• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c44d32d4b5dbbc52be738ae6ac55bfaf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ไปที่: <a href=\"#mw-head\"><u><span style=\"color: #0066cc\">ป้ายบอกทาง</span></u></a>, <a href=\"#p-search\"><u><span style=\"color: #0066cc\">ค้นหา</span></u></a></p>\n<!-- /jumpto --><!-- /jumpto --><!-- bodycontent --><!-- bodycontent --><div class=\"mw-content-ltr\" lang=\"th\" id=\"mw-content-text\" dir=\"ltr\">\n<div class=\"metadata topicon\" id=\"protected-icon\" style=\"display: none; right: 55px\">\n<a href=\"/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2:%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%96%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%81\" title=\"หน้านี้ได้ถูกล็อกจากการแก้ไขโดยผู้ใช้ใหม่หรือผู้ที่ไม่ได้ลงทะเบียน\"><u><span style=\"color: #0066cc\"><img height=\"20\" width=\"20\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/f/fa/Padlock-silver-medium.svg/20px-Padlock-silver-medium.svg.png\" alt=\"หน้านี้ได้ถูกล็อกจากการแก้ไขโดยผู้ใช้ใหม่หรือผู้ที่ไม่ได้ลงทะเบียน\" /></span></u></a>\n</div>\n<div class=\"thumb tright\">\n<div class=\"thumbinner\" style=\"width: 222px\">\n<a href=\"/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Roadrunner_supercomputer_HiRes.jpg\" class=\"image\"><u><span style=\"color: #0066cc\"><img height=\"147\" width=\"220\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/c/c7/Roadrunner_supercomputer_HiRes.jpg/220px-Roadrunner_supercomputer_HiRes.jpg\" class=\"thumbimage\" /></span></u></a> \n<div class=\"thumbcaption\">\n<div class=\"magnify\">\n<a href=\"/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Roadrunner_supercomputer_HiRes.jpg\" title=\"ขยาย\" class=\"internal\"><u><span style=\"color: #0066cc\"><img height=\"11\" width=\"15\" src=\"http://bits.wikimedia.org/static-1.20wmf5/skins/common/images/magnify-clip.png\" /></span></u></a>\n</div>\n<p><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%A1_%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ไอบีเอ็ม โรดรันเนอร์ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0066cc\">ไอบีเอ็ม โรดรันเนอร์</span></u></a> - <a href=\"/wiki/%E0%B8%8B%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"ซูเปอร์คอมพิวเตอร์\"><u><span style=\"color: #0066cc\">ซูเปอร์คอมพิวเตอร์</span></u></a>ที่เร็วที่สุดในโลกผลิตโดย<a href=\"/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%A1\" title=\"ไอบีเอ็ม\"><u><span style=\"color: #0066cc\">ไอบีเอ็ม</span></u></a>และ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%AA&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"สถาบันวิจัยแห่งชาติลอสอะลาโมส (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0066cc\">สถาบันวิจัยแห่งชาติลอสอะลาโมส</span></u></a> (2551) <sup class=\"reference\" id=\"cite_ref-0\"><a href=\"#cite_note-0\"><u><span style=\"color: #0066cc; font-size: x-small\">[1]</span></u></a></sup>\n</p></div>\n</div>\n</div>\n<p>\n<b>คอมพิวเตอร์</b> (<a href=\"/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9\" title=\"ภาษาอังกฤษ\"><u><span style=\"color: #0066cc\">อังกฤษ</span></u></a>: <span xml:lang=\"en\" lang=\"en\">computer</span>) หรือใน<a href=\"/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2\" title=\"ภาษาไทย\"><u><span style=\"color: #0066cc\">ภาษาไทย</span></u></a>ว่า <b>คณิตกรณ์</b><sup class=\"reference\" id=\"cite_ref-1\"><a href=\"#cite_note-1\"><u><span style=\"color: #0066cc; font-size: x-small\">[2]</span></u></a></sup><sup class=\"reference\" id=\"cite_ref-2\"><a href=\"#cite_note-2\"><u><span style=\"color: #0066cc; font-size: x-small\">[3]</span></u></a></sup> เป็น<a href=\"/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3\" title=\"เครื่องจักร\"><u><span style=\"color: #0066cc\">เครื่องจักร</span></u></a>แบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย\n</p>\n<p>\nคอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วย<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ความจำคอมพิวเตอร์ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0066cc\">ความจำ</span></u></a>รูปแบบต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล อย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มีหน้าที่ดำเนินการคำนวณเกี่ยวกับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ และตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้เปลี่ยนแปลงลำดับของตัวดำเนินการโดยยึด<a href=\"/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8\" title=\"สารสนเทศ\"><u><span style=\"color: #0066cc\">สารสนเทศ</span></u></a>ที่ถูกเก็บไว้เป็นหลัก อุปกรณ์เหล่านี้จะยอมให้นำเข้าข้อมูลจากแหล่งภายนอก และส่งผลจากการคำนวณตัวดำเนินการออกไป\n</p>\n<p>\nหน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ดำเนินการกับคำสั่งต่างๆ ที่คอยสั่งให้อ่าน ประมวล และเก็บ<a href=\"/wiki/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5\" title=\"ข้อมูล\"><u><span style=\"color: #0066cc\">ข้อมูล</span></u></a>ไว้ คำสั่งต่างๆ ที่มีเงื่อนไขจะแปลงชุดคำสั่งให้ระบบและสิ่งแวดล้อมรอบๆ เป็นฟังก์ชันที่สถานะปัจจุบัน\n</p>\n<p>\nคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1940 – ค.ศ. 1945) แรกเริ่มนั้น คอมพิวเตอร์มีขนาดเท่ากับห้องขนาดใหญ่ ซึ่งใช้พลังงานมากเท่ากับเครื่อง<a href=\"/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B8%A5\" title=\"คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล\"><u><span style=\"color: #0066cc\">คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล</span></u></a> (พีซี) สมัยใหม่หลายร้อยเครื่องรวมกัน<sup class=\"reference\" id=\"cite_ref-3\"><a href=\"#cite_note-3\"><u><span style=\"color: #0066cc; font-size: x-small\">[4]</span></u></a></sup>\n</p>\n<p>\nคอมพิวเตอร์ในสมัยใหม่นี้ผลิตขึ้นโดยใช้<a href=\"/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1\" title=\"วงจรรวม\"><u><span style=\"color: #0066cc\">วงจรรวม</span></u></a> หรือวงจรไอซี (Integrated circuit)โดยมีความจุมากกว่าสมัยก่อนล้านถึงพันล้านเท่า และขนาดของตัวเครื่องใช้พื้นที่เพียงเศษส่วนเล็กน้อยเท่านั้น คอมพิวเตอร์อย่างง่ายมีขนาดเล็กพอที่จะถูกบรรจุไว้ในอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์มือถือนี้ใช้พลังงานจาก<a href=\"/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88\" title=\"แบตเตอรี่\"><u><span style=\"color: #0066cc\">แบตเตอรี่</span></u></a>ขนาดเล็ก และหากจะมีคนพูดถึงคำว่า &quot;คอมพิวเตอร์&quot; มักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ยุคสารสนเทศ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0066cc\">ยุคสารสนเทศ</span></u></a> อย่างไรก็ดี ยังมีคอมพิวเตอร์ชนิดฝังอีกมากมายที่พบได้ตั้งแต่ใน<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เครื่องเล่นเอ็มพีสาม (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0066cc\">เครื่องเล่นเอ็มพีสาม</span></u></a>จนถึง<a href=\"/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0%B9%88\" title=\"เครื่องบินขับไล่\"><u><span style=\"color: #0066cc\">เครื่องบินขับไล่</span></u></a> และของเล่นชนิดต่างๆ จนถึงหุ่นยนต์อุตสาหกรรม\n</p>\n</div>\n', created = 1719962339, expire = 1720048739, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c44d32d4b5dbbc52be738ae6ac55bfaf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คอมพิวเตอร์

ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา

คอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: computer) หรือในภาษาไทยว่า คณิตกรณ์[2][3] เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย

คอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วยความจำรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล อย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มีหน้าที่ดำเนินการคำนวณเกี่ยวกับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ และตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้เปลี่ยนแปลงลำดับของตัวดำเนินการโดยยึดสารสนเทศที่ถูกเก็บไว้เป็นหลัก อุปกรณ์เหล่านี้จะยอมให้นำเข้าข้อมูลจากแหล่งภายนอก และส่งผลจากการคำนวณตัวดำเนินการออกไป

หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ดำเนินการกับคำสั่งต่างๆ ที่คอยสั่งให้อ่าน ประมวล และเก็บข้อมูลไว้ คำสั่งต่างๆ ที่มีเงื่อนไขจะแปลงชุดคำสั่งให้ระบบและสิ่งแวดล้อมรอบๆ เป็นฟังก์ชันที่สถานะปัจจุบัน

คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1940 – ค.ศ. 1945) แรกเริ่มนั้น คอมพิวเตอร์มีขนาดเท่ากับห้องขนาดใหญ่ ซึ่งใช้พลังงานมากเท่ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) สมัยใหม่หลายร้อยเครื่องรวมกัน[4]

คอมพิวเตอร์ในสมัยใหม่นี้ผลิตขึ้นโดยใช้วงจรรวม หรือวงจรไอซี (Integrated circuit)โดยมีความจุมากกว่าสมัยก่อนล้านถึงพันล้านเท่า และขนาดของตัวเครื่องใช้พื้นที่เพียงเศษส่วนเล็กน้อยเท่านั้น คอมพิวเตอร์อย่างง่ายมีขนาดเล็กพอที่จะถูกบรรจุไว้ในอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์มือถือนี้ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ขนาดเล็ก และหากจะมีคนพูดถึงคำว่า "คอมพิวเตอร์" มักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของยุคสารสนเทศ อย่างไรก็ดี ยังมีคอมพิวเตอร์ชนิดฝังอีกมากมายที่พบได้ตั้งแต่ในเครื่องเล่นเอ็มพีสามจนถึงเครื่องบินขับไล่ และของเล่นชนิดต่างๆ จนถึงหุ่นยนต์อุตสาหกรรม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 423 คน กำลังออนไลน์