• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e72eb82e598b074d484d052a246571af' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nหลักสังเกตคำไทย\n</p>\n<h2> ๑. คำไทยแท้จะต้องเป็นคำพยางค์เดียวหรือที่เรียกว่า &quot;คำโดด&quot; ได้แก่คำที่ออกเสียงพยางค์เดียวมีความหมายในภาษาได้แก่กลุ่มคำที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ </h2>\n<h2>     -คำที่เรียกเครือญาติในภาษาสามัญ เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง ลูก หลาน เหลน เป็นต้น </h2>\n<h2>     -คำที่ใช้เรียกอวัยวะในภาษาสามัญ เช่น ตา หู คอ ดั้ง แขน ขา เป็นต้น (คำว่า &quot;จมูก&quot; เป็นคำที่มาจากภาษาเขมร ตรงกับคำไทยว่า &quot;ดั้ง&quot;) -คำกริยาในภาษาสามัญ เช่น ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทำ พูด คิด เป็นต้น -คำที่บอกจำนวนนับ เช่น หนึ่ง สอง สาม ... </h2>\n<h2>     -คำที่ใช้เรียกสิ่งของใช้ในบ้านทั่ว ๆ ไป เช่น จาน ชาม ถ้วย แก้ว หม้อ ไห เป็นต้น </h2>\n<h2>   ๒. คำไทยแท้จะไม่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต หรือ การันต์ (อ์) เช่น กัน มัน สัน เป็นต้น หมายเหตุ คำไทยมีคำที่ใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต ๓ คำ คือ ผี้ว์ แปลว่า ถ้าว่า หากว่า แม้นว่า มาจากคำว่า ผิว มาห์ แปลว่า ผี ยักษ์ อมนุษย์ ดิรัจฉาน เยียร์ แปลว่า งามยิ่ง งามเพริศพริ้ง (คำเหล่านี้จะพบได้เฉพาะในวรรณคดีเก่า ๆ เท่านั้น) (จาก หนังสือหลักภาษาไทย ของ กำชัย ทองหล่อ หน้า ๙๔) </h2>\n<h2>   ๓. คำไทยแท้จะสะกดตรงตามมาตรา คือ มีเสียงสะกดในมาตราใดก็ใช้ตัวนั้นสะกด เช่น มาก จาก คบ สาด คด น้อย เป็นต้น คำว่า เลข สรรพ คต ญาณ ไม่เป็นคำไทยเพราะสะกดไม่ตรงมาตรา </h2>\n<h2>   ๔. คำที่ใช้สระ ใอ ทั้งหมดเป็นคำไทย </h2>\n<h2>   ๕. คำที่ใช้ ไอ ส่วนมากก็เป็นคำไทยโดยดูที่คำนั้นจะมีพยางค์เดียวและไม่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต เช่น ไป ไหน ไกล ไว ไว้ เป็นต้น </h2>\n<h2>   ๖. คำไทยที่ใช้ ตัว &quot;ษ&quot; มีเพียงคำเดียวคือ ดาษ กระดาษ ดาษดา </h2>\n<h2>   ๗. คำไทยที่ใช้ตัว ศ มีเพียงคำว่า ศึก ศอก เศิก เศร้า เท่านั้น นอกจากนั้นคำใช้ &quot;ศ&quot; มาจากภาษาต่างประเทศทั้งสิ้น (คำว่า เศิก เป็นคำแผลงมาจาก ศึก พบได้ในวรรณคดีเท่านั้น) หมายเหตุ การที่จะพิจารณาว่าคำใดเป็นคำไทยหรือไม่นั้นจะต้องใช้กฎเกณฑ์หลาย ๆ ข้อประกอบกัน จะใช้กฎเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งเท่านั้นจะไม่ได้ บางทีก็ต้องใช้ความรู้จากการศึกษา ภาษาต่างประเทศด้วยเพราะมีคำที่มาจากภาษาต่างประเทศบางคำที่มีการเขียนแบบเดียวกับคำไทย เช่น แยม หรีด รีม วิก ซึ่งต่างก็เป็นคำที่มาจากภาษาอังกฤษทั้งหมดแต่เขียนแบบคำไทย </h2>\n<h3>แบบฝึกหัด เรื่อง หลักสังเกตคำไทย</h3>\n<h3>                     คำไทย              ไม่เป็นคำไทย<br />\n๑.น้อง       ……….                 …………….<br />\n ๒.ศักดิ์      ……….                 …………….<br />\n๓.เศร้า      ……….                 …………….<br />\n๔.มา      ……….                 …………….<br />\n๕.ปลา      ……….                 …………….<br />\n๖.ภาษา      ……….                 …………….<br />\n ๗.ศาสนา      ……….                 …………….<br />\n ๘.คม      ……….                 …………….<br />\n ๙.เมฆ      ……….                 …………….<br />\n๑๐.อักษร      ……….                 …………….<br />\n๑๑.กร      ……….                 …………….<br />\n๑๒ ใส่      ……….                 …………….<br />\n๑๓.ไส      ……….                 …………….<br />\n๑๔.กฎ      ……….                 …………….<br />\n๑๕.โศก      ……….                 …………….<br />\n๑๖.แยม      ……….                 …………….<br />\n๑๗.กรุง      ……….                 …………….<br />\n๑๘.ทุเรียน      ……….                 …………….<br />\n๑๙.เยอะ      ……….                 …………….<br />\n๒๐.สร้าง      ……….                 …………….<br />\n๒๑.กริยา      ……….                 …………….<br />\n๒๒.ปี      ……….                 …………….<br />\n๒๓.เก้าอี้      ……….                 …………….<br />\n๒๔.จริง      ……….                 …………….<br />\n๒๕.ไทม์      ……….                 …………….<br />\n๒๖.สันต์      ……….                 …………….<br />\n๒๗.วรรค      ……….                 …………….<br />\n๒๘.ฤทัย      ……….                 …………….<br />\n๒๙.ฌาน      ……….                 …………….<br />\n๓๐.วิทยา      ……….                 …………….<br />\n๓๑.เมื่อ      ……….                 …………….<br />\n๓๒.เท้า      ……….                 …………….<br />\n๓๓.ลัพย์      ……….                 …………….<br />\n๓๔.เลี้ยง      ……….                 …………….<br />\n๓๕.แก้ว      ……….                 …………….<br />\n๓๖.เศิก      ……….                 …………….<br />\n๓๗.ม่าห์      ……….                 …………….<br />\n๓๘.เสริม      ……….                 …………….<br />\n๓๙.ดึงส์      ……….                 …………….<br />\n๔๐.ใช้      ……….                 …………….<br />\n๔๑.ปะทะ      ……….                 …………….<br />\n๔๒.มาร      ……….                 …………….<br />\n๔๓.โลภ      ……….                 …………….<br />\n๔๔.โจทย์      ……….                 …………….<br />\n๔๕.มรณ์      ……….                 …………….<br />\n๔๖.กรรม      ……….                 …………….<br />\n๔๗.สูญ      ……….                 …………….<br />\n๔๘.กวน      ……….                 …………….<br />\n๔๙.จิต      ……….                 …………….<br />\n๕๐.มัด      ……….                 …………….</h3>\n<h3>                                                    แบบทดสอบ เรื่อง หลักสังเกตคำไทย</h3>\n<h3>คำสั่ง  นักเรียนจงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดแล้วทำเครื่องหมาย X  ในช่องที่ตรงกับหัวข้อที่นักเรียนเลือกแล้วเพียงข้อเดียว<br />\n <br />\n๑.ลักษณะที่สำคัญที่สุดของคำไทยคือ ข้อใด ?<br />\n    ก. เป็นคำพยางค์เดียว<br />\n    ข. ไม่มีคำที่ใช้ตัว ศ และตัว ษ<br />\n     ค. จะต้องมีตัวสะกดตรงตามมาตรา<br />\n     ง. ไม่มีเครื่องหมายทัณฑฆาตหรือการันต์<br />\n๒. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ ?<br />\n     ก. คม<br />\n     ข. ชล<br />\n     ค. กรณ์<br />\n     ง. วรรณ<br />\n๓. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ ?<br />\n     ก. นัย<br />\n     ข. ไมล์<br />\n     ค. ใหญ่<br />\n     ง. ตรัย<br />\n๔. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ ?<br />\n     ก. ไกร<br />\n     ข. กรุง<br />\n     ค. กริ้ง<br />\n     ง. กรัม<br />\n๕. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ ?<br />\n     ก. โศก    ศึก<br />\n     ข. เศษ    ศก<br />\n     ค. เศิก    ศอ<br />\n     ง. ศอก    เศร้า<br />\n๖. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ ?<br />\n     ก. จาน    จริง<br />\n     ข. ศรี     เสริม<br />\n     ค. สร้าง   สรรค์<br />\n     ง. ทรวง   ทรัมเป็ต<br />\n๗. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ ?<br />\n     ก. พ่อ     อนุชา      ตา<br />\n     ข. ชนก    แม่        ย่า<br />\n     ค. บุตร    ปู่         อา<br />\n     ง. พี่      น้อง       ลูก<br />\n๘. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ ?<br />\n     ก. กุ้ง     ปลา       ปู<br />\n     ข. ม้า     อาชา      ลา<br />\n     ค. เสือ    สัตว์       ชะนี<br />\n     ง. หงส์    สาง       มังกร <br />\n๙.  ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ ?<br />\n     ก. หนึ่ง    เอก       โท<br />\n     ข. น้อย    อนันต์      เบา<br />\n     ค. เยอะ   มาก       หลาย<br />\n     ง. พหุ     อเนก      มากมาย<br />\n๑๐. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ ?<br />\n     ก. ใส่     สไปรท์     ไข้<br />\n     ข. ใบ     ไส        ไว้<br />\n     ค. ใหม่    ไลน์       ไซร้<br />\n     ง. ใคร    ไนน์       ใกล้\n<p>      <span style=\"color: #ff0000\">จัดทำโดย นายประเสริฐ ศรีราชพัฒน์ ร.ร.ฉวางรัชดาภิเษก อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช ๐๘๙๘๗๒๘๔๙๒</span></p></h3>\n', created = 1715682028, expire = 1715768428, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e72eb82e598b074d484d052a246571af' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หลักสังเกตคำไทย

รูปภาพของ chrprasert

หลักสังเกตคำไทย

 ๑. คำไทยแท้จะต้องเป็นคำพยางค์เดียวหรือที่เรียกว่า "คำโดด" ได้แก่คำที่ออกเสียงพยางค์เดียวมีความหมายในภาษาได้แก่กลุ่มคำที่มีลักษณะดังต่อไปนี้

     -คำที่เรียกเครือญาติในภาษาสามัญ เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง ลูก หลาน เหลน เป็นต้น

     -คำที่ใช้เรียกอวัยวะในภาษาสามัญ เช่น ตา หู คอ ดั้ง แขน ขา เป็นต้น (คำว่า "จมูก" เป็นคำที่มาจากภาษาเขมร ตรงกับคำไทยว่า "ดั้ง") -คำกริยาในภาษาสามัญ เช่น ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทำ พูด คิด เป็นต้น -คำที่บอกจำนวนนับ เช่น หนึ่ง สอง สาม ...

     -คำที่ใช้เรียกสิ่งของใช้ในบ้านทั่ว ๆ ไป เช่น จาน ชาม ถ้วย แก้ว หม้อ ไห เป็นต้น

   ๒. คำไทยแท้จะไม่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต หรือ การันต์ (อ์) เช่น กัน มัน สัน เป็นต้น หมายเหตุ คำไทยมีคำที่ใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต ๓ คำ คือ ผี้ว์ แปลว่า ถ้าว่า หากว่า แม้นว่า มาจากคำว่า ผิว มาห์ แปลว่า ผี ยักษ์ อมนุษย์ ดิรัจฉาน เยียร์ แปลว่า งามยิ่ง งามเพริศพริ้ง (คำเหล่านี้จะพบได้เฉพาะในวรรณคดีเก่า ๆ เท่านั้น) (จาก หนังสือหลักภาษาไทย ของ กำชัย ทองหล่อ หน้า ๙๔)

   ๓. คำไทยแท้จะสะกดตรงตามมาตรา คือ มีเสียงสะกดในมาตราใดก็ใช้ตัวนั้นสะกด เช่น มาก จาก คบ สาด คด น้อย เป็นต้น คำว่า เลข สรรพ คต ญาณ ไม่เป็นคำไทยเพราะสะกดไม่ตรงมาตรา

   ๔. คำที่ใช้สระ ใอ ทั้งหมดเป็นคำไทย

   ๕. คำที่ใช้ ไอ ส่วนมากก็เป็นคำไทยโดยดูที่คำนั้นจะมีพยางค์เดียวและไม่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต เช่น ไป ไหน ไกล ไว ไว้ เป็นต้น

   ๖. คำไทยที่ใช้ ตัว "ษ" มีเพียงคำเดียวคือ ดาษ กระดาษ ดาษดา

   ๗. คำไทยที่ใช้ตัว ศ มีเพียงคำว่า ศึก ศอก เศิก เศร้า เท่านั้น นอกจากนั้นคำใช้ "ศ" มาจากภาษาต่างประเทศทั้งสิ้น (คำว่า เศิก เป็นคำแผลงมาจาก ศึก พบได้ในวรรณคดีเท่านั้น) หมายเหตุ การที่จะพิจารณาว่าคำใดเป็นคำไทยหรือไม่นั้นจะต้องใช้กฎเกณฑ์หลาย ๆ ข้อประกอบกัน จะใช้กฎเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งเท่านั้นจะไม่ได้ บางทีก็ต้องใช้ความรู้จากการศึกษา ภาษาต่างประเทศด้วยเพราะมีคำที่มาจากภาษาต่างประเทศบางคำที่มีการเขียนแบบเดียวกับคำไทย เช่น แยม หรีด รีม วิก ซึ่งต่างก็เป็นคำที่มาจากภาษาอังกฤษทั้งหมดแต่เขียนแบบคำไทย

แบบฝึกหัด เรื่อง หลักสังเกตคำไทย

                     คำไทย              ไม่เป็นคำไทย
๑.น้อง       ……….                 …………….
 ๒.ศักดิ์      ……….                 …………….
๓.เศร้า      ……….                 …………….
๔.มา      ……….                 …………….
๕.ปลา      ……….                 …………….
๖.ภาษา      ……….                 …………….
 ๗.ศาสนา      ……….                 …………….
 ๘.คม      ……….                 …………….
 ๙.เมฆ      ……….                 …………….
๑๐.อักษร      ……….                 …………….
๑๑.กร      ……….                 …………….
๑๒ ใส่      ……….                 …………….
๑๓.ไส      ……….                 …………….
๑๔.กฎ      ……….                 …………….
๑๕.โศก      ……….                 …………….
๑๖.แยม      ……….                 …………….
๑๗.กรุง      ……….                 …………….
๑๘.ทุเรียน      ……….                 …………….
๑๙.เยอะ      ……….                 …………….
๒๐.สร้าง      ……….                 …………….
๒๑.กริยา      ……….                 …………….
๒๒.ปี      ……….                 …………….
๒๓.เก้าอี้      ……….                 …………….
๒๔.จริง      ……….                 …………….
๒๕.ไทม์      ……….                 …………….
๒๖.สันต์      ……….                 …………….
๒๗.วรรค      ……….                 …………….
๒๘.ฤทัย      ……….                 …………….
๒๙.ฌาน      ……….                 …………….
๓๐.วิทยา      ……….                 …………….
๓๑.เมื่อ      ……….                 …………….
๓๒.เท้า      ……….                 …………….
๓๓.ลัพย์      ……….                 …………….
๓๔.เลี้ยง      ……….                 …………….
๓๕.แก้ว      ……….                 …………….
๓๖.เศิก      ……….                 …………….
๓๗.ม่าห์      ……….                 …………….
๓๘.เสริม      ……….                 …………….
๓๙.ดึงส์      ……….                 …………….
๔๐.ใช้      ……….                 …………….
๔๑.ปะทะ      ……….                 …………….
๔๒.มาร      ……….                 …………….
๔๓.โลภ      ……….                 …………….
๔๔.โจทย์      ……….                 …………….
๔๕.มรณ์      ……….                 …………….
๔๖.กรรม      ……….                 …………….
๔๗.สูญ      ……….                 …………….
๔๘.กวน      ……….                 …………….
๔๙.จิต      ……….                 …………….
๕๐.มัด      ……….                 …………….

                                                    แบบทดสอบ เรื่อง หลักสังเกตคำไทย

คำสั่ง  นักเรียนจงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดแล้วทำเครื่องหมาย X  ในช่องที่ตรงกับหัวข้อที่นักเรียนเลือกแล้วเพียงข้อเดียว
 
๑.ลักษณะที่สำคัญที่สุดของคำไทยคือ ข้อใด ?
    ก. เป็นคำพยางค์เดียว
    ข. ไม่มีคำที่ใช้ตัว ศ และตัว ษ
     ค. จะต้องมีตัวสะกดตรงตามมาตรา
     ง. ไม่มีเครื่องหมายทัณฑฆาตหรือการันต์
๒. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ ?
     ก. คม
     ข. ชล
     ค. กรณ์
     ง. วรรณ
๓. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ ?
     ก. นัย
     ข. ไมล์
     ค. ใหญ่
     ง. ตรัย
๔. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ ?
     ก. ไกร
     ข. กรุง
     ค. กริ้ง
     ง. กรัม
๕. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ ?
     ก. โศก    ศึก
     ข. เศษ    ศก
     ค. เศิก    ศอ
     ง. ศอก    เศร้า
๖. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ ?
     ก. จาน    จริง
     ข. ศรี     เสริม
     ค. สร้าง   สรรค์
     ง. ทรวง   ทรัมเป็ต
๗. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ ?
     ก. พ่อ     อนุชา      ตา
     ข. ชนก    แม่        ย่า
     ค. บุตร    ปู่         อา
     ง. พี่      น้อง       ลูก
๘. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ ?
     ก. กุ้ง     ปลา       ปู
     ข. ม้า     อาชา      ลา
     ค. เสือ    สัตว์       ชะนี
     ง. หงส์    สาง       มังกร
๙.  ข้อใดเป็นคำไทยแท้ทุกคำ ?
     ก. หนึ่ง    เอก       โท
     ข. น้อย    อนันต์      เบา
     ค. เยอะ   มาก       หลาย
     ง. พหุ     อเนก      มากมาย
๑๐. ข้อใดเป็นคำไทยแท้ ?
     ก. ใส่     สไปรท์     ไข้
     ข. ใบ     ไส        ไว้
     ค. ใหม่    ไลน์       ไซร้
     ง. ใคร    ไนน์       ใกล้

      จัดทำโดย นายประเสริฐ ศรีราชพัฒน์ ร.ร.ฉวางรัชดาภิเษก อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช ๐๘๙๘๗๒๘๔๙๒

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 522 คน กำลังออนไลน์