• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4a256ace105e04989fd7173979fc3d27' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h3><span style=\"color: #ff0000\">ภาษาบาลีเป็นภาษาของชาวอินเดียโบราณ ใช้ในศาสนาพุทธนิกายหินยาน คนไทยรับศาสนาพุทธและรับคำจากภาษาบาลีมาใช้ตั้งแต่สมัยโบราณ </span></h3>\n<h2> หลักสังเกตคำไทยที่มาจากภาษาบาลี<br />\nกฎเกณฑ์ &quot;คำภาษาบาลีจะมีตัวสะกดและตัวตามตามกฎเกณฑ์ที่แน่นอน&quot;<br />\nทำอธิบาย &quot;ตัวสะกด&quot; หมายถึงพยัญชนะที่ออกเสียงตามหลังสระของพยางค์ เช่น <br />\n        สุนทร    ตัว น เป็นตัวสะกด<br />\n        ตัณหา    ตัว ณ เป็นตัวสะกด<br />\n        &quot;ตัวตาม&quot; หมายถึงพยัญชนะที่ตามหลังตัวสะกด เช่น<br />\n        สุนทร    ตัว ท เป็นตัวตาม<br />\n        ตัณหา ตัว ห เป็นตัวตาม<br />\n        ในภาษาบาลีเมื่อมีตัวสะกดจะต้องมีตัวตามเสมอ<br />\n กฎเกณฑ์เกี่ยวกับตัวสะกดและตัวตามในภาษาบาลีมีดังนี้<br />\n        ๑. เมื่อพยัญชนะแถวที่ ๑ ของวรรคใดวรรคหนึ่งเป็นตัวสะกดพยัญชนะแถวที่ ๑ และแถวที่ ๒ <br />\nของวรรคนั้นเป็นตัวตามเสมอ เช่น <br />\n        -พยัญชนะแถวที่ ๑ เป็นตัวสะกดพยัญชนะแถวที่ ๑ เป็นตัวตาม ตัวอย่าง<br />\n                ตัว ก สะกดตัว ก ตาม เป็น กก เช่น จัก (จกฺก) ตัก (ตกฺก)<br />\n                ตัว จ สะกดตัว จ ตาม เป็น จจ เช่น นิจ (นิจฺจ) กิจ (กิจฺจ)<br />\n                ตัว ฏ สะกดตัว ฎ ตาม เป็น ฏฏ เช่น วัฏ (วฏฺฏ)<br />\n                ตัว ต สะกดตัว ต ตาม เป็น ตต เช่น อัตตา จิต (จิตฺต)<br />\n                ตัว ป สะกดตัว ป ตาม เป็น ปป เช่น กัป (กปฺป) สัปปิ<br />\nหมายเหตุ  ตัวสะกดและตัวตามตัวเดียวกันในภาษาบาลีถ้าตัวตามไม่มีสระกำกับเมื่อมาถึงภาษา<br />\nไทยเราจะตัวตัวตามออกเหลือเพียงตัวเดียวเช่นตัวตัวอย่างที่ยกมาทั้งหมด ในวงเล็บคือคำที่เป็นภาษาบาลีเดิม  <br />\n        -พยัญชนะแถวที่ ๑ เป็นตัวสะกดพยัญชนะแถวที่ ๒ เป็นตัวตาม เช่น<br />\n                ตัว ก สะกด ตัว ข ตาม เป็น กข เช่น ทุกข์ ปักข์<br />\n                ตัว จ สะกด ตัว ฉ ตาม เป็น จฉ เช่น ปัจฉา มิจฉา <br />\n                ตัว ฎ สะกด ตัว ฐ ตาม เป็น ฏฐ เช่น อิฐ (อิฏฺฐิ) โอฐ (โอฏฺฐ) <br />\nหมายเหตุ  เมื่อมาถึงภาษาไทยเราจะตัดตัว ฏ ออก<br />\n                ตัว ต สะกด ตัว ถ ตาม เป็น ตถ เช่น วัตถุ วิตถาร<br />\n                ตัว ป สะกด ตัว ผ ตาม เป็น ปผ เช่น บุปผา เป็นต้น </h2>\n<h2>        ๒. เมื่อพยัญชนะแถวที่ ๓ เป็นตัวสะกด พยัญชนะแถวที่ ๓ และ แถวที่ ๔ เป็นตัวตาม  เช่น<br />\n        -พยัญชนะแถวที่ ๓ เป็นตัวสะกดพยัญชนะแถวที่ ๓ เป็นตัวตาม เช่น <br />\n                ตัว ค สะกดตัว ค ตาม เป็น คค เช่น อัคคี บุคคล<br />\n                ตัว ช สะกดตัว ช ตาม เป็น ชช เช่น วิชา (วิชฺชา)  เวชชา<br />\n                ตัว ฑ สะกดตัว ฑ ตาม เป็น ฑฑ เช่น ฉุฑฑะ<br />\n                ตัว ท สะกดตัว ท ตาม เป็น ทท ไม่ค่อยมีใช้<br />\n                ตัว พ สะกดตัว พ ตาม เป็น พพ เช่น ปัพพาชนีย์ ลัพ<br />\n        -พยัญชนะแถวที่ ๓ เป็นตัวสะกดพยัญชนะแถวที่ ๔ เป็นตัวตาม เช่น<br />\n                ตัว ค สะกดตัว ฆ ตาม เป็น คฆ เช่น พยัคฆา (เสือ) <br />\n                ตัว ช สะกดตัว ฌ ตาม เป็น ชฌ เช่น มัชฌิม (กลาง)<br />\n                ตัว ฑ สะกดตัว ฒ ตาม เป็น ฑฒ (เรามาใช้เป็น ฒ ตัวเดียว) เช่น วุฒิ (วุฑฒิ)<br />\n                ตัว ท สะกดตัว ธ ตาม เป็น ทธ เช่น สิทธิ์<br />\n                ตัว พ สะกดตัว ภ ตาม เป็น พภ เช่น ลัพภ์<br />\n        ๓. เมื่อพยัญชนะแถวที่ ๕ เป็นตัวสะกดพยัญชนะทุกแถวในวรรคเดียวกันเป็นตัวตามได้ เช่น<br />\n                ตัว ง สะกดตัว ก ข ค ฆ ง เป็นตัวตาม (ตัว ง สะกดตัว ง ตาม ไม่มีใช้) เช่น<br />\n                     ปงกช สังขาร อังคาร สงฆ์<br />\n                ตัว ญ สะกดตัว จ ฉ ช ฌ ญ เป็นตัวตาม เช่น สัญจร ปุญฉนะ  อัญชลี ปัญญา<br />\n                ตัว ณ สะกด ตัว ฎ ฐ ฑ ฒ ณ เป็นตัวตาม เช่น ตัณฏกะ กัณฑ์ ปัณณะ<br />\n                ตัว น สะกด ตัว ต ถ ท ธ น เป็นตัวตาม เช่น อันตะ คันถะ นันท์ สนธิ อันนะ <br />\n                ตัว ม สะกดตัว ป (บ) ผ พ ภ ม เป็นตัวตาม เช่น สัมปทาน สัมผัส อัมพร   เป็นต้น<br />\n๔.  &quot;คำบาลีจะใช้ตัว ฬ ในขณะที่ในภาษาสันสกฤตใช้ตัว ฑ เช่น ครุฬ กีฬา  <br />\nหมายเหตุ  คำว่า ปลาวาฬ เป็นคำมาจากภาษาอังกฤษ<br />\n๕.  คำบาลีจะใช้ตัว ส เพียงตัวเดียว ถ้าเห็นตัว ศ และ ษ จะไม่ใช้คำที่มาจากภาษาบาลี<br />\n        อธิบาย   คำบาลีจะใช้ตัว ส เพียงตัวเดียวแต่ภาษาสันสกฤตจะใช้ ศ  ษ  ส โดยมี<br />\nหลักการใช้ ศ  ษ  ศ (ของภาษาสันสกฤต) ดังนี้<br />\n        -ตัว ศ จะใช้ร่วมกันพยัญชนะวรรค จ คือ จ ฉ ช ฌ ญ เช่น พฤศจิก อัศจรรย์ เป็นต้น<br />\n        -ตัว ษ จะให้ร่วมกับพยัญชนะวรรค ฏ คือ ฏ (ฎ) ฐ ฑ ฒ ณ เช่น พฤษภา และตามหลังตัว <br />\n                ก เช่น เกษตร กษัตริย์ เป็นต้น<br />\n        -ตัว ส จะใช้ร่วมกับพยัญชนะวรรค ต คือ ต (ด) ถ ท ธ น เช่น วัสดุ พิสดาร เป็นต้น<br />\n๖.  คำบาลีจะมีสระใช้เพียง ๘ เสียง คือ อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ถ้าพบคำที่ใช้สระอื่นนอกจากนี้จะไม่ใช้คำที่มาจากภาษาบาลี (อาจจะมีคำที่มาจากภาษาบาลีที่มีการเปลี่ยนสระบ้าง เช่น จิร เป็น เจียร เป็นต้น)</h2>\n<p>\n<img height=\"95\" width=\"320\" src=\"/files/u126/line204.gif\" />\n</p>\n<h3>แบบฝึกหัดเรื่อง หลักสังเกตคำบาลีในภาษาไทย<br />\n                                  เป็น           ไม่เป็น<br />\n๑.กิจ                       ………..             ………..    <br />\n ๒.ไกร                     ………..             ………..    <br />\n ๓.กีฬา                     ………..             ………..    <br />\n ๔.บงกช                     ………..             ………..    <br />\n ๕.ใหม่                     ………..             ………..    <br />\n ๖.หรีด                     ………..             ………..    <br />\n ๗.ปัญญา                     ………..             ………..    <br />\n ๘.พัสดุ                     ………..             ………..    <br />\n ๙.หาญ                     ………..             ………..    <br />\n๑๑.พัฒนา                     ………..             ………..    <br />\n๑๑.ไพบูลย์                     ………..             ………..    <br />\n๑๒.บ๊วย                     ………..             ………..    <br />\n๑๓.ปราศรัย                     ………..             ………..    <br />\n๑๔.ศีล                     ………..             ………..    <br />\n๑๕.วุฒิ                     ………..             ………..    <br />\n๑๖.ภาษา                     ………..             ………..    <br />\n๑๗.ตำบล                     ………..             ………..    <br />\n๑๘.วิชา                     ………..             ………..    <br />\n๑๙.คลินิก                     ………..             ………..    <br />\n๒๑.ศึกษา                     ………..             ………..    <br />\n๒๑.สัญญา                     ………..             ………..    <br />\n๒๒.ซิงฮื้อ                     ………..             ………..    <br />\n๒๓.เทอม                     ………..             ………..    <br />\n๒๔.โอรส                     ………..             ………..    <br />\n๒๕.สบู่                     ………..             ………..    <br />\n๒๖.อูฐ                     ………..             ………..    <br />\n๒๗.บุรุษ                     ………..             ………..    <br />\n๒๘.บังคล                     ………..             ………..    <br />\n๒๙.มัจฉา                     ………..             ………..    <br />\n๓๑.สันติ                     ………..             ………..    <br />\n๓๑.คัมภีร์                     ………..             ………..    <br />\n๓๒.สิทธิ                     ………..             ………..    <br />\n๓๓.ฟุตบอล                     ………..             ………..    <br />\n๓๔.กำจัด                     ………..             ………..    <br />\n๓๕.ทหาร                     ………..             ………..    <br />\n๓๖.มัชฌิม                     ………..             ………..    <br />\n๓๗.กัลป์                     ………..             ………..    <br />\n๓๘.วิทยา                     ………..             ………..    <br />\n๓๙.วัตถุ                     ………..             ………..    <br />\n๔๑.อัญชลี                     ………..             ………..    <br />\n</h3>\n', created = 1715634706, expire = 1715721106, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4a256ace105e04989fd7173979fc3d27' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คำไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี

รูปภาพของ chrprasert

ภาษาบาลีเป็นภาษาของชาวอินเดียโบราณ ใช้ในศาสนาพุทธนิกายหินยาน คนไทยรับศาสนาพุทธและรับคำจากภาษาบาลีมาใช้ตั้งแต่สมัยโบราณ

 หลักสังเกตคำไทยที่มาจากภาษาบาลี
กฎเกณฑ์ "คำภาษาบาลีจะมีตัวสะกดและตัวตามตามกฎเกณฑ์ที่แน่นอน"
ทำอธิบาย "ตัวสะกด" หมายถึงพยัญชนะที่ออกเสียงตามหลังสระของพยางค์ เช่น
        สุนทร    ตัว น เป็นตัวสะกด
        ตัณหา    ตัว ณ เป็นตัวสะกด
        "ตัวตาม" หมายถึงพยัญชนะที่ตามหลังตัวสะกด เช่น
        สุนทร    ตัว ท เป็นตัวตาม
        ตัณหา ตัว ห เป็นตัวตาม
        ในภาษาบาลีเมื่อมีตัวสะกดจะต้องมีตัวตามเสมอ
 กฎเกณฑ์เกี่ยวกับตัวสะกดและตัวตามในภาษาบาลีมีดังนี้
        ๑. เมื่อพยัญชนะแถวที่ ๑ ของวรรคใดวรรคหนึ่งเป็นตัวสะกดพยัญชนะแถวที่ ๑ และแถวที่ ๒
ของวรรคนั้นเป็นตัวตามเสมอ เช่น
        -พยัญชนะแถวที่ ๑ เป็นตัวสะกดพยัญชนะแถวที่ ๑ เป็นตัวตาม ตัวอย่าง
                ตัว ก สะกดตัว ก ตาม เป็น กก เช่น จัก (จกฺก) ตัก (ตกฺก)
                ตัว จ สะกดตัว จ ตาม เป็น จจ เช่น นิจ (นิจฺจ) กิจ (กิจฺจ)
                ตัว ฏ สะกดตัว ฎ ตาม เป็น ฏฏ เช่น วัฏ (วฏฺฏ)
                ตัว ต สะกดตัว ต ตาม เป็น ตต เช่น อัตตา จิต (จิตฺต)
                ตัว ป สะกดตัว ป ตาม เป็น ปป เช่น กัป (กปฺป) สัปปิ
หมายเหตุ  ตัวสะกดและตัวตามตัวเดียวกันในภาษาบาลีถ้าตัวตามไม่มีสระกำกับเมื่อมาถึงภาษา
ไทยเราจะตัวตัวตามออกเหลือเพียงตัวเดียวเช่นตัวตัวอย่างที่ยกมาทั้งหมด ในวงเล็บคือคำที่เป็นภาษาบาลีเดิม 
        -พยัญชนะแถวที่ ๑ เป็นตัวสะกดพยัญชนะแถวที่ ๒ เป็นตัวตาม เช่น
                ตัว ก สะกด ตัว ข ตาม เป็น กข เช่น ทุกข์ ปักข์
                ตัว จ สะกด ตัว ฉ ตาม เป็น จฉ เช่น ปัจฉา มิจฉา
                ตัว ฎ สะกด ตัว ฐ ตาม เป็น ฏฐ เช่น อิฐ (อิฏฺฐิ) โอฐ (โอฏฺฐ)
หมายเหตุ  เมื่อมาถึงภาษาไทยเราจะตัดตัว ฏ ออก
                ตัว ต สะกด ตัว ถ ตาม เป็น ตถ เช่น วัตถุ วิตถาร
                ตัว ป สะกด ตัว ผ ตาม เป็น ปผ เช่น บุปผา เป็นต้น

        ๒. เมื่อพยัญชนะแถวที่ ๓ เป็นตัวสะกด พยัญชนะแถวที่ ๓ และ แถวที่ ๔ เป็นตัวตาม  เช่น
        -พยัญชนะแถวที่ ๓ เป็นตัวสะกดพยัญชนะแถวที่ ๓ เป็นตัวตาม เช่น
                ตัว ค สะกดตัว ค ตาม เป็น คค เช่น อัคคี บุคคล
                ตัว ช สะกดตัว ช ตาม เป็น ชช เช่น วิชา (วิชฺชา)  เวชชา
                ตัว ฑ สะกดตัว ฑ ตาม เป็น ฑฑ เช่น ฉุฑฑะ
                ตัว ท สะกดตัว ท ตาม เป็น ทท ไม่ค่อยมีใช้
                ตัว พ สะกดตัว พ ตาม เป็น พพ เช่น ปัพพาชนีย์ ลัพ
        -พยัญชนะแถวที่ ๓ เป็นตัวสะกดพยัญชนะแถวที่ ๔ เป็นตัวตาม เช่น
                ตัว ค สะกดตัว ฆ ตาม เป็น คฆ เช่น พยัคฆา (เสือ)
                ตัว ช สะกดตัว ฌ ตาม เป็น ชฌ เช่น มัชฌิม (กลาง)
                ตัว ฑ สะกดตัว ฒ ตาม เป็น ฑฒ (เรามาใช้เป็น ฒ ตัวเดียว) เช่น วุฒิ (วุฑฒิ)
                ตัว ท สะกดตัว ธ ตาม เป็น ทธ เช่น สิทธิ์
                ตัว พ สะกดตัว ภ ตาม เป็น พภ เช่น ลัพภ์
        ๓. เมื่อพยัญชนะแถวที่ ๕ เป็นตัวสะกดพยัญชนะทุกแถวในวรรคเดียวกันเป็นตัวตามได้ เช่น
                ตัว ง สะกดตัว ก ข ค ฆ ง เป็นตัวตาม (ตัว ง สะกดตัว ง ตาม ไม่มีใช้) เช่น
                     ปงกช สังขาร อังคาร สงฆ์
                ตัว ญ สะกดตัว จ ฉ ช ฌ ญ เป็นตัวตาม เช่น สัญจร ปุญฉนะ  อัญชลี ปัญญา
                ตัว ณ สะกด ตัว ฎ ฐ ฑ ฒ ณ เป็นตัวตาม เช่น ตัณฏกะ กัณฑ์ ปัณณะ
                ตัว น สะกด ตัว ต ถ ท ธ น เป็นตัวตาม เช่น อันตะ คันถะ นันท์ สนธิ อันนะ
                ตัว ม สะกดตัว ป (บ) ผ พ ภ ม เป็นตัวตาม เช่น สัมปทาน สัมผัส อัมพร   เป็นต้น
๔.  "คำบาลีจะใช้ตัว ฬ ในขณะที่ในภาษาสันสกฤตใช้ตัว ฑ เช่น ครุฬ กีฬา 
หมายเหตุ  คำว่า ปลาวาฬ เป็นคำมาจากภาษาอังกฤษ
๕.  คำบาลีจะใช้ตัว ส เพียงตัวเดียว ถ้าเห็นตัว ศ และ ษ จะไม่ใช้คำที่มาจากภาษาบาลี
        อธิบาย   คำบาลีจะใช้ตัว ส เพียงตัวเดียวแต่ภาษาสันสกฤตจะใช้ ศ  ษ  ส โดยมี
หลักการใช้ ศ  ษ  ศ (ของภาษาสันสกฤต) ดังนี้
        -ตัว ศ จะใช้ร่วมกันพยัญชนะวรรค จ คือ จ ฉ ช ฌ ญ เช่น พฤศจิก อัศจรรย์ เป็นต้น
        -ตัว ษ จะให้ร่วมกับพยัญชนะวรรค ฏ คือ ฏ (ฎ) ฐ ฑ ฒ ณ เช่น พฤษภา และตามหลังตัว
                ก เช่น เกษตร กษัตริย์ เป็นต้น
        -ตัว ส จะใช้ร่วมกับพยัญชนะวรรค ต คือ ต (ด) ถ ท ธ น เช่น วัสดุ พิสดาร เป็นต้น
๖.  คำบาลีจะมีสระใช้เพียง ๘ เสียง คือ อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ถ้าพบคำที่ใช้สระอื่นนอกจากนี้จะไม่ใช้คำที่มาจากภาษาบาลี (อาจจะมีคำที่มาจากภาษาบาลีที่มีการเปลี่ยนสระบ้าง เช่น จิร เป็น เจียร เป็นต้น)

แบบฝึกหัดเรื่อง หลักสังเกตคำบาลีในภาษาไทย
                                  เป็น           ไม่เป็น
๑.กิจ                       ………..             ………..   
 ๒.ไกร                     ………..             ………..   
 ๓.กีฬา                     ………..             ………..   
 ๔.บงกช                     ………..             ………..   
 ๕.ใหม่                     ………..             ………..   
 ๖.หรีด                     ………..             ………..   
 ๗.ปัญญา                     ………..             ………..   
 ๘.พัสดุ                     ………..             ………..   
 ๙.หาญ                     ………..             ………..   
๑๑.พัฒนา                     ………..             ………..   
๑๑.ไพบูลย์                     ………..             ………..   
๑๒.บ๊วย                     ………..             ………..   
๑๓.ปราศรัย                     ………..             ………..   
๑๔.ศีล                     ………..             ………..   
๑๕.วุฒิ                     ………..             ………..   
๑๖.ภาษา                     ………..             ………..   
๑๗.ตำบล                     ………..             ………..   
๑๘.วิชา                     ………..             ………..   
๑๙.คลินิก                     ………..             ………..   
๒๑.ศึกษา                     ………..             ………..   
๒๑.สัญญา                     ………..             ………..   
๒๒.ซิงฮื้อ                     ………..             ………..   
๒๓.เทอม                     ………..             ………..   
๒๔.โอรส                     ………..             ………..   
๒๕.สบู่                     ………..             ………..   
๒๖.อูฐ                     ………..             ………..   
๒๗.บุรุษ                     ………..             ………..   
๒๘.บังคล                     ………..             ………..   
๒๙.มัจฉา                     ………..             ………..   
๓๑.สันติ                     ………..             ………..   
๓๑.คัมภีร์                     ………..             ………..   
๓๒.สิทธิ                     ………..             ………..   
๓๓.ฟุตบอล                     ………..             ………..   
๓๔.กำจัด                     ………..             ………..   
๓๕.ทหาร                     ………..             ………..   
๓๖.มัชฌิม                     ………..             ………..   
๓๗.กัลป์                     ………..             ………..   
๓๘.วิทยา                     ………..             ………..   
๓๙.วัตถุ                     ………..             ………..   
๔๑.อัญชลี                     ………..             ………..   

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 362 คน กำลังออนไลน์