• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:87af8cdad81d687c9a7dbbd031ac94a5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h1 align=\"center\">หลักสังเกตคำไทยที่ยมมาจากภาษาเขมร</h1>\n<h3>\n        คำเขมรที่เรารับมาใช้ในภาษาไทยส่วนมากมีการเปลี่ยนแปลงรูปคำเสียใหม่ ทั้งนี้เป็นเพราะมี<br />\nคำเขมรอยู่เป็นจำนวนมากที่เขียนรูปอย่างหนึ่งแต่อ่านออกเสียงอีกอย่างหนึ่ง ไม่ตรงกับรูปที่เขียน ถ้าเรา<br />\nจะเขียนตามเสียงพูดก็จะไม่ตรงกับตัวเขียนเดิมในภาษาของเขา และบางคำก็เขียนตามเสียงที่เราอ่านถนัด<br />\nปากในภาษาไทย แต่ก็มีหลักบางประการที่จะให้สังเกตคำเขมรในภาษาไทยได้ คือ<br />\n         ๑. ภาษาเขมรมักจะเป็นคำหลายพยางค์และเขียนในรูปอักษรควบกล้ำและอักษรนำ เช่น<br />\nกระบือ ตรวจ โขมด เกลอ สไบ ประทม ตริ ขจัด สนอง ผลาญ เปรอ เสวย จรวด กรม กระทรวง <br />\nสดับ เป็นต้น<br />\n         ๒. คำเขมรมักจะมี &quot;ประ&quot; &quot;บรร&quot; &quot;กระ&quot; บัน&quot; &quot;บำ&quot; นำหน้า โดยเฉพาะคำที่มี &quot;บรร&quot; <br />\nนำหน้าที่แผลงเป็น &quot;ประ&quot; ได้จะเป็นคำที่มาจากภาษาเขมรทั้งหมด เช่น ประจุ บรรจุ ประชุม ประแกก<br />\n (วิวาท) บรรสาน ประสาน บรรเลง กระลา กระเวน กรรเชียง กระจอก กรรบิด กรรแทก กระแทก<br />\n เป็นต้น<br />\n หมายเหตุ  คำที่มีลักษณะนี้บางคำก็ไม่ได้มาจากภาษาเขมร เช่น ประทาน บรรยากาศ บรรพต บรรพชิต เป็นต้น<br />\n         ๓. คำเขมรมีการสร้างคำกริยาให้เป็นคำนามโดยการเติมคำเติมกลาง &quot;อำ&quot; และ &quot;อำน&quot; เช่น<br />\n        ตริ      เป็น        ดำริ         อาจ        เป็น        อำนาจ<br />\n        ตรัส     เป็น        ดำรัส        จง         เป็น        จำนง<br />\n        เปรอ    เป็น        บำเรอ       สาง        เป็น        สำอาง<br />\n        ตรวจ    เป็น        ตำรวจ       ไกร        เป็น        กำไร<br />\n                                   เป็นต้น                 <br />\n        ๔. คำเขมรในภาษาไทยเมื่ออ่านออกเสียงสะกดในแม่ &quot;กน&quot; มักจะใช้ตัว ญ ร ล เป็นตัวสะกด เช่น กังวล ขจร จาร กำธร ทหาร หาญ บันดาล เป็นต้น<br />\n หมายเหตุ  คำที่ใช้ตัวสะกดเหล่านี้ส่วนมากก็มาจากภาษาอื่น เช่น กาล กล กมล การ <br />\nสาร มาร ปัญญา ปัญหา ศาล กาญจน์ เป็นต้น<br />\n         ๕. คำเขมรในภาษาไทยเมื่ออ่านออกเสียงสะกดในแม่ &quot;กด&quot; มักจะใช้ตัว ส และ จ สะกด เช่น<br />\nเผด็จ เสด็จ ตรัส ตรวจ โปรส (โปรด) โสรจ กาจ อาจ เป็นต้น </h3>\n<h2>       แบบฝึกหัด  เรื่อง  หลักสังเกตคำไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร</h2>\n<h2>                                 คำเขมร                    ไม่เป็น<br />\n๑.บังคม               ………….                      ………...  <br />\n ๒.มาร             ………….                      ………...  <br />\n ๓.กำจัด             ………….                      ………...  <br />\n ๔.กิจ             ………….                      ………...  <br />\n ๕.ตรวจ             ………….                      ………...  <br />\n ๖.กังวล             ………….                      ………...  <br />\n ๗.สัน             ………….                      ………...  <br />\n ๘.ประกาย             ………….                      ………...  <br />\n ๙.บรรยาย             ………….                      ………...  <br />\n๑๐.จาน             ………….                      ………...  <br />\n๑๑.ควร             ………….                      ………...  <br />\n๑๒.ตำบล             ………….                      ………...  <br />\n๑๓.ถนำ             ………….                      ………...  <br />\n๑๔.มาก             ………….                      ………...  <br />\n๑๕.สบาย             ………….                      ………...  <br />\n๑๖.มัก             ………….                      ………...  <br />\n๑๗.ศอก             ………….                      ………...  <br />\n๑๘.ฟุตบอล             ………….                      ………...  <br />\n๑๙.ดำเนิน             ………….                      ………...  <br />\n๒๐.บังสาด             ………….                      ………...  <br />\n๒๑.สาร             ………….                      ………...  <br />\n๒๒.โอรส             ………….                      ………...  <br />\n๒๓.โขมด             ………….                      ………...  <br />\n๒๔.กรรบิด             ………….                      ………...  <br />\n๒๕.เชวง             ………….                      ………...  <br />\n๒๖.เทอม             ………….                      ………...  <br />\n๒๗.สำราญ             ………….                      ………...  <br />\n๒๘.บรรหาร             ………….                      ………...  <br />\n๒๙.เข็ญ             ………….                      ………...  <br />\n๓๐.บรรพต             ………….                      ………...  <br />\n๓๑.ใหญ่             ………….                      ………...  <br />\n๓๒.ผลิต             ………….                      ………...  <br />\n๓๓.ผจง             ………….                      ………...  <br />\n๓๔.จำนง             ………….                      ………...  <br />\n๓๕.สำอาง             ………….                      ………...  <br />\n๓๖.กรอ             ………….                      ………...  <br />\n๓๗.ประกบ             ………….                      ………...  <br />\n๓๘.เสด็จ             ………….                      ………...  <br />\n๓๙.กำนัล             ………….                      ………...  <br />\n๔๐.ศอ             ………….                      ………...  <br />\n</h2>\n<h1>แบบทดสอบ เรื่อ  หลักสังเกตคำไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร</h1>\n<h3>คำสั่ง  นักเรียนจงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดแล้วทำเครื่องหมาย     ในช่องที่ตรงกับหัวข้อที่นักเรียนเลือกแล้วเพียงข้อเดียว<br />\n๑. ลักษณะใดเป็นลักษณะเฉพาะของภาษาเขมร ?<br />\nก. เป็นคำพยางค์เดียว<br />\n     ข. ใช้ ไอ พยางค์เดียว<br />\nค. ใช้ เอา หลายพยางค์         <br />\nง. ใช้อักษรนำและอักษรควบกล้ำ<br />\n๒. ข้อใดเป็นคำเขมร ?<br />\n     ก. บัณฑิต<br />\n     ข. บังควร<br />\n     ค. บรรยาย<br />\n     ง. ประกาศ<br />\n๓. ข้อใดเป็นคำเขมร ?<br />\n     ก. ผี<br />\n     ข. มาร<br />\n     ค. ยักษ์<br />\n     ง. โขมด<br />\n๔. ข้อใดเป็นคำเขมร ?<br />\n     ก. การ<br />\n     ข. มาร<br />\n     ค. สาร<br />\n     ง. ทหาร<br />\n๕. ข้อใดเป็นคำเขมรทุกคำ ?<br />\n     ก. กำราล       มล<br />\n     ข. กราล        พล<br />\n     ค. สกล         ถกล<br />\n     ง. กังวล        ตำบล<br />\n๖. ข้อใดเป็นคำเขมรทุกคำ ?<br />\n     ก. ดำริ         อำมาตย์<br />\n     ข. บำรุง        อำมฤต<br />\n     ค. สำอาง       นำโชค<br />\n     ง. ดำรัส        กำจัด<br />\n๗. ข้อใดเป็นคำเขมรทุกคำ ?<br />\n     ก. ตรวจ        โปรด<br />\n     ข. โสรจ        โรจน์<br />\n     ค. กระฉูด       ปรัศว์<br />\n     ง. ละงาด       นิจ<br />\n๘. ข้อใดเป็นคำเขมรทุกคำ ?<br />\n     ก. ศอ     พิศ<br />\n     ข. ศก     ศิษย์<br />\n     ค. ทิศ     ศาล<br />\n     ง. ศพ     พิศวง<br />\n๙. ข้อใดเป็นคำเขมรทุกคำ ?<br />\n     ก. ประทับ       กระจอก    ผกาย<br />\n     ข. ประจิม       กระแทก    บังอาจ<br />\n     ค. ประชุม       กระจร     ประกาย<br />\n     ง. ประเจิด      กระทรวง   ประพฤติ<br />\n๑๐. ข้อใดมีคำที่มาจากภาษาเขมรอยู่ด้วย ?<br />\n     ก. ถึงครานี้ยังมีแรงใจแกร่งอยู่<br />\n     ข. เลือดนักสู้ทุกหยดหยาดยังอาจหาญ<br />\n     ค. แม้ชราร่างกายยังใช้งาน<br />\n     ง. พร้อมปกบ้านป้องเมืองให้เลื่องลือ\n<p>  <span style=\"color: #ff0000\">จัดทำโดยนายประเสริฐ  ศรีราชพัฒน์ ร.ร.ฉวางรัชดาภิเษก อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช โทรฯ ๐๘๙๘๗๒๘๔๙๒</span></p></h3>\n', created = 1715657050, expire = 1715743450, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:87af8cdad81d687c9a7dbbd031ac94a5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หลักสังเกตคำไทยที่ยืมมาจากาษาเขมร

รูปภาพของ chrprasert

หลักสังเกตคำไทยที่ยมมาจากภาษาเขมร

        คำเขมรที่เรารับมาใช้ในภาษาไทยส่วนมากมีการเปลี่ยนแปลงรูปคำเสียใหม่ ทั้งนี้เป็นเพราะมี
คำเขมรอยู่เป็นจำนวนมากที่เขียนรูปอย่างหนึ่งแต่อ่านออกเสียงอีกอย่างหนึ่ง ไม่ตรงกับรูปที่เขียน ถ้าเรา
จะเขียนตามเสียงพูดก็จะไม่ตรงกับตัวเขียนเดิมในภาษาของเขา และบางคำก็เขียนตามเสียงที่เราอ่านถนัด
ปากในภาษาไทย แต่ก็มีหลักบางประการที่จะให้สังเกตคำเขมรในภาษาไทยได้ คือ
         ๑. ภาษาเขมรมักจะเป็นคำหลายพยางค์และเขียนในรูปอักษรควบกล้ำและอักษรนำ เช่น
กระบือ ตรวจ โขมด เกลอ สไบ ประทม ตริ ขจัด สนอง ผลาญ เปรอ เสวย จรวด กรม กระทรวง
สดับ เป็นต้น
         ๒. คำเขมรมักจะมี "ประ" "บรร" "กระ" บัน" "บำ" นำหน้า โดยเฉพาะคำที่มี "บรร"
นำหน้าที่แผลงเป็น "ประ" ได้จะเป็นคำที่มาจากภาษาเขมรทั้งหมด เช่น ประจุ บรรจุ ประชุม ประแกก
 (วิวาท) บรรสาน ประสาน บรรเลง กระลา กระเวน กรรเชียง กระจอก กรรบิด กรรแทก กระแทก
 เป็นต้น
 หมายเหตุ  คำที่มีลักษณะนี้บางคำก็ไม่ได้มาจากภาษาเขมร เช่น ประทาน บรรยากาศ บรรพต บรรพชิต เป็นต้น
         ๓. คำเขมรมีการสร้างคำกริยาให้เป็นคำนามโดยการเติมคำเติมกลาง "อำ" และ "อำน" เช่น
        ตริ      เป็น        ดำริ         อาจ        เป็น        อำนาจ
        ตรัส     เป็น        ดำรัส        จง         เป็น        จำนง
        เปรอ    เป็น        บำเรอ       สาง        เป็น        สำอาง
        ตรวจ    เป็น        ตำรวจ       ไกร        เป็น        กำไร
                                   เป็นต้น                
        ๔. คำเขมรในภาษาไทยเมื่ออ่านออกเสียงสะกดในแม่ "กน" มักจะใช้ตัว ญ ร ล เป็นตัวสะกด เช่น กังวล ขจร จาร กำธร ทหาร หาญ บันดาล เป็นต้น
 หมายเหตุ  คำที่ใช้ตัวสะกดเหล่านี้ส่วนมากก็มาจากภาษาอื่น เช่น กาล กล กมล การ
สาร มาร ปัญญา ปัญหา ศาล กาญจน์ เป็นต้น
         ๕. คำเขมรในภาษาไทยเมื่ออ่านออกเสียงสะกดในแม่ "กด" มักจะใช้ตัว ส และ จ สะกด เช่น
เผด็จ เสด็จ ตรัส ตรวจ โปรส (โปรด) โสรจ กาจ อาจ เป็นต้น

       แบบฝึกหัด  เรื่อง  หลักสังเกตคำไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร

                                 คำเขมร                    ไม่เป็น
๑.บังคม               ………….                      ………... 
 ๒.มาร             ………….                      ………... 
 ๓.กำจัด             ………….                      ………... 
 ๔.กิจ             ………….                      ………... 
 ๕.ตรวจ             ………….                      ………... 
 ๖.กังวล             ………….                      ………... 
 ๗.สัน             ………….                      ………... 
 ๘.ประกาย             ………….                      ………... 
 ๙.บรรยาย             ………….                      ………... 
๑๐.จาน             ………….                      ………... 
๑๑.ควร             ………….                      ………... 
๑๒.ตำบล             ………….                      ………... 
๑๓.ถนำ             ………….                      ………... 
๑๔.มาก             ………….                      ………... 
๑๕.สบาย             ………….                      ………... 
๑๖.มัก             ………….                      ………... 
๑๗.ศอก             ………….                      ………... 
๑๘.ฟุตบอล             ………….                      ………... 
๑๙.ดำเนิน             ………….                      ………... 
๒๐.บังสาด             ………….                      ………... 
๒๑.สาร             ………….                      ………... 
๒๒.โอรส             ………….                      ………... 
๒๓.โขมด             ………….                      ………... 
๒๔.กรรบิด             ………….                      ………... 
๒๕.เชวง             ………….                      ………... 
๒๖.เทอม             ………….                      ………... 
๒๗.สำราญ             ………….                      ………... 
๒๘.บรรหาร             ………….                      ………... 
๒๙.เข็ญ             ………….                      ………... 
๓๐.บรรพต             ………….                      ………... 
๓๑.ใหญ่             ………….                      ………... 
๓๒.ผลิต             ………….                      ………... 
๓๓.ผจง             ………….                      ………... 
๓๔.จำนง             ………….                      ………... 
๓๕.สำอาง             ………….                      ………... 
๓๖.กรอ             ………….                      ………... 
๓๗.ประกบ             ………….                      ………... 
๓๘.เสด็จ             ………….                      ………... 
๓๙.กำนัล             ………….                      ………... 
๔๐.ศอ             ………….                      ………... 

แบบทดสอบ เรื่อ  หลักสังเกตคำไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร

คำสั่ง  นักเรียนจงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดแล้วทำเครื่องหมาย     ในช่องที่ตรงกับหัวข้อที่นักเรียนเลือกแล้วเพียงข้อเดียว
๑. ลักษณะใดเป็นลักษณะเฉพาะของภาษาเขมร ?
ก. เป็นคำพยางค์เดียว
     ข. ใช้ ไอ พยางค์เดียว
ค. ใช้ เอา หลายพยางค์        
ง. ใช้อักษรนำและอักษรควบกล้ำ
๒. ข้อใดเป็นคำเขมร ?
     ก. บัณฑิต
     ข. บังควร
     ค. บรรยาย
     ง. ประกาศ
๓. ข้อใดเป็นคำเขมร ?
     ก. ผี
     ข. มาร
     ค. ยักษ์
     ง. โขมด
๔. ข้อใดเป็นคำเขมร ?
     ก. การ
     ข. มาร
     ค. สาร
     ง. ทหาร
๕. ข้อใดเป็นคำเขมรทุกคำ ?
     ก. กำราล       มล
     ข. กราล        พล
     ค. สกล         ถกล
     ง. กังวล        ตำบล
๖. ข้อใดเป็นคำเขมรทุกคำ ?
     ก. ดำริ         อำมาตย์
     ข. บำรุง        อำมฤต
     ค. สำอาง       นำโชค
     ง. ดำรัส        กำจัด
๗. ข้อใดเป็นคำเขมรทุกคำ ?
     ก. ตรวจ        โปรด
     ข. โสรจ        โรจน์
     ค. กระฉูด       ปรัศว์
     ง. ละงาด       นิจ
๘. ข้อใดเป็นคำเขมรทุกคำ ?
     ก. ศอ     พิศ
     ข. ศก     ศิษย์
     ค. ทิศ     ศาล
     ง. ศพ     พิศวง
๙. ข้อใดเป็นคำเขมรทุกคำ ?
     ก. ประทับ       กระจอก    ผกาย
     ข. ประจิม       กระแทก    บังอาจ
     ค. ประชุม       กระจร     ประกาย
     ง. ประเจิด      กระทรวง   ประพฤติ
๑๐. ข้อใดมีคำที่มาจากภาษาเขมรอยู่ด้วย ?
     ก. ถึงครานี้ยังมีแรงใจแกร่งอยู่
     ข. เลือดนักสู้ทุกหยดหยาดยังอาจหาญ
     ค. แม้ชราร่างกายยังใช้งาน
     ง. พร้อมปกบ้านป้องเมืองให้เลื่องลือ

  จัดทำโดยนายประเสริฐ  ศรีราชพัฒน์ ร.ร.ฉวางรัชดาภิเษก อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช โทรฯ ๐๘๙๘๗๒๘๔๙๒

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 488 คน กำลังออนไลน์