• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('นาย ปองพล ศรีสว่าง ม.5/2 เลขที่12 ส่วนประกอบของโปรแกรม flash', 'node/136309', '', '18.191.125.109', 0, '35a2c1c8a411fb0655bb5cd45d314a33', 124, 1716071228) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:384a02972844fbddfa17aef8b3383668' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table width=\"100%\" border=\"0\" align=\"center\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"0\" style=\"color: #000000; font-family: \'Times New Roman\'\">\n<tbody>\n<tr>\n<td valign=\"top\">\n<table width=\"500\" height=\"50\" border=\"0\" align=\"center\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"0\" background=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/image/images/ll6.gif\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\">\n <span class=\"ang36 style1\" style=\"font-size: 36px; font-weight: bold; font-family: AngsanaUPC; color: #ffffff\">ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม</span>\n </div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"100%\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\" class=\"ang36\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 36px; font-weight: bold\">\n <img src=\"/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/page/option/pg_01.jpg\" width=\"586\" height=\"598\" />\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\">\n<p align=\"center\" class=\"ang24 style2\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 24px; font-weight: bold; color: #ff0000\">\n Flash มีหน้าต่างการทำงานลักษณะเดียวกับโปรแกรมอื่นๆ ที่ทำงานบน Windows ดังนี้\n </p>\n<ul>\n<li class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\"><b>Title Bar</b> แถบชื่อเรื่อง เป็นส่วนแสดงชื่อโปรแกรม และชื่อไฟล์ที่กำลังทำงานอยู่ รวมถึงปุ่มควบคุมหน้าต่างโปรแกรม</li>\n</ul>\n<p align=\"left\" class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px\">\n <img src=\"/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/page/option/title-bar.gif\" width=\"484\" height=\"13\" />\n </p>\n<ul>\n<li class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\"><b>Menu Bar</b> แถบเมนูแสดงรายการคำสั่งต่างๆ ของโปรแกรม</li>\n</ul>\n<p align=\"left\" class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px\">\n <img src=\"/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/page/option/menu_bar.jpg\" width=\"536\" height=\"43\" />\n </p>\n<ul>\n<li class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\"><b>Toolbar</b> แสดงปุ่มเครื่องมือการทำงานมาตรฐานของโปรแกรม เช่น ปุ่มเปิดงานใหม่, เปิดไฟล์เอกสาร, จัดเก็บไฟล์ เป็นต้น</li>\n</ul>\n<p align=\"left\" class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px\">\n <img src=\"/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/page/option/toolbars.gif\" width=\"449\" height=\"36\" />\n </p>\n<ul>\n<li class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\"><b>Toolbox</b> แสดงปุ่มเครื่องมือเป็นส่วนรวบรวมเครื่องมือชนิดต่าง ๆ ในการสร้าง ปรับแต่ง และแก้ไขชิ้นงาน ที่อยู่ใน Movie โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่มย่อยคือ กลุ่มเครื่องมือ กลุ่มมุมมอง กลุ่มกำหนดสี และกลุ่มออบชั่นของเครื่องมือ <br />\n <img src=\"/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/page/option/toolboxs.gif\" width=\"66\" height=\"472\" /></li>\n<li class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\"><b>Timeline</b> หน้าต่างแสดงเส้นควบคุมเวลาสำหรับการนำเสนอผลงาน ประกอบด้วยส่วนทำงานเกี่ยวกับ Layer และ Timeline</li>\n</ul>\n<blockquote><p align=\"left\" class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\">\n <img src=\"/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/page/option/timeline.gif\" width=\"484\" height=\"78\" />\n </p>\n</blockquote>\n<p class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px\">\n เราแบ่งไทมไลน์เป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่\n </p>\n<ul>\n<li class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\"><b>ส่วนแสดงเลเยอร์ (Layer)</b> ซึ่งแต่ละเลเยอร์เปรียบเหมือนแผนใสที่สามารถวางภาพหรือออบเจ็กต์ได้ โดยแต่ละเลเยอร์นั้นแยกเป็นอิสระต่อกัน แต่ประกอบกันเป็นชันงานเดียว (เราจะกล่าวถึงเรื่องเลเยอร์เพิ่มเติมภายหลัง)</li>\n<li class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\"><b>ส่วนเฟรม (Frame)</b> ที่แสดงช่องเฟรมต่างๆ ซึ่งทำงานเหมือนกับเฟรมที่ประกอบกันเป็นภาพยนตร์โดยเมื่อมีการนำเฟรมเหล่านี้มาแสดงอย่างต่อเนื่องก็จะทำให้เกิดภาพเคลื่อนไหว ทั้งนี้ Frame จะแสดงผลอ ทีละเฟรม โดยจะมีหัวอ่าน (Playhead) ที่เป็นส้นสีแดงคอยบอกตำแหน่งว่ากำลังทำงานอยู่ที่เฟรมใด</li>\n</ul>\n<blockquote><p align=\"justify\" class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\">\n <img src=\"/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/page/option/timeline1.gif\" width=\"400\" height=\"110\" />\n </p>\n</blockquote>\n<p class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px\">\n เราสามารถเปิด/ปิดไทมไลน์นี้ได้โดยคำสั่ง View &gt; Thmeline ให้มีเครื่องหมายถูกอยู่หน้าคำว่า Thmeline เพื่อเปิดไทมไลน์ และใช้คำสั่ง View &gt; Thmeline อีกครั้งยกเลิกเครื่องหมายถูกเพื่อปิดไทมไลน์ซึ่งเราอาจเปรียบการทำงานของไทมไลน์เหมือนกับม่วนฟิลม์ ในขณะที่สเตจคือส่วนที่แสดงแต่ละเฟรมในม้วนฟิลม์นั้นตามลำดับที่กำหนดไว้\n </p>\n<p class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px\">\n เราสามารถแบ่งไฟล์ชิ้นงานที่สร้างเป็นส่วนย่อยๆ ที่เรียกว่าฉากหรือซีน (Scene) โดยในโดยในมูฟวี่หนึ่งๆ จะประกอบด้วยซีนหรือหลายซีนก็ได้ เนื่องจากจะทำงานได้ทีละซีนนั้นจึงต้องเลือกซีนที่จำทำงานด้ยโดยคลิกที่เมนู Window &gt; Other Panels &gt; Scene หรือเลือกใช้ปุ่ม  การแทรกซีนสามารถแทรกได้โดยเลือกที่เมนูคำสั่ง  Inserts &gt; Scene1\n </p>\n<blockquote><p align=\"justify\" class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\">\n <img src=\"/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/page/option/scene.gif\" width=\"400\" height=\"111\" />\n </p>\n</blockquote>\n<ul>\n<li><span class=\"ang24\" style=\"font-size: 24px; font-weight: bold; font-family: AngsanaUPC; color: #000000\">พาเนล (Panels)</span><br />\n <span class=\"ang20nomal\" style=\"font-size: 20px; font-family: AngsanaUPC; color: #000000\">พาเนลคือหน้าต่างทีรวบรวมเครื่องมือต่างๆ   สำหรับใช้ในการปรับแต่งออบเจ็กต์  ซึ่งใน Flash  ได้มีการจัดพาเนลต่างๆ ไว้อย่างเป็นหมวดหมู่ตามหน้าที่ของมันให้เราเรียกใช้ได้  พาเนลสำคัญที่ควรรู้จักดังนี้</span></li>\n<li class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\"><b><u>Property Inspector</u></b>  เป็นพาเนลที่ใช้แสดงคุณสมบัติต่าง ๆ ของออบเจ็กต์ที่เราคลิกเลือก  ซึ่งเราสามารถปรับแต่งคุณสมบัติ้หล่านี้ได้  ทั้งนี้รายละเอียดที่  Property Inspector จะเปลี่ยนไปตามออบเจ็กต์ที่เลือก  โดยสามารถเยกเปิดใช้งาน  Property Inspector ด้วยคำสั่ง  Window &gt; Properties &gt;Properties หรือกดคีย์ลัด &lt;Ctrl+F3&gt;</li>\n</ul>\n<blockquote><p class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\">\n <img src=\"/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/page/option/property-inspector.gif\" width=\"500\" height=\"96\" /> \n </p>\n</blockquote>\n<p class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px\">\n <b><u>พาเนล Filters</u></b>  เป็นพาเนลที่ใช้ปรับแต่งหรือเป็นการใส่เอ็ฟเฟ็คให้กับตัวอักษร มูฟวี่คลิป  และปุ่มกด  โดยเราสามารถเรียกเปิดใช้งานพาเนลFilters ด้วยคำสั่ง  Window &gt; Properties &gt; Filters\n </p>\n<blockquote><p class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\">\n <img src=\"/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/page/option/option1_clip_image004.jpg\" width=\"554\" height=\"97\" /> \n </p>\n</blockquote>\n<p class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px\">\n <b><u>พาเนล Color</u></b>  เป็นพาเนลที่เลือกใช้สีและผสมสีตามที่ต้องการ  ซึ่งจะนำไปใช้ปรับแต่งสีให้กับทั้งภาพวาดและตัวอักษรได้อย่างง่ายดาย  โดยมีให้เลือกชีถึง  2 แท็ด้วยกันคือ  Color Mixer ( ใช้ผสมสีเองตามต้องการ) และ Color Swatches  (ใช้เลือกสีจากจานสีตามที่โปรแกรมกำหนดมาให้) โดยเราสามารถเรียกเปิดใช้งานพาเนล  Color ด้วยคำสั่ง Window &gt; Color Mixer\n </p>\n<p align=\"center\" class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px\">\n <img src=\"/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/page/option/option1_clip_image002_0000.jpg\" width=\"207\" height=\"284\" />          <img src=\"/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/page/option/option1_clip_image002_0001.jpg\" width=\"209\" height=\"297\" />   \n </p>\n<ul>\n<li class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\"><b>Library</b> หน้าต่างควบคุมเกี่ยวกับชุดวัตถุของโปรแกรม ได้แก่ Symbols, Buttons, Movies <br />\n <img src=\"/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/page/option/library.gif\" width=\"108\" height=\"198\" /></li>\n<li class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\"><b>Work Area</b> พื้นที่ทำงาน ประกอบด้วยพื้นที่ว่างสำหรับวางวัตถุแบบชั่วคราว และพื้นที่ของเวที (Stage)</li>\n<li class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px; color: #000000\"><b>Stage</b> พื้นที่ส่วนที่ใช้ในการวางวัตถุต่างๆ หรืออาจจะเรียกว่า &quot;เวที&quot; เมื่อมีการนำเสนอผลงานจะแสดงเฉพาะวัตถุบน Stage เท่านั้น</li>\n</ul>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\" class=\"ang20nomal\" style=\"font-family: AngsanaUPC; font-size: 20px\">\n<div align=\"justify\">\n<p>\n พื้นที่สีขาวบริเวณกลางจอคือ สเตจ เป็นพื้นที่ใช้จัดวางออบเจ็กต์ต่าง ๆ ที่ต้องการแสดงให้เห็น ในชิ้นงาน ส่วนพื้นที่สีเทาด้านนอกบริเวณสีขาวคือ Pasteboard เป็นบริเวณที่สามารถนำออบเจ็กต์ ต่าง ๆ มาวาง พักไว้หรือวางซ่อนไว้ได้เพราะบริเวณนี้จะไม่แสดงผลเวลาที่เรา Export Movie เป็นไฟล์ .SWF\n </p>\n<p>\n <img src=\"/library/contest2553/type1/tech03/34/FLASH%20CS3/page/option/stage.jpg\" width=\"657\" height=\"515\" /><br />\n เราสามารถเปิด/ปิดพื้นที่การทำงานโดยสั่ง View &gt; Work Area ให้มีเครื่องถูกหน้าคำว่า Work Area เพื่อปิดพื้นที่การทำงาน (หรือจะกดคีย์ลัด &lt;Ctrl&gt;+&lt;Shift&gt;+&lt;W&gt; ก็ได้)\n </p>\n</div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1716071248, expire = 1716157648, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:384a02972844fbddfa17aef8b3383668' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ง30237 งานออกแบบป้ายโฆษณา ม. 5/2 ภาคเรียนที่ 1/55

ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม

Flash มีหน้าต่างการทำงานลักษณะเดียวกับโปรแกรมอื่นๆ ที่ทำงานบน Windows ดังนี้

  • Title Bar แถบชื่อเรื่อง เป็นส่วนแสดงชื่อโปรแกรม และชื่อไฟล์ที่กำลังทำงานอยู่ รวมถึงปุ่มควบคุมหน้าต่างโปรแกรม

  • Menu Bar แถบเมนูแสดงรายการคำสั่งต่างๆ ของโปรแกรม

  • Toolbar แสดงปุ่มเครื่องมือการทำงานมาตรฐานของโปรแกรม เช่น ปุ่มเปิดงานใหม่, เปิดไฟล์เอกสาร, จัดเก็บไฟล์ เป็นต้น

  • Toolbox แสดงปุ่มเครื่องมือเป็นส่วนรวบรวมเครื่องมือชนิดต่าง ๆ ในการสร้าง ปรับแต่ง และแก้ไขชิ้นงาน ที่อยู่ใน Movie โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่มย่อยคือ กลุ่มเครื่องมือ กลุ่มมุมมอง กลุ่มกำหนดสี และกลุ่มออบชั่นของเครื่องมือ 
  • Timeline หน้าต่างแสดงเส้นควบคุมเวลาสำหรับการนำเสนอผลงาน ประกอบด้วยส่วนทำงานเกี่ยวกับ Layer และ Timeline

เราแบ่งไทมไลน์เป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่

  • ส่วนแสดงเลเยอร์ (Layer) ซึ่งแต่ละเลเยอร์เปรียบเหมือนแผนใสที่สามารถวางภาพหรือออบเจ็กต์ได้ โดยแต่ละเลเยอร์นั้นแยกเป็นอิสระต่อกัน แต่ประกอบกันเป็นชันงานเดียว (เราจะกล่าวถึงเรื่องเลเยอร์เพิ่มเติมภายหลัง)
  • ส่วนเฟรม (Frame) ที่แสดงช่องเฟรมต่างๆ ซึ่งทำงานเหมือนกับเฟรมที่ประกอบกันเป็นภาพยนตร์โดยเมื่อมีการนำเฟรมเหล่านี้มาแสดงอย่างต่อเนื่องก็จะทำให้เกิดภาพเคลื่อนไหว ทั้งนี้ Frame จะแสดงผลอ ทีละเฟรม โดยจะมีหัวอ่าน (Playhead) ที่เป็นส้นสีแดงคอยบอกตำแหน่งว่ากำลังทำงานอยู่ที่เฟรมใด

เราสามารถเปิด/ปิดไทมไลน์นี้ได้โดยคำสั่ง View > Thmeline ให้มีเครื่องหมายถูกอยู่หน้าคำว่า Thmeline เพื่อเปิดไทมไลน์ และใช้คำสั่ง View > Thmeline อีกครั้งยกเลิกเครื่องหมายถูกเพื่อปิดไทมไลน์ซึ่งเราอาจเปรียบการทำงานของไทมไลน์เหมือนกับม่วนฟิลม์ ในขณะที่สเตจคือส่วนที่แสดงแต่ละเฟรมในม้วนฟิลม์นั้นตามลำดับที่กำหนดไว้

เราสามารถแบ่งไฟล์ชิ้นงานที่สร้างเป็นส่วนย่อยๆ ที่เรียกว่าฉากหรือซีน (Scene) โดยในโดยในมูฟวี่หนึ่งๆ จะประกอบด้วยซีนหรือหลายซีนก็ได้ เนื่องจากจะทำงานได้ทีละซีนนั้นจึงต้องเลือกซีนที่จำทำงานด้ยโดยคลิกที่เมนู Window > Other Panels > Scene หรือเลือกใช้ปุ่ม  การแทรกซีนสามารถแทรกได้โดยเลือกที่เมนูคำสั่ง  Inserts > Scene1

  • พาเนล (Panels)
    พาเนลคือหน้าต่างทีรวบรวมเครื่องมือต่างๆ   สำหรับใช้ในการปรับแต่งออบเจ็กต์  ซึ่งใน Flash  ได้มีการจัดพาเนลต่างๆ ไว้อย่างเป็นหมวดหมู่ตามหน้าที่ของมันให้เราเรียกใช้ได้  พาเนลสำคัญที่ควรรู้จักดังนี้
  • Property Inspector  เป็นพาเนลที่ใช้แสดงคุณสมบัติต่าง ๆ ของออบเจ็กต์ที่เราคลิกเลือก  ซึ่งเราสามารถปรับแต่งคุณสมบัติ้หล่านี้ได้  ทั้งนี้รายละเอียดที่  Property Inspector จะเปลี่ยนไปตามออบเจ็กต์ที่เลือก  โดยสามารถเยกเปิดใช้งาน  Property Inspector ด้วยคำสั่ง  Window > Properties >Properties หรือกดคีย์ลัด <Ctrl+F3>

 

พาเนล Filters  เป็นพาเนลที่ใช้ปรับแต่งหรือเป็นการใส่เอ็ฟเฟ็คให้กับตัวอักษร มูฟวี่คลิป  และปุ่มกด  โดยเราสามารถเรียกเปิดใช้งานพาเนลFilters ด้วยคำสั่ง  Window > Properties > Filters

 

พาเนล Color  เป็นพาเนลที่เลือกใช้สีและผสมสีตามที่ต้องการ  ซึ่งจะนำไปใช้ปรับแต่งสีให้กับทั้งภาพวาดและตัวอักษรได้อย่างง่ายดาย  โดยมีให้เลือกชีถึง  2 แท็ด้วยกันคือ  Color Mixer ( ใช้ผสมสีเองตามต้องการ) และ Color Swatches  (ใช้เลือกสีจากจานสีตามที่โปรแกรมกำหนดมาให้) โดยเราสามารถเรียกเปิดใช้งานพาเนล  Color ด้วยคำสั่ง Window > Color Mixer

             

  • Library หน้าต่างควบคุมเกี่ยวกับชุดวัตถุของโปรแกรม ได้แก่ Symbols, Buttons, Movies 
  • Work Area พื้นที่ทำงาน ประกอบด้วยพื้นที่ว่างสำหรับวางวัตถุแบบชั่วคราว และพื้นที่ของเวที (Stage)
  • Stage พื้นที่ส่วนที่ใช้ในการวางวัตถุต่างๆ หรืออาจจะเรียกว่า "เวที" เมื่อมีการนำเสนอผลงานจะแสดงเฉพาะวัตถุบน Stage เท่านั้น

พื้นที่สีขาวบริเวณกลางจอคือ สเตจ เป็นพื้นที่ใช้จัดวางออบเจ็กต์ต่าง ๆ ที่ต้องการแสดงให้เห็น ในชิ้นงาน ส่วนพื้นที่สีเทาด้านนอกบริเวณสีขาวคือ Pasteboard เป็นบริเวณที่สามารถนำออบเจ็กต์ ต่าง ๆ มาวาง พักไว้หรือวางซ่อนไว้ได้เพราะบริเวณนี้จะไม่แสดงผลเวลาที่เรา Export Movie เป็นไฟล์ .SWF


เราสามารถเปิด/ปิดพื้นที่การทำงานโดยสั่ง View > Work Area ให้มีเครื่องถูกหน้าคำว่า Work Area เพื่อปิดพื้นที่การทำงาน (หรือจะกดคีย์ลัด <Ctrl>+<Shift>+<W> ก็ได้)

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 257 คน กำลังออนไลน์