• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:fedba6d02d91f4df5dadd87fe53e309e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%\" lang=\"TH\">กว่าจะมาเป็น </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%\">e-Book</span></b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%\"><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">            <span lang=\"TH\">หนังสือที่มีอยู่โดยทั่วไป จะมีลักษณะเป็นเอกสารที่จัดพิมพ์ด้วยกระดาษ แต่ด้วยความเปลี่ยนแปลงของ</span>  <span lang=\"TH\">ยุค<br />\nสมัย และความเปลี่ยนแปลงด้านเล็กทรอนิกส์<br />\nที่มีการพัฒนาต่อเนื่องอย่างไม่หยุดยั้ง<br />\nทำให้มีการคิดค้นวิธีการใหม่โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย<br />\nจึงได้นำหนังสือดังกล่าวเหล่านั้นมาทำคัดลอก (</span>scan)<span lang=\"TH\"><br />\nโดยที่หนังสือก็ยังคงสภาพเดิมแต่จะได้ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นแฟ้มภาพ<br />\nขึ้นมาใหม่<br />\nวิธีการต่อจากนั้นก็คือจะนำแฟ้มภาพตัวหนังสือมาผ่านกระบวนการแปลงภาพเป็นตัว<br />\nหนังสือ (</span>text) <span lang=\"TH\">ด้วยการทำ </span>OCR (Optical Character Recognition)</span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"> คือการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแปลงภาพตัวหนังสือให้เป็นตัวหนังสือที่สามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้<br />\n    <br />\nการถ่ายทอดข้อมูลในระยะต่อมา จะถ่ายทอดผ่านทางแป้นพิมพ์<br />\nและประมวลผลออกมาเป็นตัวหนังสือและข้อความด้วยคอมพิวเตอร์<br />\nดังนั้นหน้ากระดาษก็เปลี่ยนรูปแบบไปเป็นแฟ้มข้อมูล (</span>files) <span lang=\"TH\">แทน ทั้งยังมีความสะดวกต่อการเผยแพร่และจัดพิมพ์เป็นเอกสาร (</span>documents<span lang=\"TH\"> </span>printing)<span lang=\"TH\"> รูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยุคแรกๆ มีลักษณะเป็นเอกสารประเภท .</span>doc,<span lang=\"TH\"> .</span>txt, .rtf, <span lang=\"TH\">และ .</span>pdf <span lang=\"TH\">ไฟล์ ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาภาษา </span>HTML (Hypertext Markup<span lang=\"TH\"> </span>Language) <span lang=\"TH\">ข้อมูลต่างๆ ก็จะถูกออกแบบและตกแต่งในรูปของเว็บไซต์ โดยในแต่ละหน้าของเว็บไซต์เราเรียกว่า &quot;</span>web page&quot;<span lang=\"TH\"> โดยสามารถเปิดดูเอกสารเหล่านั้นได้ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ (</span>web browser)<span lang=\"TH\"> ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์ที่สามารถแสดงผลข้อความ ภาพ และการปฏิสัมพันธ์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%\"><br />\n<span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">     </span></span></p>\n<style></style><p><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับความนิยมมากขึ้น บริษัทไมโครซอฟต์ (</span></span><span><span style=\"font-size: small\">Microsoft)<span lang=\"TH\"> ได้ผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ขึ้นมาเพื่อคอยแนะนำในรูปแบบ </span>HTML Help <span lang=\"TH\">ขึ้นมา มีรูปแบบของไฟล์เป็น .</span>CHM <span lang=\"TH\">โดยมีตัวอ่านคือ </span>Microsoft Reader<span lang=\"TH\"> (.</span>LIT)<span lang=\"TH\"><br />\nหลังจากนั้นต่อมามีบริษัทผู้ผลิตโปรแกรมคอมพิวเตอร์จำนวนมาก<br />\nได้พัฒนาโปรแกรมจนกระทั่งสามารถผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นลักษณะ<br />\nเหมือนกับหนังสือทั่วไปได้ เช่น สามารถแทรกข้อความ แทรกภาพ<br />\nจัดหน้าหนังสือได้ตามความต้องการของผู้ผลิต และที่พิเศษกว่านั้นคือ<br />\nหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ สามารถสร้างจุดเชื่อมโยงเอกสาร (</span>Hypertext) </span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ไป<br />\nยังเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกได้<br />\nอีกทั้งยังสามารถแทรกเสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ ลงไปในหนังสือได้<br />\nโดยคุณสมบัติเหล่านี้ไม่สามารถทำได้ในหนังสือทั่วไป</span> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium; font-family: times new roman,times,serif\"><b>ความหมายของ e-Book</b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">        “<span lang=\"TH\">อีบุ๊ค</span>” (e-book, e-Book, eBook, EBook,) <span lang=\"TH\">เป็นคำภาษาต่างประเทศ ย่อมาจากคำว่า </span>electronic book </span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">หมาย<br />\nถึง<br />\nหนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นเอกสาร<br />\nอิเล็กทรอนิกส์<br />\nโดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์<br />\nทั้งในระบบออฟไลน์และออนไลน์<br />\n</span>       <span lang=\"TH\"><br />\nคุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่างๆ<br />\nของหนังสือ เว็บไซต์ต่างๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้<br />\nนอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว<br />\nแบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้<br />\nอีกประการหนึ่งที่สำคัญก็คือ<br />\nหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา<br />\nซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะไม่มีในหนังสือธรรมดาทั่วไป</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"><b>โปรแกรมที่นิยมใช้สร้าง e-Book</b></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">โปรแกรมที่นิยมใช้สร้าง E-Book มีอยู่หลายโปรแกรมแต่ที่นิยมใช้กันมาในปัจจุบันได้แก่<br />\n</span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\"><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">1. โปรแกรมชุด </span>Flip Album</span></span><span lang=\"TH\"><br />\n<span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">2. โปรแกรม </span></span><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">DeskTop Author</span><span lang=\"TH\"><br />\n<span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">3. โปรแกรม </span></span><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">Flash Album Deluxe</span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"> <br />\n     ชุดโปรแกรมทั้ง 3 จะต้องติดตั้งโปรแกรมสำหรับอ่าน </span>e-Book </span></span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">ด้วย มิฉะนั้น แล้วจะเปิดเอกสารไม่ได้ ประกอบด้วย<br />\n1.1 โปรแกรมชุด </span>Flip Album<span lang=\"TH\"> ตัวอ่านคือ </span>FlipViewer</span></span><span lang=\"TH\"><br />\n<span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">1.2 โปรแกรมชุด </span></span><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">DeskTop Author <span lang=\"TH\">ตัวอ่านคือ </span>DNL<span lang=\"TH\"> </span>Reader</span><span lang=\"TH\"><br />\n<span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">1.3 โปรแกรมชุด </span></span><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">Flash Album Deluxe <span lang=\"TH\">ตัวอ่านคือ </span>Flash Player                       </span></span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\" lang=\"TH\"></span></b></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\" lang=\"TH\">ความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\">e-Book)<span lang=\"TH\"> กับหนังสือทั่วไป</span></span></b></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\" lang=\"TH\"><br />\n</span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\"><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">  </span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">ความแตกต่างของหนังสือทั้งสองประเภทจะอยู่ที่รูปแบบของการสร้าง การผลิตและการใช้งาน เช่น<br />\n1. หนังสือทั่วไปใช้กระดาษ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่ใช้กระดาษ <br />\n2. หนังสือทั่วไปมีข้อความและภาพประกอบธรรมดา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถสร้างให้มี <br />\n    ภาพเคลื่อนไหวได้<br />\n3. หนังสือทั่วไปไม่มีเสียงประกอบ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถใส่เสียงประกอบได้<br />\n4. หนังสื่อทั่วไปแก้ไขปรับปรุงได้ยาก หนังสื่ออิเล็กทรอนิกส์สามารถแก้ไขและปรับปรุงข้อมูล  <br />\n    (</span>update)</span></span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">ได้ง่าย<br />\n5. หนังสือทั่วไปสมบูรณ์ในตัวเอง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้างจุดเชื่อมโยง (</span>links) </span></span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">ออก<br />\n   ไปเชื่อมต่อกับข้อมูลภายนอกได้<br />\n6. หนังสือทั่วไปต้นทุนการผลิตสูง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้นทุนในการผลิตหนังสือต่ำ  <br />\n    ประหยัด<br />\n7. หนังสือทั่วไปมีขีดจำกัดในการจัดพิมพ์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขีดจำกัดในการจัดพิมพ์ <br />\n    สามารถทำสำเนาได้ง่ายไม่จำกัด<br />\n8. หนังสือทั่วไปเปิดอ่านจากเล่ม</span> </span></span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"> หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้องอ่านด้วยโปรแกรม ผ่านทาง<br />\n   หน้าจอคอมพิวเตอร์<br />\n9. หนังสือทั่วไปอ่านได้อย่างเดียว หนังสืออิเล็กทรอนิกส์นอกจากอ่านได้แล้วยังสามารถ<br />\n   สั่งพิมพ์ (</span>print)</span></span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">ได้<br />\n10. หนังสือทั่วไปอ่านได้1 คนต่อหนึ่งเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม สามารถอ่านพร้อมกัน  <br />\n    ได้จำนวนมาก (ออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต)<br />\n11. หนังสือทั่วไปพกพาลำบาก (ต้องใช้พื้นที่) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์พกพาสะดวกได้ครั้งละ<br />\n    จำนวนมากในรูปแบบของไฟล์คอมพิวเตอร์ใน </span>Handy Drive <span lang=\"TH\">หรือ </span>CD</span></span><span lang=\"TH\"><br />\n<span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\">12. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม        </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\" lang=\"TH\">โครงสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\">e-Book<span lang=\"TH\"> </span>Construction)</span></b></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\" lang=\"TH\"><br />\n<span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">    <br />\nลักษณะโครงสร้างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะมีความคล้ายคลึงกับหนังสือทั่วไป<br />\nที่พิมพ์ด้วยกระดาษ หากจะมีความแตกต่างที่เห็นได้ชัดเจนก็ คือ<br />\nกระบวนการผลิต รูปแบบ และวิธีการอ่านหนังสือ     </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\"><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">สรุปโครงสร้างทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย</span><b><br />\n<span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">1. หน้าปก (Front Cover)</span></b><span lang=\"TH\"><br />\n<span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\"> หมายถึง ปกด้านหน้าของหนังสือซึ่งจะอยู่ส่วนแรก เป็นตัวบ่งบอกว่า หนังสือ<br />\nเล่มนี้ชื่ออะไร ใครเป็นผู้แต่ง</span></span><br />\n<span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><b>2. คำนำ (Introduction)</b><br />\n       </span></span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">หมายถึง คำบอกกล่าวของผู้เขียนเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูล และเรื่องราวต่างๆ ของหนังสือเล่มนั้น</span>  </span></span><span lang=\"TH\"><br />\n</span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><b>3. สารบัญ (Contents)</b><br />\n      </span></span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">หมาย<br />\nถึง<br />\nตัวบ่งบอกหัวเรื่องสำคัญที่อยู่ภายในเล่มว่าประกอบด้วยอะไรบ้างอยู่ที่หน้า<br />\nใดของหนังสือ สามารถเชื่อมโยงไปสู่หน้าต่างๆ ภายในเล่มได้   </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">4. สาระของหนังสือแต่ละหน้า </span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">หมายถึง ส่วนประกอบสำคัญในแต่ละหน้า ที่ปรากฏภายในเล่มประกอบด้วย</span>    </span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\"></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0pt; line-height: normal\">\n<span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">            • <span lang=\"TH\">หน้าหนังสือ (</span>Page Number)</span><span lang=\"TH\"><br />\n<span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">            </span></span><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">• <span lang=\"TH\">ข้อความ (</span>Texts)</span><span lang=\"TH\"><br />\n<span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">            </span></span><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">• <span lang=\"TH\">ภาพประกอบ (</span>Graphics) .jpg, .gif, .bmp, .png, .tiff</span><span lang=\"TH\"><br />\n<span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">            </span></span><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">• <span lang=\"TH\">เสียง (</span>Sounds) .mp<span lang=\"TH\">3</span>, .wav, .midi</span><span lang=\"TH\"><br />\n<span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">            </span></span><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">• <span lang=\"TH\">ภาพเคลื่อนไหว (</span>Video Clips, flash) .mpeg,   .wav,<span lang=\"TH\">   .</span>avi</span><span lang=\"TH\"><br />\n</span><span style=\"font-family: times new roman,times,serif\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">            </span>• <span lang=\"TH\">จุดเชื่อมโยง (</span>Links)  </span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0pt; line-height: normal\">\n<span style=\"font-size: 16pt\"></span><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">5. อ้างอิง </span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 140%\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; font-family: times new roman,times,serif\">หมายถึง แหล่งข้อมูลที่ใช้นำมาอ้างอิง อาจเป็นเอกสาร ตำรา หรือ เว็บไซต์ก็ได้<br />\n<b>6. ดัชนี</b> หมายถึง การระบุคำสำคัญหรือคำหลักต่างๆ ที่อยู่ภายในเล่ม โดยเรียงลำดับตัวอักษร<br />\n    ให้สะดวกต่อการค้นหา พร้อมระบุเลขหน้าและจุดเชื่อมโยง<br />\n<b>7. ปกหลัง</b> หมายถึง ปกด้านหลังของหนังสือซึ่งจะอยู่ส่วนท้ายเล่ม</span></span>\n</p>\n', created = 1724695158, expire = 1724781558, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:fedba6d02d91f4df5dadd87fe53e309e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

นัฐวุฒิ สมประสงค์ ม.1/16ข เลขที่24

กว่าจะมาเป็น e-Book

            หนังสือที่มีอยู่โดยทั่วไป จะมีลักษณะเป็นเอกสารที่จัดพิมพ์ด้วยกระดาษ แต่ด้วยความเปลี่ยนแปลงของ  ยุค
สมัย และความเปลี่ยนแปลงด้านเล็กทรอนิกส์
ที่มีการพัฒนาต่อเนื่องอย่างไม่หยุดยั้ง
ทำให้มีการคิดค้นวิธีการใหม่โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย
จึงได้นำหนังสือดังกล่าวเหล่านั้นมาทำคัดลอก (
scan)
โดยที่หนังสือก็ยังคงสภาพเดิมแต่จะได้ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นแฟ้มภาพ
ขึ้นมาใหม่
วิธีการต่อจากนั้นก็คือจะนำแฟ้มภาพตัวหนังสือมาผ่านกระบวนการแปลงภาพเป็นตัว
หนังสือ (
text) ด้วยการทำ OCR (Optical Character Recognition)
คือการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแปลงภาพตัวหนังสือให้เป็นตัวหนังสือที่สามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้
    
การถ่ายทอดข้อมูลในระยะต่อมา จะถ่ายทอดผ่านทางแป้นพิมพ์
และประมวลผลออกมาเป็นตัวหนังสือและข้อความด้วยคอมพิวเตอร์
ดังนั้นหน้ากระดาษก็เปลี่ยนรูปแบบไปเป็นแฟ้มข้อมูล (
files) แทน ทั้งยังมีความสะดวกต่อการเผยแพร่และจัดพิมพ์เป็นเอกสาร (documents printing) รูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยุคแรกๆ มีลักษณะเป็นเอกสารประเภท .doc, .txt, .rtf, และ .pdf ไฟล์ ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ข้อมูลต่างๆ ก็จะถูกออกแบบและตกแต่งในรูปของเว็บไซต์ โดยในแต่ละหน้าของเว็บไซต์เราเรียกว่า "web page" โดยสามารถเปิดดูเอกสารเหล่านั้นได้ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ (web browser) ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์ที่สามารถแสดงผลข้อความ ภาพ และการปฏิสัมพันธ์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

    

เมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับความนิยมมากขึ้น บริษัทไมโครซอฟต์ (Microsoft) ได้ผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ขึ้นมาเพื่อคอยแนะนำในรูปแบบ HTML Help ขึ้นมา มีรูปแบบของไฟล์เป็น .CHM โดยมีตัวอ่านคือ Microsoft Reader (.LIT)
หลังจากนั้นต่อมามีบริษัทผู้ผลิตโปรแกรมคอมพิวเตอร์จำนวนมาก
ได้พัฒนาโปรแกรมจนกระทั่งสามารถผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นลักษณะ
เหมือนกับหนังสือทั่วไปได้ เช่น สามารถแทรกข้อความ แทรกภาพ
จัดหน้าหนังสือได้ตามความต้องการของผู้ผลิต และที่พิเศษกว่านั้นคือ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ สามารถสร้างจุดเชื่อมโยงเอกสาร (
Hypertext)
ไป
ยังเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกได้
อีกทั้งยังสามารถแทรกเสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ ลงไปในหนังสือได้
โดยคุณสมบัติเหล่านี้ไม่สามารถทำได้ในหนังสือทั่วไป
 

ความหมายของ e-Book

        “อีบุ๊ค” (e-book, e-Book, eBook, EBook,) เป็นคำภาษาต่างประเทศ ย่อมาจากคำว่า electronic book หมาย
ถึง
หนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นเอกสาร
อิเล็กทรอนิกส์
โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์
ทั้งในระบบออฟไลน์และออนไลน์
       
คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่างๆ
ของหนังสือ เว็บไซต์ต่างๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้
นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว
แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพิมพ์ได้
อีกประการหนึ่งที่สำคัญก็คือ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา
ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะไม่มีในหนังสือธรรมดาทั่วไป

โปรแกรมที่นิยมใช้สร้าง e-Book

โปรแกรมที่นิยมใช้สร้าง E-Book มีอยู่หลายโปรแกรมแต่ที่นิยมใช้กันมาในปัจจุบันได้แก่
1. โปรแกรมชุด Flip Album
2. โปรแกรม
DeskTop Author
3. โปรแกรม
Flash Album Deluxe
     ชุดโปรแกรมทั้ง 3 จะต้องติดตั้งโปรแกรมสำหรับอ่าน
e-Book
ด้วย มิฉะนั้น แล้วจะเปิดเอกสารไม่ได้ ประกอบด้วย
1.1 โปรแกรมชุด
Flip Album ตัวอ่านคือ FlipViewer

1.2 โปรแกรมชุด
DeskTop Author ตัวอ่านคือ DNL Reader
1.3 โปรแกรมชุด
Flash Album Deluxe ตัวอ่านคือ Flash Player                      

ความแตกต่างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) กับหนังสือทั่วไป
  ความแตกต่างของหนังสือทั้งสองประเภทจะอยู่ที่รูปแบบของการสร้าง การผลิตและการใช้งาน เช่น
1. หนังสือทั่วไปใช้กระดาษ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่ใช้กระดาษ
2. หนังสือทั่วไปมีข้อความและภาพประกอบธรรมดา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถสร้างให้มี
    ภาพเคลื่อนไหวได้
3. หนังสือทั่วไปไม่มีเสียงประกอบ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถใส่เสียงประกอบได้
4. หนังสื่อทั่วไปแก้ไขปรับปรุงได้ยาก หนังสื่ออิเล็กทรอนิกส์สามารถแก้ไขและปรับปรุงข้อมูล 
    (
update)
ได้ง่าย
5. หนังสือทั่วไปสมบูรณ์ในตัวเอง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้างจุดเชื่อมโยง (
links)
ออก
   ไปเชื่อมต่อกับข้อมูลภายนอกได้
6. หนังสือทั่วไปต้นทุนการผลิตสูง หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้นทุนในการผลิตหนังสือต่ำ 
    ประหยัด
7. หนังสือทั่วไปมีขีดจำกัดในการจัดพิมพ์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่มีขีดจำกัดในการจัดพิมพ์
    สามารถทำสำเนาได้ง่ายไม่จำกัด
8. หนังสือทั่วไปเปิดอ่านจากเล่ม
 
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ต้องอ่านด้วยโปรแกรม ผ่านทาง
   หน้าจอคอมพิวเตอร์
9. หนังสือทั่วไปอ่านได้อย่างเดียว หนังสืออิเล็กทรอนิกส์นอกจากอ่านได้แล้วยังสามารถ
   สั่งพิมพ์ (
print)
ได้
10. หนังสือทั่วไปอ่านได้1 คนต่อหนึ่งเล่ม หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 1 เล่ม สามารถอ่านพร้อมกัน 
    ได้จำนวนมาก (ออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต)
11. หนังสือทั่วไปพกพาลำบาก (ต้องใช้พื้นที่) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์พกพาสะดวกได้ครั้งละ
    จำนวนมากในรูปแบบของไฟล์คอมพิวเตอร์ใน
Handy Drive หรือ CD

12. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม       

โครงสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book Construction)
    
ลักษณะโครงสร้างของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะมีความคล้ายคลึงกับหนังสือทั่วไป
ที่พิมพ์ด้วยกระดาษ หากจะมีความแตกต่างที่เห็นได้ชัดเจนก็ คือ
กระบวนการผลิต รูปแบบ และวิธีการอ่านหนังสือ    

สรุปโครงสร้างทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย
1. หน้าปก (Front Cover)

 หมายถึง ปกด้านหน้าของหนังสือซึ่งจะอยู่ส่วนแรก เป็นตัวบ่งบอกว่า หนังสือ
เล่มนี้ชื่ออะไร ใครเป็นผู้แต่ง

2. คำนำ (Introduction)
      
หมายถึง คำบอกกล่าวของผู้เขียนเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูล และเรื่องราวต่างๆ ของหนังสือเล่มนั้น 
3. สารบัญ (Contents)
     
หมาย
ถึง
ตัวบ่งบอกหัวเรื่องสำคัญที่อยู่ภายในเล่มว่าประกอบด้วยอะไรบ้างอยู่ที่หน้า
ใดของหนังสือ สามารถเชื่อมโยงไปสู่หน้าต่างๆ ภายในเล่มได้  

4. สาระของหนังสือแต่ละหน้า หมายถึง ส่วนประกอบสำคัญในแต่ละหน้า ที่ปรากฏภายในเล่มประกอบด้วย   

            • หน้าหนังสือ (Page Number)
           
ข้อความ (Texts)
           
ภาพประกอบ (Graphics) .jpg, .gif, .bmp, .png, .tiff
           
เสียง (Sounds) .mp3, .wav, .midi
           
ภาพเคลื่อนไหว (Video Clips, flash) .mpeg,   .wav,   .avi
            จุดเชื่อมโยง (Links) 

5. อ้างอิง หมายถึง แหล่งข้อมูลที่ใช้นำมาอ้างอิง อาจเป็นเอกสาร ตำรา หรือ เว็บไซต์ก็ได้
6. ดัชนี หมายถึง การระบุคำสำคัญหรือคำหลักต่างๆ ที่อยู่ภายในเล่ม โดยเรียงลำดับตัวอักษร
    ให้สะดวกต่อการค้นหา พร้อมระบุเลขหน้าและจุดเชื่อมโยง
7. ปกหลัง หมายถึง ปกด้านหลังของหนังสือซึ่งจะอยู่ส่วนท้ายเล่ม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 522 คน กำลังออนไลน์