• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:688bd5d3efb4c9c98e90d58ea9ec3cbb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <span style=\"color: #ff0000\">ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาอินเดียโบราณ คนไทยรับภาษาสันสกฤตมาใช้ในฐานะที่เป็นภาษาศาสนาทั้งศาสนาพุทธนิกายมหายานและศาสนาพราหมณ์รวมทั้งวัฒนธรรมทางด้านการปกครอง ระเบียงพิธีในราชสำนักและวรรณคดี</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">คำยืมภาษาสันสกฤตในภาษาไทยมีวิธีการสังเกตดังต่อไปนี้</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<h2>๑.   คำที่มาจากภาษาสันสกฤต จะไม่มีการใช้ตัวสะกดและตัวตามตามหลักเกณฑ์ที่แน่นอนเหมือนในภาษาบาลี คือ การใช้ตัวสะกดและตัวตามในภาษาจะไม่แน่นอน เช่น ตัวสะกดเป็นพยัญชนะวรรคตัวตามจะเป็นพยัญชนะเศษวรรคบ้าง เช่น จักร มัธยม มิตร เป็นต้น ตัวสะกดเป็นพยัญชนะเศษวรรค  ตัวตามเป็นพยัญชนะวรรคบ้าง เช่น พิสดาร พัสดุ กัลป์  กัลยา  ศาสนา  กรรณ  เป็นต้น<br />\n๒.  คำที่ใช้ตัว ฑ ส่วนมากจะมาจากภาษาสันสฤต ส่วนใช้ตัว ฒ ส่วนมากจะมาจากภาษาบาลี&quot;<br />\n๓. คำที่ใช้ ศ ส่วนมากมาจากภาษาสันสกฤต เช่น ศาลา  ศาสนา  ศาล  เศรษณี  เศรษฐี  เป็นต้น(ภาษาบาลีจะไม่ใช้ ตัว ศ)<br />\nคำที่ใช้ตัว ศ มีที่มาดังนี้<br />\n                ๑. ที่เป็นคำไทย ๔ คำ คือ ศึก ศอก เศิก เศร้า<br />\n                ๒. มาจากภาษาเขมร ๕ คำ คือ เพริศ พิศ พิศวง ศอ (คอ) ศก (ผม)<br />\n                ๓. มาจากภาษาตะวันตกเช่น อังกฤษ ไอศกรีม โปลิศ ออฟฟิศ ฝรั่งเศส<br />\n                ๔. นอกจากนั้นมาจากภาษาสันสกฤตทั้งหมด </h2>\n<h2>๔.  คำที่ใช้ ษ มาจากภาษาตะวันตก ๑ คำ คือ อังกฤษ และไม่ทราบที่มาคือ ดาษ ดาษดา กระดาษ นอกจากนั้นมาจากภาษาสันสกฤตทั้งหมด  เช่น  ภาษา  เกษตร  พฤษภา  กษัตริย์  เป็นต้น<br />\nกิจกรรม ๑  นักเรียนจงหาคำทีมากจาภาษาสันสกฤตที่ใช้ตัว ษ มาประมาณ ๑๐ คำ<br />\n๕.  คำในภาษาสันสกฤตมักจะเป็นคำควบกล้ำซึ่งการควบกล้ำอาจจะอยู่ในตำแหน่งต้นพยางค์<br />\n เช่น ไปรษณีย์ ปราศรัย เป็นต้น หรืออยู่ในตำแหน่ง ท้ายพยางค์ซึ่งเมื่อรับเข้ามาสู่ภาษาไทยเราจะใช้เป็นตัวสะกดแต่ก็คงรักษารูปศัพท์เดิมเอกไว้ เช่น มิตร จันทร์ จักร ประจักษ์  เป็นต้น<br />\n๖.  คำที่ใช้ รร (ร หัน) มีที่มา ๓ อย่าง คือ<br />\n        ก. มาจากคำไทยที่เราแผลงมาจากคำว่า &quot;กระ&quot; เช่น <br />\n                กระเช้า     เป็น         กรรเช้า<br />\n                กะโชก      เป็น         กรรโชก<br />\n                กระเจียก    เป็น         กรรเจียก<br />\n                          เป็นต้น<br />\n        ข. มาจากภาษาเขมรส่วนมากจะเป็นคำว่า &quot;บรร&quot; ที่แผลงกับคำว่า &quot;ประ&quot; ได้ เช่น<br />\n                ประจบ      เป็น         บรรจบ<br />\n                ประทัด      เป็น         บรรทัด<br />\n                ประจุ       เป็น         บรรจุ<br />\n        ค. คำที่ใช้ &quot;รร&quot; นอกจากนี้จะมาจากภาษาสันสกฤตทั้งหมด  เช่น  ภรรยา  กรรม  บรรณ  บรรยาย  ขรรค์  เป็นต้น<br />\n๗.  คำหลายพยางค์ที่ใช้ สระ ไอ และ สระ เอา ส่วนมากจะมาจากภาษาสันสกฤต เช่น  ไพบูลย์ ไปรษณีย์ เอารส เอาฑาร เป็นต้น&quot;<br />\n๘.   คำที่ใช้สระ ฤ มีในคำไทยไม่กี่คำ เช่น ฤ ฤา ที่แปลว่า หรือ  ฤชา  ที่แปลว่า ค่าธรรมเนียม มาจากภาษาตะวันตกคือคำว่า อังกฤษ นอกจากนั้นมาจากภาษาสันสกฤตทั้งหมด  เช่น  ทฤษฎี  ฤทธิ์  กฤต  กฤษฎีกา  ปฤษฎางค์  เป็นต้น</h2>\n<h2>             แบบฝึกหัด เรื่อง  หลักสังเกตภาษาสันสกฤตในภาษาไทย<br />\n                                  เป็นภาษาสันสกฤต      ไม่เป็น<br />\n๑.ดาษ                            .................             ...............    <br />\n ๒.ปราศรัย                        .................             ...............    <br />\n ๓.บุรุษ                        .................             ...............    <br />\n ๔.ศอ                        .................             ...............    <br />\n ๕.ปลาย                        .................             ...............    <br />\n ๖.โขมด                        .................             ...............    <br />\n ๗.พัสดุ                        .................             ...............    <br />\n ๘.พัฒนา                        .................             ...............    <br />\n ๙.ไข                        .................             ...............    <br />\n๑๐.ไพบูลย์                        .................             ...............    <br />\n๑๑.อังกฤษ                        .................             ...............    <br />\n๑๒.โอรส                        .................             ...............    <br />\n๑๓.ภาษา                        .................             ...............    <br />\n๑๔.มัชฌิม                        .................             ...............    <br />\n๑๕.มัธยม                        .................             ...............    <br />\n๑๖.มาตร                        .................             ...............    <br />\n๑๗.มิตร                        .................             ...............    <br />\n๑๘.บรรจบ                        .................             ...............    <br />\n๑๙.ฤดู                        .................             ...............    <br />\n๒๐.คลินิก                        .................             ...............    <br />\n๒๑.เศร้า                        .................             ...............    <br />\n๒๒.ศิลา                        .................             ...............    <br />\n๒๓.ศอก                        .................             ...............    <br />\n๒๔.ตรวจ                        .................             ...............    <br />\n๒๕.เศรษฐี                        .................             ...............    <br />\n๒๖.กรีฑา                        .................             ...............    <br />\n๒๗.ครุฑ                        .................             ...............    <br />\n๒๘.โอฐ                        .................             ...............    <br />\n๒๙.ไพฑูรย์                        .................             ...............    <br />\n๓๐.เต้าทึง                        .................             ...............    <br />\n๓๑.ดำรัส                        .................             ...............    <br />\n๓๒.มัตสยา                        .................             ...............    <br />\n๓๓.กิตย์                        .................             ...............    <br />\n๓๔.กัลยา                        .................             ...............    <br />\n๓๕.ปัจจัย                        .................             ...............    <br />\n๓๖.ศก(ปี)                        .................             ...............    <br />\n๓๗.ชอล์ก                         .................             ...............    <br />\n๓๘.สรรเพ็ช                        .................             ...............    <br />\n๓๙.อักษร                        .................             ...............    <br />\n๔๐.ภรรยา                        .................             ...............   </h2>\n<h3>จัดทำโดย  นายประเสริฐ ศรีราชพัฒน์ ร.ร.ฉวางรัชดาภิเษก อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช  ๐๘๙๘๗๒๘๔๙๒ </h3>\n', created = 1715685338, expire = 1715771738, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:688bd5d3efb4c9c98e90d58ea9ec3cbb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คำไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต

รูปภาพของ chrprasert

 

 ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาอินเดียโบราณ คนไทยรับภาษาสันสกฤตมาใช้ในฐานะที่เป็นภาษาศาสนาทั้งศาสนาพุทธนิกายมหายานและศาสนาพราหมณ์รวมทั้งวัฒนธรรมทางด้านการปกครอง ระเบียงพิธีในราชสำนักและวรรณคดี

คำยืมภาษาสันสกฤตในภาษาไทยมีวิธีการสังเกตดังต่อไปนี้

 

๑.   คำที่มาจากภาษาสันสกฤต จะไม่มีการใช้ตัวสะกดและตัวตามตามหลักเกณฑ์ที่แน่นอนเหมือนในภาษาบาลี คือ การใช้ตัวสะกดและตัวตามในภาษาจะไม่แน่นอน เช่น ตัวสะกดเป็นพยัญชนะวรรคตัวตามจะเป็นพยัญชนะเศษวรรคบ้าง เช่น จักร มัธยม มิตร เป็นต้น ตัวสะกดเป็นพยัญชนะเศษวรรค  ตัวตามเป็นพยัญชนะวรรคบ้าง เช่น พิสดาร พัสดุ กัลป์  กัลยา  ศาสนา  กรรณ  เป็นต้น
๒.  คำที่ใช้ตัว ฑ ส่วนมากจะมาจากภาษาสันสฤต ส่วนใช้ตัว ฒ ส่วนมากจะมาจากภาษาบาลี"
๓. คำที่ใช้ ศ ส่วนมากมาจากภาษาสันสกฤต เช่น ศาลา  ศาสนา  ศาล  เศรษณี  เศรษฐี  เป็นต้น(ภาษาบาลีจะไม่ใช้ ตัว ศ)
คำที่ใช้ตัว ศ มีที่มาดังนี้
                ๑. ที่เป็นคำไทย ๔ คำ คือ ศึก ศอก เศิก เศร้า
                ๒. มาจากภาษาเขมร ๕ คำ คือ เพริศ พิศ พิศวง ศอ (คอ) ศก (ผม)
                ๓. มาจากภาษาตะวันตกเช่น อังกฤษ ไอศกรีม โปลิศ ออฟฟิศ ฝรั่งเศส
                ๔. นอกจากนั้นมาจากภาษาสันสกฤตทั้งหมด

๔.  คำที่ใช้ ษ มาจากภาษาตะวันตก ๑ คำ คือ อังกฤษ และไม่ทราบที่มาคือ ดาษ ดาษดา กระดาษ นอกจากนั้นมาจากภาษาสันสกฤตทั้งหมด  เช่น  ภาษา  เกษตร  พฤษภา  กษัตริย์  เป็นต้น
กิจกรรม ๑  นักเรียนจงหาคำทีมากจาภาษาสันสกฤตที่ใช้ตัว ษ มาประมาณ ๑๐ คำ
๕.  คำในภาษาสันสกฤตมักจะเป็นคำควบกล้ำซึ่งการควบกล้ำอาจจะอยู่ในตำแหน่งต้นพยางค์
 เช่น ไปรษณีย์ ปราศรัย เป็นต้น หรืออยู่ในตำแหน่ง ท้ายพยางค์ซึ่งเมื่อรับเข้ามาสู่ภาษาไทยเราจะใช้เป็นตัวสะกดแต่ก็คงรักษารูปศัพท์เดิมเอกไว้ เช่น มิตร จันทร์ จักร ประจักษ์  เป็นต้น
๖.  คำที่ใช้ รร (ร หัน) มีที่มา ๓ อย่าง คือ
        ก. มาจากคำไทยที่เราแผลงมาจากคำว่า "กระ" เช่น
                กระเช้า     เป็น         กรรเช้า
                กะโชก      เป็น         กรรโชก
                กระเจียก    เป็น         กรรเจียก
                          เป็นต้น
        ข. มาจากภาษาเขมรส่วนมากจะเป็นคำว่า "บรร" ที่แผลงกับคำว่า "ประ" ได้ เช่น
                ประจบ      เป็น         บรรจบ
                ประทัด      เป็น         บรรทัด
                ประจุ       เป็น         บรรจุ
        ค. คำที่ใช้ "รร" นอกจากนี้จะมาจากภาษาสันสกฤตทั้งหมด  เช่น  ภรรยา  กรรม  บรรณ  บรรยาย  ขรรค์  เป็นต้น
๗.  คำหลายพยางค์ที่ใช้ สระ ไอ และ สระ เอา ส่วนมากจะมาจากภาษาสันสกฤต เช่น  ไพบูลย์ ไปรษณีย์ เอารส เอาฑาร เป็นต้น"
๘.   คำที่ใช้สระ ฤ มีในคำไทยไม่กี่คำ เช่น ฤ ฤา ที่แปลว่า หรือ  ฤชา  ที่แปลว่า ค่าธรรมเนียม มาจากภาษาตะวันตกคือคำว่า อังกฤษ นอกจากนั้นมาจากภาษาสันสกฤตทั้งหมด  เช่น  ทฤษฎี  ฤทธิ์  กฤต  กฤษฎีกา  ปฤษฎางค์  เป็นต้น

             แบบฝึกหัด เรื่อง  หลักสังเกตภาษาสันสกฤตในภาษาไทย
                                  เป็นภาษาสันสกฤต      ไม่เป็น
๑.ดาษ                            .................             ...............   
 ๒.ปราศรัย                        .................             ...............   
 ๓.บุรุษ                        .................             ...............   
 ๔.ศอ                        .................             ...............   
 ๕.ปลาย                        .................             ...............   
 ๖.โขมด                        .................             ...............   
 ๗.พัสดุ                        .................             ...............   
 ๘.พัฒนา                        .................             ...............   
 ๙.ไข                        .................             ...............   
๑๐.ไพบูลย์                        .................             ...............   
๑๑.อังกฤษ                        .................             ...............   
๑๒.โอรส                        .................             ...............   
๑๓.ภาษา                        .................             ...............   
๑๔.มัชฌิม                        .................             ...............   
๑๕.มัธยม                        .................             ...............   
๑๖.มาตร                        .................             ...............   
๑๗.มิตร                        .................             ...............   
๑๘.บรรจบ                        .................             ...............   
๑๙.ฤดู                        .................             ...............   
๒๐.คลินิก                        .................             ...............   
๒๑.เศร้า                        .................             ...............   
๒๒.ศิลา                        .................             ...............   
๒๓.ศอก                        .................             ...............   
๒๔.ตรวจ                        .................             ...............   
๒๕.เศรษฐี                        .................             ...............   
๒๖.กรีฑา                        .................             ...............   
๒๗.ครุฑ                        .................             ...............   
๒๘.โอฐ                        .................             ...............   
๒๙.ไพฑูรย์                        .................             ...............   
๓๐.เต้าทึง                        .................             ...............   
๓๑.ดำรัส                        .................             ...............   
๓๒.มัตสยา                        .................             ...............   
๓๓.กิตย์                        .................             ...............   
๓๔.กัลยา                        .................             ...............   
๓๕.ปัจจัย                        .................             ...............   
๓๖.ศก(ปี)                        .................             ...............   
๓๗.ชอล์ก                         .................             ...............   
๓๘.สรรเพ็ช                        .................             ...............   
๓๙.อักษร                        .................             ...............   
๔๐.ภรรยา                        .................             ...............   

จัดทำโดย  นายประเสริฐ ศรีราชพัฒน์ ร.ร.ฉวางรัชดาภิเษก อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช  ๐๘๙๘๗๒๘๔๙๒ 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 460 คน กำลังออนไลน์