• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b04585f7a28126910b2b28952bcd11e8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h1>ประโยค</h1>\n<h2><span style=\"color: #ff0000\">ประโยค คือ คำหรือกลุ่มคำที่นำมาเรียงกันตามความสัมพันธ์ ทางไวยากรณ์ และสามารถสื่อความได้ว่า มีอะไรเกิดขึ้น หรืออะไรมีสภาพเป็นอย่างไร โดยทั่วไปประโยคประกอบด้วยส่วนสำคัญ  ๒  ส่วนคือนามวลี ทำหน้าที่ประธาน กับกริยาวลีทำหน้าที่ภาคแสดง แต่ในการสื่อสารจริงประธาน บางส่วนของประธาน หรือบางส่วนของภาคแสดงอาจไม่ปรากฏก็ได้ หากมีบริบทหรือสถานการณ์ ช่วยทำให้เข้าใจประโยคนั้นเพียงพอแล้ว<br />\n</span>ความรู้ ประโยคคือข้อความที่มีความสมบูรณ์มีทั้งภาคประธานและกริยาหรือภาคแสดง<br />\nข้อสังเกต<br />\n นักเรียนลองสังเกตความแตกต่างของข้อความที่เป็นประโยค และไม่เป็นประโยคในตัวอย่างต่อไปนี้<br />\n ไม่เป็นประโยค ประโยค<br />\n พ่อแม่ พ่อแม่อยู่บ้าน<br />\n บิดาของฉัน บิดาของฉันเป็นครู<br />\n ครูภาษาไทย ครูภาษาไทยน่ารักทุกคน<br />\n นั่งนิ่ง วิภาดานั่งนิ่ง<br />\n เก่งมาก ๆ  เด็กคนนี้เก่งมาก ๆ<br />\n พี่ของฉัน พี่ของฉันมาโรงเรียนทุกวัน<br />\n โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษกสร้างใน พ.ศ.๒๕๑๔ </h2>\n<h2>ที่   ประธาน                                 ภาคแสดง<br />\n๑      แม่                                    เป็นคนอดทน<br />\n๒      แม่ของเพื่อน                       เป็นน้องอาจารย์สมศรี<br />\n๓      แม่ของเพื่อนคนนี้                 สนิทกับแม่ของฉันมาก<br />\n๔      คนไทย                              ต้องรู้จักตนเอง<br />\n๕      คนไทยรุ่นใหม่                     ควรมีวินัยในการใช้จ่าย<br />\n๖      คนไทยรุ่นใหม่ในทศวรรษนี้    ต้องเก่งเทคโนโลยี<br />\n๗     เด็ก ๆ                                นั่งในห้องเรียน<br />\n๘     เด็กผู้ชาย ๒ – ๓ คน              กำลังเล่นฟุตบอลอยู่ในสนาม<br />\n๙    เด็กรุ่นพี่                             ให้หนังสือเรียนแก่รุ่นน้อง<br />\n๑๐  เด็กหลายคน                         กำลังจัดนิทรรศการในห้องประชุม </h2>\n<h2>ส่วนประกอบของประโยค<br />\nประโยคในภาษาไทยมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้<br />\n    ๑.  ประธาน<br />\n    ๒.  ขยายประธาน<br />\n    ๓.  กริยา<br />\n    ๔.  ขยายกริยา<br />\n    ๕.  กรรม<br />\n    ๖.  ขยายกรรม<br />\n    ๗.  ส่วนเติมเต็ม </h2>\n<h2> ๑. ประธาน คือคำหรือกลุ่มคำที่เป็นผู้กระทำกริยาของประโยคนั้น บทประธานจะเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของประโยคส่วนหนึ่ง ประโยคโดยทั่ว ๆ ไปจะต้องมีประธานเสมอ เช่น<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><u>แม่</u></span>ของเพื่อนเป็นน้องอาจารย์สมศรี<br />\n<u>แม่</u>ของเพื่อนคนนี้สนิทกับแม่ของฉันมาก<br />\n<u>คนไทย</u>ต้องรู้จักตนเอง<br />\n<u>คนไทย</u>รุ่นใหม่ในทศวรรษนี้ต้องเก่งเทคโนโลยี<br />\n<u>เด็ก ๆ</u> นั่งในห้องเรียน<br />\n<u>เด็กผู้ชาย</u> ๒ – ๓ คนกำลังเล่นฟุตบอลอยู่ในสนาม<br />\n<u>เด็ก</u>รุ่นพี่ให้หนังสือเรียนแก่รุ่นน้อง<br />\n<u>นักเรียน</u>กลุ่มนั้นได้รับรางวัลเรียนดีจากผู้อำนวยการ<br />\n<u>ลุงเทียบ</u>กับ<u>ป้าสาย</u>กำลังปลูกต้นไม้อย่างขะมักเขม้น ในสวนหลังบ้าน<br />\n<u>พี่</u>กับ<u>น้อง</u>กำลังจะไปเที่ยวแม่ฮ่องสอน<br />\n<u>เถ้าแก่</u>เบิกเงินมาแจกลูกน้อง<br />\n<u>พ่อ</u>และ<u>แม่</u>ไปเชียงใหม่<br />\nสุรีย์หรือแสงดาวเป็นเลขานุการบริษัทของพี่<br />\nคุณป้าของฉันชอบพรเทพและพรรณีมาก<br />\n ๒. ขยายประธาน  คือคำหรือกลุ่มคำที่ทำหน้าที่ขยายประธานของประโยคนั้น<br />\nคนไทย<u>รุ่นใหม่</u>ควรมีวินัยในการใช้จ่าย<br />\nแม่<u>ของเพื่อนคนนี้</u>สนิทกับแม่ของฉันมาก<br />\nคนไทย<u>รุ่นใหม่ในทศวรรษนี้</u>ต้องเก่งเทคโนโลยี<br />\nเด็ก<u>ผู้ชาย ๒ – ๓ คน</u>กำลังเล่นฟุตบอลอยู่ในสนาม<br />\nเด็ก<u>หลายคน</u>กำลังจัดนิทรรศการในห้องประชุม<br />\nนักเรียน<u>กลุ่มนั้น</u>ได้รับรางวัลเรียนดีจากผู้อำนวยการ<br />\nเด็ก ๆ <u>ทุกคน</u>ที่นั่งอยู่ในห้องประชุมสวมเสื้อยืดสีชมพู<br />\nเรือ<u>ลำนั้น</u>กำลังเดินทางไปสร้างฐานขุดเจาะน้ำมันกลางทะเล<br />\n ๓. กริยา คือคำหรือกลุ่มคำที่ทำหน้าที่บอกการกระทำหรือความมีความเป็นของประโยคว่าประธานได้ทำอะไรหรือเป็นอย่างไร เช่น<br />\nแม่ของเพื่อนเป็นน้องอาจารย์สมศรี<br />\nคนไทยรุ่นใหม่<u>ควรมีวินัย</u>ในการใช้จ่าย<br />\nเด็ก ๆ <u>นั่ง</u>ในห้องเรียน<br />\nเด็กรุ่นพี่<u>ให้</u>หนังสือเรียนแก่รุ่นน้อง<br />\nเด็กหลายคน<u>กำลังจัด</u>นิทรรศการในห้องประชุม<br />\nลุงเทียบกับป้าสาย<u>ปลูก</u>ต้นไม้อย่างขะมักเขม้น ในสวนหลังบ้าน<br />\nเรือลำนั้น<u>กำลังเดินทางไป</u>สร้างฐานขุดเจาะน้ำมันกลางทะเล<br />\nพี่กับน้อง<u>กำลังจะไปเที่ยว</u>แม่ฮ่องสอน<br />\nสุรีย์หรือแสงดาว<u>เป็น</u>เลขานุการบริษัทของพี่<br />\nหมายเหตุ  ตามหลักภาษาไทยสมัยใหม่ถือว่าคำที่เป็นคำวิเศษณ์ที่ใช้ตามหลังประธานที่ไม่มีคำกริยาตัวอื่นตามหลังจะเป็นกริยาคุณศัพท์ เช่น<br />\n บ้านนี้สวย สวย เป็นบทกริยาของประโยค<br />\n เขาแก่มาก แก่ เป็นบทกริยาของประโยค<br />\n ภูเขาเหมนสูง สูง เป็นบทกริยาของประโยค<br />\n เด็กคนนี้เก่ง เก่ง เป็นบทกริยาของประโยค<br />\n ๔. ขยายกริยา คือคำหรือกลุ่มคำที่ทำหน้าที่บอกความชัดเจนของกริยาว่า กริยานั้นเป็นอย่างไรมีความเข้มข้นขนาดไหนหรือเกิดขึ้นที่ไหน เช่น<br />\nเด็ก ๆ นั่งในห้องเรียน<br />\nเด็กผู้ชาย ๒ – ๓ คนกำลังเล่นฟุตบอลอยู่<u>ในสนาม<br />\n</u>ลุงเทียบกับป้าสายกำลังปลูกต้นไม้<u>อย่างขะมักเขม้น ในสวนหลังบ้าน<br />\n</u>ส่วนขยายกริยามีหลายลักษณะ เช่น <br />\nบุพบทวลี  เรานั่ง<u>ในห้องเรียน<br />\n</u>คำปฏิเสธ เราจะ<u>ไม่</u>ขาดโรงเรียน<br />\nคำแสดงเวลา  <u>พรุ่งนี้</u>ฝนจะตกอีก<br />\n                      ฝนจะตกอีก<u>พรุ่งนี้<br />\n</u>คำที่แสดงความเข้มข้นของกริยา  เด็กคนนี้วิ่ง<u>เร็ว<br />\n</u>หมายเหตุ ส่วนขยายกริยาที่เป็นคำบอกเวลา เช่น วันนี้  พรุ่งนี้ ปีหน้า ในเวลาแต่งประโยคอาจจะอยู่หลังประโยคหรือหน้าประโยคก็ได้ไม่ทำให้ความหมายของประโยคแตกต่างกันมากนัก เช่น  <br />\n<u>วันนี้</u>เรามาโรงเรียน  กับ เรามาโรงเรียน<u>วันนี้  <br />\nพรุ่งนี้</u>เราจะมาโรงเรียน กับ เราจะมาโรงเรียน<u>พรุ่งนี้<br />\n</u> ๕. กรรม คือ คำหรือกลุ่มคำหรือประโยคที่เพิ่มเข้ามารองรับกริยาเรียกหากรรม (สกรรมกริยา) เป็นตัวที่ตอบคำถามว่า “ใคร” หรือ “อะไร” ของกริยาเรียกหากรรม เช่น<br />\nคนไทยต้องรู้จัก<u>ตนเอง</u><br />\nเด็กผู้ชาย ๒ – ๓ คนกำลังเล่น<u>ฟุตบอล</u>อยู่ในสนาม<br />\nเด็กรุ่นพี่ให้<u>หนังสือเรียนแก่รุ่นน้อง</u> (ประโยคนี้มีบทกรรม  ๒  คำ)<br />\nเด็กหลายคนกำลังจัด<u>นิทรรศการ</u>ในห้องประชุม<br />\nนักเรียนกลุ่มนั้นได้รับ<u>รางวัลเรียนดี</u>จากผู้อำนวยการ<br />\nเพื่อนของนภาพรไปฝึก<u>รำไทย</u>ที่โรงเรียนนาฎศิลป์สัมพันธ์<br />\nเถ้าแก่เบิก<u>เงิน</u>มาแจก<u>ลูกน้อง<br />\n</u>คุณป้าของฉันชอบพรเทพและพรรณีมาก  (ประโยคนี้มีบทกรรม  ๒  คำ)<br />\n ๖. ขยายกรรม คือส่วนที่ทำหน้าที่บอกความชัดเจนของบทกรรมว่า บทกรรมนั้นเป็นอย่างไร มีขนาดไหน จำนวนเท่าไร เป็นของใครหรืออยู่ที่ไหน เช่น<br />\nคนไทยรุ่นใหม่ควรมีวินัย<u>ในการใช้จ่าย</u><br />\nเด็ก ๆ ทุกคนที่นั่งอยู่ในห้องประชุมสวมเสื้อยืด<u>สีชมพู<br />\n</u> ๗. ส่วนเติมเต็ม ได้แก่ส่วนที่ตามหลังกริยาประเภทกริยาต้องเติมเต็ม ซึ่งได้แก่กริยา เป็น เหมือน คล้าย เท่า คือ หรือคำอื่นที่มีความหมายเหมือนกัน เช่น<br />\nแม่ของเพื่อนเป็น<u>น้องอาจารย์สมศรี</u><br />\nสุรีย์หรือแสงดาวเป็น<u>เลขานุการบริษัทของพี่<br />\n</u>หมายเหตุ  <br />\n ๑. ส่วนเติมเต็มหรือส่วนประกอบอื่น ๆ บางส่วนของประโยคเช่น ประธาน กรรม ขยายประธาน และส่วนเติมเต็มอาจจะเป็นประโยคก็ได้<br />\n ๒. ในหนังสือหลักภาษาไทยบางเล่มโดยเฉพาะหนังสือเก่า ๆ จะไม่มีส่วนเติมเต็มจะนับส่วนเติมเต็มว่าเป็นส่วนขยายกริยาของประโยค </h2>\n<h3>                                  กิจกรรมที่  ๒  <br />\nนักเรียนจงพิจารณาว่าคำหรือกลุ่มคำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่อะไรของประโยค<br />\n ๑.  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเจิมศิลาฤกษ์(.............................)<br />\n ๒.  เจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานครได้มาจัดการทำความสะอาดและดูแลความเรียบร้อยในบริเวณที่จะเสด็จพระราชดำเนินผ่าน  (...................................)<br />\n ๓.  ชาวบ้านเลี้ยงดูให้อาหารเป็นประจำ   (...................................)<br />\n ๔.  เจ้าหน้าที่ กทม.มาเตรียมงาน ก็ได้จับสุนัขทั้ง  ๔  ตัวไปด้วย  (...................................)<br />\n ๕. ชาวบ้านที่เคยให้อาหารสุนัขเป็นประจำก็โวยวายขึ้น (...................................)<br />\n ๖.  แพทย์ที่คลินิกศูนย์แพทย์พัฒนาติดต่อ กทม. ให้นำสุนัขมาคืน  (...................................)<br />\n ๗.  สุนัขเดินทางเกือบไปถึงทุ่งสีกันแล้ว   (...................................)<br />\n ๘.  ไม่มีผู้ใดทราบว่าสุนัข  ๒  ตัวนี้มาจากไหน (...................................)<br />\n ๙.  สุนัขทั้งหมดจึงได้กลับ “บ้าน” ที่เคยอาศัยอยู่  (...................................)<br />\n ๑๐.  ทองแดงไปคาบกระดูกไก่ที่อีกามาทิ้งอยู่ในพุ่มไม้บริเวณสวนที่พระตำหนักฯ   (...................................)<br />\nข.  นักเรียนจงช่วยกันแต่งประโยคโดยให้มีคำที่กำหนดให้ทำหน้าที่ตามที่ได้กำหนดไว้<br />\n เช่น  ฉัน  (ประธาน)  ฉันเป็นนักเรียน<br />\n ๑.  เร็ว  (ขยายกริยา) <br />\n ๒.  เก่ง  (ขยายประธาน) <br />\n ๓.  เมื่อวาน  (ขยายกริยา) <br />\n ๔.  ไม่  (ขยายกริยา) <br />\n ๕.  พบ  (กริยา) <br />\n ๖.  เพื่อนคนนี้  (กรรม) <br />\n ๗.  ๔  (ขยายกรรม) <br />\n ๘.  สวย  (กริยา) <br />\n ๙.  นักเรียน  (ส่วนเติมเต็ม) <br />\n ๑๐.  ๙  (ขยายกริยา)  </h3>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<h3>ข.  นักเรียนจงช่วยกันแต่งประโยคโดยให้มีคำที่กำหนดให้ทำหน้าที่ตามที่ได้กำหนดไว้<br />\n เช่น  ฉัน  (ประธาน)  ฉันเป็นนักเรียน<br />\n ๑.  เร็ว  (ขยายกริยา) <br />\n ตัวอย่างประโยค  ม้าวิ่งเร็ว<br />\n ๒.  เก่ง  (ขยายประธาน) <br />\n ตัวอย่างประโยค  เด็กเก่งจะสอบได้คะแนนสูง ๆ<br />\n ๓.  เมื่อวาน  (ขยายกริยา) <br />\n ตัวอย่างประโยค  เมื่อวานเราเรียนวิชาภาษาไทย<br />\n ๔.  ไม่  (ขยายกริยา) <br />\n ตัวอย่างประโยค  เราไม่ขี้เกียจเรียนหนังสือ<br />\n ๕.  พบ  (กริยา) <br />\n ตัวอย่างประโยค  เราพบกันทุกวัน<br />\n ๖.  เพื่อนคนนี้  (กรรม) <br />\n ตัวอย่างประโยค  ทุกคนรักเพื่อนคนนี้<br />\n ๗.  ๔  (ขยายกรรม) <br />\n ตัวอย่างประโยค  วันนี้เราเรียน  ๔  วิชา<br />\n ๘.  สวย  (กริยา) <br />\n ตัวอย่างประโยค  อั้มภัชราภา สวยกว่านางเอกคนอื่น ๆ<br />\n ๙.  นักเรียน  (ส่วนเติมเต็ม) <br />\n ตัวอย่างประโยค  พวกเราเป็นนักเรียน<br />\n ๑๐.  ๙  (ขยายกริยา) <br />\n ตัวอย่างประโยค  เราพบกัน  ๙  ครั้งมาแล้ว<br />\nหมายเหตุ กิจกรรมนี้นักเรียนสามารถแต่งประโยคแบบอื่นก็ได้ครูตรวจให้คะแนนโดยดูความถูกต้องของตำแหน่งของคำที่กำหดในประโยคที่นักเรียนแต่ง </h3>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<h1>                 แบบทดสอบก่อนการเรียนและหลังการเรียน<br />\n                        เรื่อง  ส่วนประกอบของประโยค<br />\n๑.  เมื่อ<u>พ่อท่าน</u>กลับมาวัด ผมเข้ากราบที่บนกุฏิตึก  <br />\nคำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  ประธาน<br />\n   ข.  กริยา<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ขยายกริยา<br />\n๒.  พ่อท่าน<u>เล่าให้ฟัง</u> ท่านเล่าว่า <br />\nคำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  ประธาน<br />\n   ข.  กริยา<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ขยายกริยา<br />\n๓.  เมื่อเจ้าพนักงานนำพ่อท่านเข้านั่งรอ <u>ณ ห้องต้อนรับ</u> รอในหลวงเสด็จออก   คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  ประธาน<br />\n   ข.  ขยายประธาน<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ขยายกริยา<br />\n๔.  ท่านว่า “ขณะที่นั่งรอพระองค์ท่านหัวใจเต้น เหมือน<u>นั่งอยู่ปากถ้ำพระยาราชสีห์</u>&quot;  คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  ขยายประธาน<br />\n   ข.  กริยา<br />\n   ค.  ขยายกริยา<br />\n   ง.  ส่วนเติมเต็ม<br />\n๕.  เจ้านายนี่<u>ตบะเดชะ</u>ล้นเหลือ <br />\nคำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  ประธาน<br />\n   ข.  กริยา<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ขยายกริยา<br />\n๖. เมื่อพระเจ้าอยู่หัว<u>เสด็จออก</u> ก้มกราบทำให้อิ่มเอิบใจ<br />\nคำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  ขยายประธาน<br />\n   ข.  กริยา<br />\n   ค.  ขยายกริยา<br />\n   ง.  ส่วนเติมเต็ม<br />\n๗. <u>ในหลวง</u>ทรงสนทนาไต่ถาม<br />\nคำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  ประธาน</h1>\n<h1>   ข.  กริยา<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ขยายกริยา<br />\n๘.  พระปลัดสุพจน์<u>ชี้แจงถวาย</u> ระหว่างคำสำเนียงใต้กับสำเนียงกลางจากในหลวง  คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  ขยายประธาน<br />\n   ข.  กริยา<br />\n   ค.  ขยายกริยา<br />\n   ง.  ส่วนเติมเต็ม<br />\n๙.  ในหลวงทรงก้มพระเศียรเข้าใกล้พ่อท่าน <u>ด้วยพระราชประสงค์ให้พ่อท่านรดน้ำมนต์</u>  คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  ประธาน<br />\n   ข.  กริยา<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ส่วนเติมเต็ม<br />\n๑๐.  กูพองขนไปหมด พระมหากษัตริย์ผู้ทรงกฤดาภินิหาร ครองบ้านผ่านเมือง จะมาก้มให้พระป่า ๆ สามัญชน ลูบ<u>พระเศียร</u>ได้<br />\nคำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  ประธาน<br />\n   ข.  ขยายประธาน<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ขยายกรรม<br />\n ๑๑.  ท่านเป็น<u>ถึงเทวดาของปวงชน</u> เป็นเทพสมมติ<br />\nคำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  ประธาน<br />\n   ข.  กริยา<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ส่วนเติมเต็ม<br />\n๑๒.  กูเลยกราบทูลว่า “<u>มหาบพิตร</u> ได้ทรงโปรดยื่นพระหัตถ์มาเถิด” <br />\nคำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  ประธาน<br />\n   ข.  กริยา<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ส่วนเติมเต็ม<br />\n๑๓.  ในหลวงทรงเงยพระพักตร์ <u>ยิ้มละไม</u> และทรงยื่นพระหัตถ์ทั้งสองออกไปหาพ่อท่าน  คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  ประธาน<br />\n   ข.  กริยา<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ส่วนเติมเต็ม<br />\n๑๔.  พ่อท่านจับพระหัตถ์ทั้งสองยกขึ้นเสมออก อธิษฐาน<u>พรชัยมนต์คาถา</u>ถวาย คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  กริยา<br />\n   ข.  ขยายกริยา<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ขยายกรรม<br />\n๑๕.  ในหลวง<u>ทรงยกขึ้น</u>รดพระเศียรด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เอง <br />\nคำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  ประธาน<br />\n   ข.  กริยา<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ส่วนเติมเต็ม<br />\n๑๖.  พ่อท่านก็ถวายพระพร<u>ตลอดเวลา </u>คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  กริยา<br />\n   ข.  ขยายกริยา<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ขยายกรรม<br />\n๑๗.  ในหลวงทรงอิ่มเอิบปลาบปลื้มพระราชหฤทัยและทรงปวารณาทรงรับ<u>อุปัฏฐาก </u>เป็นส่วนพระองค์ คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  กริยา<br />\n   ข.  ขยายกริยา<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ขยายกรรม<br />\n๑๘.  ผมถามว่า พ่อท่านถวายของดี<u>อะไร</u>ให้แก่ในหลวงบ้าง คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  กริยา<br />\n   ข.  ขยายกริยา<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ขยายกรรม<br />\n๑๙.  พ่อท่านว่า <u>ไม่</u>ให้เทวดาผู้เป็นยอดคนแล้ว จะให้ใครเล่า ? และบอกต่อไปว่า คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\n   ก.  กริยา<br />\n   ข.  ขยายกริยา<br />\n   ค.  กรรม<br />\n   ง.  ขยายกรรม<br />\n๒๐.ในหลวงพระองค์นี้ <u>ทรงบุญญาภินิหาร</u> ทรงทศพิธราชธรรมบริบูรณ์ ใครจะคิดร้ายทำอะไรพระองค์หาได้ไม่  คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้<br />\nก.  กริยา<br />\nข.  ขยายกริยา<br />\nค.  กรรม<br />\nง.  ขยายกรรม </h1>\n<p>\nจัดทำโดย นายประเสริฐ ศรีราชพันฒน์  โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช โทรฯ ๐๘๙๘๗๒๘๔๙๒\n</p>\n', created = 1715016410, expire = 1715102810, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b04585f7a28126910b2b28952bcd11e8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ส่วนประกอบของประโยค

รูปภาพของ chrprasert

ประโยค

ประโยค คือ คำหรือกลุ่มคำที่นำมาเรียงกันตามความสัมพันธ์ ทางไวยากรณ์ และสามารถสื่อความได้ว่า มีอะไรเกิดขึ้น หรืออะไรมีสภาพเป็นอย่างไร โดยทั่วไปประโยคประกอบด้วยส่วนสำคัญ  ๒  ส่วนคือนามวลี ทำหน้าที่ประธาน กับกริยาวลีทำหน้าที่ภาคแสดง แต่ในการสื่อสารจริงประธาน บางส่วนของประธาน หรือบางส่วนของภาคแสดงอาจไม่ปรากฏก็ได้ หากมีบริบทหรือสถานการณ์ ช่วยทำให้เข้าใจประโยคนั้นเพียงพอแล้ว
ความรู้ ประโยคคือข้อความที่มีความสมบูรณ์มีทั้งภาคประธานและกริยาหรือภาคแสดง
ข้อสังเกต
 นักเรียนลองสังเกตความแตกต่างของข้อความที่เป็นประโยค และไม่เป็นประโยคในตัวอย่างต่อไปนี้
 ไม่เป็นประโยค ประโยค
 พ่อแม่ พ่อแม่อยู่บ้าน
 บิดาของฉัน บิดาของฉันเป็นครู
 ครูภาษาไทย ครูภาษาไทยน่ารักทุกคน
 นั่งนิ่ง วิภาดานั่งนิ่ง
 เก่งมาก ๆ  เด็กคนนี้เก่งมาก ๆ
 พี่ของฉัน พี่ของฉันมาโรงเรียนทุกวัน
 โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษกสร้างใน พ.ศ.๒๕๑๔

ที่   ประธาน                                 ภาคแสดง
๑      แม่                                    เป็นคนอดทน
๒      แม่ของเพื่อน                       เป็นน้องอาจารย์สมศรี
๓      แม่ของเพื่อนคนนี้                 สนิทกับแม่ของฉันมาก
๔      คนไทย                              ต้องรู้จักตนเอง
๕      คนไทยรุ่นใหม่                     ควรมีวินัยในการใช้จ่าย
๖      คนไทยรุ่นใหม่ในทศวรรษนี้    ต้องเก่งเทคโนโลยี
๗     เด็ก ๆ                                นั่งในห้องเรียน
๘     เด็กผู้ชาย ๒ – ๓ คน              กำลังเล่นฟุตบอลอยู่ในสนาม
๙    เด็กรุ่นพี่                             ให้หนังสือเรียนแก่รุ่นน้อง
๑๐  เด็กหลายคน                         กำลังจัดนิทรรศการในห้องประชุม

ส่วนประกอบของประโยค
ประโยคในภาษาไทยมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้
    ๑.  ประธาน
    ๒.  ขยายประธาน
    ๓.  กริยา
    ๔.  ขยายกริยา
    ๕.  กรรม
    ๖.  ขยายกรรม
    ๗.  ส่วนเติมเต็ม

 ๑. ประธาน คือคำหรือกลุ่มคำที่เป็นผู้กระทำกริยาของประโยคนั้น บทประธานจะเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของประโยคส่วนหนึ่ง ประโยคโดยทั่ว ๆ ไปจะต้องมีประธานเสมอ เช่น
แม่ของเพื่อนเป็นน้องอาจารย์สมศรี
แม่ของเพื่อนคนนี้สนิทกับแม่ของฉันมาก
คนไทยต้องรู้จักตนเอง
คนไทยรุ่นใหม่ในทศวรรษนี้ต้องเก่งเทคโนโลยี
เด็ก ๆ นั่งในห้องเรียน
เด็กผู้ชาย ๒ – ๓ คนกำลังเล่นฟุตบอลอยู่ในสนาม
เด็กรุ่นพี่ให้หนังสือเรียนแก่รุ่นน้อง
นักเรียนกลุ่มนั้นได้รับรางวัลเรียนดีจากผู้อำนวยการ
ลุงเทียบกับป้าสายกำลังปลูกต้นไม้อย่างขะมักเขม้น ในสวนหลังบ้าน
พี่กับน้องกำลังจะไปเที่ยวแม่ฮ่องสอน
เถ้าแก่เบิกเงินมาแจกลูกน้อง
พ่อและแม่ไปเชียงใหม่
สุรีย์หรือแสงดาวเป็นเลขานุการบริษัทของพี่
คุณป้าของฉันชอบพรเทพและพรรณีมาก
 ๒. ขยายประธาน  คือคำหรือกลุ่มคำที่ทำหน้าที่ขยายประธานของประโยคนั้น
คนไทยรุ่นใหม่ควรมีวินัยในการใช้จ่าย
แม่ของเพื่อนคนนี้สนิทกับแม่ของฉันมาก
คนไทยรุ่นใหม่ในทศวรรษนี้ต้องเก่งเทคโนโลยี
เด็กผู้ชาย ๒ – ๓ คนกำลังเล่นฟุตบอลอยู่ในสนาม
เด็กหลายคนกำลังจัดนิทรรศการในห้องประชุม
นักเรียนกลุ่มนั้นได้รับรางวัลเรียนดีจากผู้อำนวยการ
เด็ก ๆ ทุกคนที่นั่งอยู่ในห้องประชุมสวมเสื้อยืดสีชมพู
เรือลำนั้นกำลังเดินทางไปสร้างฐานขุดเจาะน้ำมันกลางทะเล
 ๓. กริยา คือคำหรือกลุ่มคำที่ทำหน้าที่บอกการกระทำหรือความมีความเป็นของประโยคว่าประธานได้ทำอะไรหรือเป็นอย่างไร เช่น
แม่ของเพื่อนเป็นน้องอาจารย์สมศรี
คนไทยรุ่นใหม่ควรมีวินัยในการใช้จ่าย
เด็ก ๆ นั่งในห้องเรียน
เด็กรุ่นพี่ให้หนังสือเรียนแก่รุ่นน้อง
เด็กหลายคนกำลังจัดนิทรรศการในห้องประชุม
ลุงเทียบกับป้าสายปลูกต้นไม้อย่างขะมักเขม้น ในสวนหลังบ้าน
เรือลำนั้นกำลังเดินทางไปสร้างฐานขุดเจาะน้ำมันกลางทะเล
พี่กับน้องกำลังจะไปเที่ยวแม่ฮ่องสอน
สุรีย์หรือแสงดาวเป็นเลขานุการบริษัทของพี่
หมายเหตุ  ตามหลักภาษาไทยสมัยใหม่ถือว่าคำที่เป็นคำวิเศษณ์ที่ใช้ตามหลังประธานที่ไม่มีคำกริยาตัวอื่นตามหลังจะเป็นกริยาคุณศัพท์ เช่น
 บ้านนี้สวย สวย เป็นบทกริยาของประโยค
 เขาแก่มาก แก่ เป็นบทกริยาของประโยค
 ภูเขาเหมนสูง สูง เป็นบทกริยาของประโยค
 เด็กคนนี้เก่ง เก่ง เป็นบทกริยาของประโยค
 ๔. ขยายกริยา คือคำหรือกลุ่มคำที่ทำหน้าที่บอกความชัดเจนของกริยาว่า กริยานั้นเป็นอย่างไรมีความเข้มข้นขนาดไหนหรือเกิดขึ้นที่ไหน เช่น
เด็ก ๆ นั่งในห้องเรียน
เด็กผู้ชาย ๒ – ๓ คนกำลังเล่นฟุตบอลอยู่ในสนาม
ลุงเทียบกับป้าสายกำลังปลูกต้นไม้อย่างขะมักเขม้น ในสวนหลังบ้าน
ส่วนขยายกริยามีหลายลักษณะ เช่น
บุพบทวลี  เรานั่งในห้องเรียน
คำปฏิเสธ เราจะไม่ขาดโรงเรียน
คำแสดงเวลา  พรุ่งนี้ฝนจะตกอีก
                      ฝนจะตกอีกพรุ่งนี้
คำที่แสดงความเข้มข้นของกริยา  เด็กคนนี้วิ่งเร็ว
หมายเหตุ ส่วนขยายกริยาที่เป็นคำบอกเวลา เช่น วันนี้  พรุ่งนี้ ปีหน้า ในเวลาแต่งประโยคอาจจะอยู่หลังประโยคหรือหน้าประโยคก็ได้ไม่ทำให้ความหมายของประโยคแตกต่างกันมากนัก เช่น 
วันนี้เรามาโรงเรียน  กับ เรามาโรงเรียนวันนี้ 
พรุ่งนี้
เราจะมาโรงเรียน กับ เราจะมาโรงเรียนพรุ่งนี้
 ๕. กรรม คือ คำหรือกลุ่มคำหรือประโยคที่เพิ่มเข้ามารองรับกริยาเรียกหากรรม (สกรรมกริยา) เป็นตัวที่ตอบคำถามว่า “ใคร” หรือ “อะไร” ของกริยาเรียกหากรรม เช่น
คนไทยต้องรู้จักตนเอง
เด็กผู้ชาย ๒ – ๓ คนกำลังเล่นฟุตบอลอยู่ในสนาม
เด็กรุ่นพี่ให้หนังสือเรียนแก่รุ่นน้อง (ประโยคนี้มีบทกรรม  ๒  คำ)
เด็กหลายคนกำลังจัดนิทรรศการในห้องประชุม
นักเรียนกลุ่มนั้นได้รับรางวัลเรียนดีจากผู้อำนวยการ
เพื่อนของนภาพรไปฝึกรำไทยที่โรงเรียนนาฎศิลป์สัมพันธ์
เถ้าแก่เบิกเงินมาแจกลูกน้อง
คุณป้าของฉันชอบพรเทพและพรรณีมาก  (ประโยคนี้มีบทกรรม  ๒  คำ)
 ๖. ขยายกรรม คือส่วนที่ทำหน้าที่บอกความชัดเจนของบทกรรมว่า บทกรรมนั้นเป็นอย่างไร มีขนาดไหน จำนวนเท่าไร เป็นของใครหรืออยู่ที่ไหน เช่น
คนไทยรุ่นใหม่ควรมีวินัยในการใช้จ่าย
เด็ก ๆ ทุกคนที่นั่งอยู่ในห้องประชุมสวมเสื้อยืดสีชมพู
 ๗. ส่วนเติมเต็ม ได้แก่ส่วนที่ตามหลังกริยาประเภทกริยาต้องเติมเต็ม ซึ่งได้แก่กริยา เป็น เหมือน คล้าย เท่า คือ หรือคำอื่นที่มีความหมายเหมือนกัน เช่น
แม่ของเพื่อนเป็นน้องอาจารย์สมศรี
สุรีย์หรือแสงดาวเป็นเลขานุการบริษัทของพี่
หมายเหตุ 
 ๑. ส่วนเติมเต็มหรือส่วนประกอบอื่น ๆ บางส่วนของประโยคเช่น ประธาน กรรม ขยายประธาน และส่วนเติมเต็มอาจจะเป็นประโยคก็ได้
 ๒. ในหนังสือหลักภาษาไทยบางเล่มโดยเฉพาะหนังสือเก่า ๆ จะไม่มีส่วนเติมเต็มจะนับส่วนเติมเต็มว่าเป็นส่วนขยายกริยาของประโยค

                                  กิจกรรมที่  ๒  
นักเรียนจงพิจารณาว่าคำหรือกลุ่มคำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่อะไรของประโยค
 ๑.  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเจิมศิลาฤกษ์(.............................)
 ๒.  เจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานครได้มาจัดการทำความสะอาดและดูแลความเรียบร้อยในบริเวณที่จะเสด็จพระราชดำเนินผ่าน  (...................................)
 ๓.  ชาวบ้านเลี้ยงดูให้อาหารเป็นประจำ   (...................................)
 ๔.  เจ้าหน้าที่ กทม.มาเตรียมงาน ก็ได้จับสุนัขทั้ง  ๔  ตัวไปด้วย  (...................................)
 ๕. ชาวบ้านที่เคยให้อาหารสุนัขเป็นประจำก็โวยวายขึ้น (...................................)
 ๖.  แพทย์ที่คลินิกศูนย์แพทย์พัฒนาติดต่อ กทม. ให้นำสุนัขมาคืน  (...................................)
 ๗.  สุนัขเดินทางเกือบไปถึงทุ่งสีกันแล้ว   (...................................)
 ๘.  ไม่มีผู้ใดทราบว่าสุนัข  ๒  ตัวนี้มาจากไหน (...................................)
 ๙.  สุนัขทั้งหมดจึงได้กลับ “บ้าน” ที่เคยอาศัยอยู่  (...................................)
 ๑๐.  ทองแดงไปคาบกระดูกไก่ที่อีกามาทิ้งอยู่ในพุ่มไม้บริเวณสวนที่พระตำหนักฯ   (...................................)
ข.  นักเรียนจงช่วยกันแต่งประโยคโดยให้มีคำที่กำหนดให้ทำหน้าที่ตามที่ได้กำหนดไว้
 เช่น  ฉัน  (ประธาน)  ฉันเป็นนักเรียน
 ๑.  เร็ว  (ขยายกริยา) 
 ๒.  เก่ง  (ขยายประธาน) 
 ๓.  เมื่อวาน  (ขยายกริยา) 
 ๔.  ไม่  (ขยายกริยา) 
 ๕.  พบ  (กริยา) 
 ๖.  เพื่อนคนนี้  (กรรม) 
 ๗.  ๔  (ขยายกรรม) 
 ๘.  สวย  (กริยา) 
 ๙.  นักเรียน  (ส่วนเติมเต็ม) 
 ๑๐.  ๙  (ขยายกริยา) 

 

ข.  นักเรียนจงช่วยกันแต่งประโยคโดยให้มีคำที่กำหนดให้ทำหน้าที่ตามที่ได้กำหนดไว้
 เช่น  ฉัน  (ประธาน)  ฉันเป็นนักเรียน
 ๑.  เร็ว  (ขยายกริยา) 
 ตัวอย่างประโยค  ม้าวิ่งเร็ว
 ๒.  เก่ง  (ขยายประธาน) 
 ตัวอย่างประโยค  เด็กเก่งจะสอบได้คะแนนสูง ๆ
 ๓.  เมื่อวาน  (ขยายกริยา) 
 ตัวอย่างประโยค  เมื่อวานเราเรียนวิชาภาษาไทย
 ๔.  ไม่  (ขยายกริยา) 
 ตัวอย่างประโยค  เราไม่ขี้เกียจเรียนหนังสือ
 ๕.  พบ  (กริยา) 
 ตัวอย่างประโยค  เราพบกันทุกวัน
 ๖.  เพื่อนคนนี้  (กรรม) 
 ตัวอย่างประโยค  ทุกคนรักเพื่อนคนนี้
 ๗.  ๔  (ขยายกรรม) 
 ตัวอย่างประโยค  วันนี้เราเรียน  ๔  วิชา
 ๘.  สวย  (กริยา) 
 ตัวอย่างประโยค  อั้มภัชราภา สวยกว่านางเอกคนอื่น ๆ
 ๙.  นักเรียน  (ส่วนเติมเต็ม) 
 ตัวอย่างประโยค  พวกเราเป็นนักเรียน
 ๑๐.  ๙  (ขยายกริยา) 
 ตัวอย่างประโยค  เราพบกัน  ๙  ครั้งมาแล้ว
หมายเหตุ กิจกรรมนี้นักเรียนสามารถแต่งประโยคแบบอื่นก็ได้ครูตรวจให้คะแนนโดยดูความถูกต้องของตำแหน่งของคำที่กำหดในประโยคที่นักเรียนแต่ง

 

                 แบบทดสอบก่อนการเรียนและหลังการเรียน
                        เรื่อง  ส่วนประกอบของประโยค
๑.  เมื่อพ่อท่านกลับมาวัด ผมเข้ากราบที่บนกุฏิตึก 
คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  ประธาน
   ข.  กริยา
   ค.  กรรม
   ง.  ขยายกริยา
๒.  พ่อท่านเล่าให้ฟัง ท่านเล่าว่า
คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  ประธาน
   ข.  กริยา
   ค.  กรรม
   ง.  ขยายกริยา
๓.  เมื่อเจ้าพนักงานนำพ่อท่านเข้านั่งรอ ณ ห้องต้อนรับ รอในหลวงเสด็จออก   คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  ประธาน
   ข.  ขยายประธาน
   ค.  กรรม
   ง.  ขยายกริยา
๔.  ท่านว่า “ขณะที่นั่งรอพระองค์ท่านหัวใจเต้น เหมือนนั่งอยู่ปากถ้ำพระยาราชสีห์"  คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  ขยายประธาน
   ข.  กริยา
   ค.  ขยายกริยา
   ง.  ส่วนเติมเต็ม
๕.  เจ้านายนี่ตบะเดชะล้นเหลือ
คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  ประธาน
   ข.  กริยา
   ค.  กรรม
   ง.  ขยายกริยา
๖. เมื่อพระเจ้าอยู่หัวเสด็จออก ก้มกราบทำให้อิ่มเอิบใจ
คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  ขยายประธาน
   ข.  กริยา
   ค.  ขยายกริยา
   ง.  ส่วนเติมเต็ม
๗. ในหลวงทรงสนทนาไต่ถาม
คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  ประธาน

   ข.  กริยา
   ค.  กรรม
   ง.  ขยายกริยา
๘.  พระปลัดสุพจน์ชี้แจงถวาย ระหว่างคำสำเนียงใต้กับสำเนียงกลางจากในหลวง  คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  ขยายประธาน
   ข.  กริยา
   ค.  ขยายกริยา
   ง.  ส่วนเติมเต็ม
๙.  ในหลวงทรงก้มพระเศียรเข้าใกล้พ่อท่าน ด้วยพระราชประสงค์ให้พ่อท่านรดน้ำมนต์  คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  ประธาน
   ข.  กริยา
   ค.  กรรม
   ง.  ส่วนเติมเต็ม
๑๐.  กูพองขนไปหมด พระมหากษัตริย์ผู้ทรงกฤดาภินิหาร ครองบ้านผ่านเมือง จะมาก้มให้พระป่า ๆ สามัญชน ลูบพระเศียรได้
คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  ประธาน
   ข.  ขยายประธาน
   ค.  กรรม
   ง.  ขยายกรรม
 ๑๑.  ท่านเป็นถึงเทวดาของปวงชน เป็นเทพสมมติ
คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  ประธาน
   ข.  กริยา
   ค.  กรรม
   ง.  ส่วนเติมเต็ม
๑๒.  กูเลยกราบทูลว่า “มหาบพิตร ได้ทรงโปรดยื่นพระหัตถ์มาเถิด”
คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  ประธาน
   ข.  กริยา
   ค.  กรรม
   ง.  ส่วนเติมเต็ม
๑๓.  ในหลวงทรงเงยพระพักตร์ ยิ้มละไม และทรงยื่นพระหัตถ์ทั้งสองออกไปหาพ่อท่าน  คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  ประธาน
   ข.  กริยา
   ค.  กรรม
   ง.  ส่วนเติมเต็ม
๑๔.  พ่อท่านจับพระหัตถ์ทั้งสองยกขึ้นเสมออก อธิษฐานพรชัยมนต์คาถาถวาย คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  กริยา
   ข.  ขยายกริยา
   ค.  กรรม
   ง.  ขยายกรรม
๑๕.  ในหลวงทรงยกขึ้นรดพระเศียรด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เอง
คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  ประธาน
   ข.  กริยา
   ค.  กรรม
   ง.  ส่วนเติมเต็ม
๑๖.  พ่อท่านก็ถวายพระพรตลอดเวลา คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  กริยา
   ข.  ขยายกริยา
   ค.  กรรม
   ง.  ขยายกรรม
๑๗.  ในหลวงทรงอิ่มเอิบปลาบปลื้มพระราชหฤทัยและทรงปวารณาทรงรับอุปัฏฐาก เป็นส่วนพระองค์ คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  กริยา
   ข.  ขยายกริยา
   ค.  กรรม
   ง.  ขยายกรรม
๑๘.  ผมถามว่า พ่อท่านถวายของดีอะไรให้แก่ในหลวงบ้าง คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  กริยา
   ข.  ขยายกริยา
   ค.  กรรม
   ง.  ขยายกรรม
๑๙.  พ่อท่านว่า ไม่ให้เทวดาผู้เป็นยอดคนแล้ว จะให้ใครเล่า ? และบอกต่อไปว่า คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
   ก.  กริยา
   ข.  ขยายกริยา
   ค.  กรรม
   ง.  ขยายกรรม
๒๐.ในหลวงพระองค์นี้ ทรงบุญญาภินิหาร ทรงทศพิธราชธรรมบริบูรณ์ ใครจะคิดร้ายทำอะไรพระองค์หาได้ไม่  คำที่ขีดเส้นใต้ทำหน้าที่ใดของประโยคนี้
ก.  กริยา
ข.  ขยายกริยา
ค.  กรรม
ง.  ขยายกรรม

จัดทำโดย นายประเสริฐ ศรีราชพันฒน์  โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช โทรฯ ๐๘๙๘๗๒๘๔๙๒

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 501 คน กำลังออนไลน์