่างของประเทศไทยออกอย่างกว้าง ๆ เป็นสองส่วนคือ

ส่วนบน  มีรูปร่างค่อนข้างจะเป็นรูปสี่เหลี่ยม ที่มีความเว้าแหว่งอยู่มาก
ห้องภูมิประเทศที่เกิดจากแนวเทือกเขา ที่ทอดตัวจากเหนือไปใต้
ทำให้เกิดส่วนแคบขึ้นสองแนวคือ แนว

       จังหวัดตาก - อุตรดิตถ์
และแนวอำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว - อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย

                ส่วนล่าง  มีรูปร่างแคบและยาวมาก
มีทะเลขนาบอยู่สองด้าน

พรมแดนไทย

            พรมแดนของไทยที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน  กำหนดขึ้นด้วยสัญญาระหว่างประเทศ
กับประเทศอังกฤษ และประเทศฝรั่งเศส
ในสมัยที่ประเทศทั้งสองมีอาณานิคมอยู่ติดกับประเทศไทย

ในทุกด้าน ดังนี้

                    -
สนธิสัญญา ปี พ.ศ. ๒๔๓๕ - ๓๖ ระหว่างไทยกับอังกฤษ
กำหนดพรมแดนไทยกับพม่า

                    -
สนธิสัญญา เมื่อ ๓ ตุลาคม ๒๔๗๓ (ร.ศ.๑๑๖) ระหว่างไทยกับฝรั่งเศส

                    -
สนธิสัญญา เมื่อ ๗ ตุลาคม ๒๔๔๕ ระหว่างไทยกับฝรั่งเศส

                    -
สนธิสัญญา เมื่อ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๔๗ ระหว่างไทยกับฝรั่งเศส

                    -
สนธิสัญญา เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๕๕ ระหว่างไทยกับอังกฤษ

            พรมแดนไทยกับพม่า  เริ่มต้นจากจังหวัดระนอง ที่ลำน้ำกระ (เส้นรุ้ง ๑๐
ลิบดา เหนือ) เป็นแนวเส้นเขตแดนต่อไปทางเหนือ ตามแนวสันเขาตะนาวศรี
สันเขาถนนธงชัย  สันเขาแดนลาว  

ไปจดแม่น้ำโขง ที่จุดเส้นรุ้ง ๒๕ องศา ๕
ลิบดา เหนือ  ที่กิ่งอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
แนวพรมแดนด้านนี้ยาว ประมาณ ๑
,๔๕๐ กิโลเมตร
ไม่สู้คดโค้งมากนัก ส่วนใหญ่เป็นทิวเขาสูงใหญ่

            พรมแดนไทยกับลาว  เริ่มจากบ้านใหม่ (เส้นรุ้ง ๒๐ องศา ๑๕ ลิบดา
เหนือ) มีลำน้ำโขงเป็นแนวเส้นเขตแดน แล้ววกเขาหาทิวเขาหลวงพระบาง ลงมาทางใต้
แล้ววกไปหาแม่น้ำโขงไป

จนจดปากน้ำมูล จังหวัดอุบลราชธานี
ช่วงนี้ยาวประมาณ ๑
,๒๐๐ กิโลเมตร

           พรมแดนไทยกับกัมพูชา  เริ่มจากปากแม่น้ำมูล
แนวพรมแดนเป็นสันเขาพนมดงรัก  ซึ่งโค้งมาทางตะวันตก จนถึงจังหวัดบุรีรัมย์
เป็นระยะทาง ประมาณ ๓๒๐ กิโลเมตร  จากนั้นแนวเส้น

เขตแดนจะเป็นที่ราบจนจดทะเลที่อ่าวไทย

           พรมแดนไทยกับมาเลเซีย
เริ่มที่ลำน้ำนราธิวาสทางอ่าวไทยไหลไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เล็กน้อย
แล้วใช้สันเขาสันกาลาคีรี เป็นแนวเขตแดนไปจนจดมหาสมุทรอินเดีย ที่จังหวัดสตูล

           นอกจากนี้ไทยยังมีพรมแดนที่เป็นฝั่งทะเล คือ 

           - ด้านอ่าวไทย จากจังหวัดตราด ถึง นราธิวาส มีความยาวประมาณ ๑,๘๗๐ กิโลเมตร และด้านมหาสมุทรอินเดีย จากจังหวัดระนอง ถึงจังหวัดสตูล
ยาวประมาณ ๗๔๐ กิโลเมตร

                   คำว่าไทย เป็นชื่อรวมของชนเผ่ามองโกล
ซึ่งแบ่งแยกออกเป็นหลายสาขา เช่น ไทยอาหม ในแคว้นอัสสัม ไทยใหญ่ ไทยน้อย ไทยโท้
ในแคว้นตั้งเกี๋ย อุปนิสัยปกติมักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่รักสันติ และความเป็นอิสระ

                    ความเจริญของชนชาติไทยนี้ สันนิษฐานว่า
มีอายุไร่เรี่ยกันมากับความเจริญของ ชาวอียิปต์บาบิโลเนีย  และอัสสิเรียโบราณ
ไทยเป็นชาติที่มีความเจริญมาก่อนจีน และก่อนชาวยุโรป
 ซึ่งขณะนั้นยังเป็นพวกอนารยชนอยู่
เป็นระยะเวลา ประมาณ ๕
,๐๐๐ - ๖,๐๐๐
ปีมาแล้ว  ที่ชนชาติไทยได้เคยมีที่ทำกินเป็นหลักฐาน  มีการปกครองเป็นปึกแผ่น
และมีระเบียบแบบแผนอยู่ ณ ดินแดนซึ่งเป็นประเทศจีนในปัจจุบัน

                    เมื่อประมาณ ๓,๕๐๐ ปี ก่อนพุทธศักราช  ชนชาติไทยได้อพยพข้ามเทือกเขาเทียนชาน
เดินทางมาจนถึงที่ราบลุ่มอันอุดมสมบูรณ์ ณ บริเวณต้นแม่น้ำฮวงโห และแม่น้ำแยงซีเกียง
และได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ ณ บริเวณที่แห่งนั้น
แล้วละเลิกอาชีพเลี้ยงสัตว์แต่เดิม  เปลี่ยนมาเป็นทำการกสิกรรม
ความเจริญก็ยิ่งทวีมากขึ้น  มีการปกครองเป็นปึกแผ่น และได้ขยายที่ทำกินออกไป
 ทางทิศตะวันออกตามลำดับ

 

สรุป

        การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมักเริ่มนับตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยเป็นต้นมา
หากแต่ในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน
พบหลักฐานของมนุษย์ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดถึงห้าแสนปีตลอดจนหลักฐานของอารยธรรมและรัฐโบราณเป็นจำนวนมาก

       
ภูมิภาคสุวรรณภูมิเคยถูกชาวมอญ เขมรและมาเลย์ปกครองมาก่อน ต่อมา
คนไทยได้สถาปนาอาณาจักรของตนเอง เช่น
 อาณาจักรสุโขทัย ไล่เลี่ยกันกับอาณาจักรล้านนา อาณาจักรเชียงแสน และอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองในช่วงเวลาค่อนข้างสั้นประมาณ 200 ปี
ก็ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยา

ข้อสอบ

1.พ่อขุนผาเมืองจึงยกเมืองให้พ่อขุนบาง
กลางหาวพร้อมทั้งมอบนามอะไร
 

         ก.ขุนรามคำแหง

         ข.ศรีอินทราทราทิตย์

         ค.พระยาลิไทย 

         ง.ขุนบางเมือง

2.สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ครองราชย์อยู่ได้เพียงกี่ปีก็เสด็จ สวรรคต 

         ก.17

         ข.18

         ค.19

         ง.20

3.พระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญเกิดขึ้นในสมัยใด 

        ก.รัชกาลที่ 6

         ข.รัชกาลที่ 7 

         ค.รัชกาลที่ 8

         ง.รัชกาลที่ 9

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 388 คน กำลังออนไลน์