• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8c054748018563f86df9b7407c3b826a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img height=\"104\" width=\"520\" src=\"/files/u75136/3.jpg\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #000080\">1. ภาษาบาลี - สันสกฤต</span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000080\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>1.1 คำสันสกฤต</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><br />\n</strong></span><span style=\"color: #808000\"><strong>วิธีสังเกต:</strong></span> 1.) คำควบกล้ำ คำที่มี “รร” เช่น ปราโมทย์ ประสูติ ประมาท วิเคราะห์ กรีฑา ไมตรี ภรรยา จรรยา <br />\n               2.) ตัว “ศ ษ ฤ ฤา ฑ สถ” เช่น พฤษจิกายน ศรัทธา ศิษย์ ศัตรู ศักดา ศักดิ์สิทธิ์ ศาสตร์ เศษ ศรีษะ มนุษย์ พฤกษา ศตวรรษ ฤดู กรีฑา จุฑา ครุฑ สถาปนา สถาบัน สถานะ สถิต สถาพร ชญาณ\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>1.2 คำบาลี</strong></span>\n</p>\n<p>\n                                   พยัญชนะวรรค<br />\n                                   วรรค กะ - ก ข ค ฆ ง<br />\n                                   วรรค จะ - จ ฉ ช ฌ ญ  <br />\n                                   วรรค ฏะ - ฏ ฐ ฑ ฒ ณ  <br />\n                                   วรรค ตะ - ต ถ ท ธ น  <br />\n                                   วรรค ปะ - ป ผ พ ภ ม<br />\n                                   เศษวรรค - ย ร ล ว ส ห ฬ ๐<br />\n                                   ตัวตาม คือพยัญชนะที่ตามตัวสะกดมาเลย เช่น บุปผา ตัวสะกด ป ตัวตาม ผ มัชฌิม ตัวสะกด ช ตัวตาม ฌ \n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #808000\">วิธีสังเกต:</span></strong> ตัวสะกด + ตัวตามในภาษาบาลีมีกฎแน่นอน คือ<br />\n              - ถ้าตัวสะกดเป็นพยัญชนะตัวที่ 1 จะตามด้วยตัวที่ 1 หรือ 2 ในวรรคเดียวกัน<br />\n              - ถ้าตัวสะกดเป็นพยัญชนะตัวที่ 3 จะตามด้วยตัวที่ 3 หรือ 4 ในวรรคเดียวกัน<br />\n              - ถ้าตัวสะกดเป็นพยัญชนะตัวที่ 5 จะตามด้วยตัวใดก็ได้ในวรรคเดียวกัน<br />\n              เช่น ลักขณะ มัจฉา รัฏฐา หัตถ์ บุปผา พยัคฆ์ สัพพัญญู สงฆ์ กัญญา สัณฐาน สัมมา ชิวหา ภัสสร อาสาฬหบูชา กัลยา\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">1.3 จุดที่น่าสนใจของคำบาลี - สันสกฤต </span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n1.) คำแขก (หรือ คำบาลี - สันสกฤต) จะอ่านตามด้วยเสียงสระ (โดยเฉพาะสระ อะ) ที่พยางค์หลังสุดได้ เช่น<br />\n     เอก อ่านได้ว่า เอกะ         ทาน อ่านได้ว่า ทานะ             นาม อ่านได้ว่า นามะ<br />\n     ชน  อ่านได้ว่า ชนะ          วร   อ่านได้ว่า  วระ               โลก อ่านได้ว่า โลกะ<br />\n     กาม อ่านได้ว่า กาม          วน  อ่านได้ว่า  วนะ                ผล  อ่านได้ว่า ผละ\n</p>\n<p>\n<br />\n2.) วิธีดูคำว่าเป็นบาลี - สันสกฤต ให้ดูก่อนว่าเป็นคำสันสกฤตหรือไม่ ถ้าไม่เป็นคำสันสกฤตค่อยมาสังเกตตัวสะกดและตัวตาม\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #000080\"><strong>2. คำเขมร</strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n2.1 คำนำหน้าด้วย บัง บัน บำ ได้ เช่น บังเกิด บังคม บังคัล (เฝ้า) บังควร บันดาล บำเพ็ญ บำเรอ บำราศ บำบัด บรรจง\n</p>\n<p>\n<br />\n2.2 คำที่นำหน้าด้วย “อำ” หรือแผลง “อำ” เข้าไปได้ เช่น กำธร กำนัน ตำบล สำเนา สำราญ สำคัญ สำรวล จำรัสกราบ เกิด จง จอง เจริญ เจียร ชาญ เดิน ตรวจ ตัก ติ ทบ ทาย ทูล เสร็จแสดง อวย อาจ แข็ง ตรง ตรัส ทรุด แทรก\n</p>\n<p>\n<br />\n2.3 คำอื่นๆ เช่น เสด็จ เสวย โปรด ถวาย กระทรวง กระบือ กระโปรง ขนุน ขนม เขนย แข ขจร เขม่า โขมด คลัง ควาญ ควร ฉะเชิงเทรา ฉงน ฉงาย เชิญ ชะเวง โดม ทบวง ทหาร เพลิง ผกา เผอิญ เรียม เลบง ศก ศอ สไบ สนุก  \n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #000080\"><strong>3. คำภาษาอื่นๆ</strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">3.1 ภาษาจีน</span></strong>                  ก๋วยเตี๋ยว กวยจั๊บ  เกี๊ยว เกาเหลา เก๋ง เก้าอี้ ก๊ก กางเกง เก๊กฮวย โจ๊ก เจ้าสัว เจ๊ เฉาก๊วย ชา เซ้ง ซวย แซ่\n</p>\n<p>\n                                    เซียมซี ตงฉิน เต้าส่วน เต้าฮวย เต้าหู้ เต้าเจี้ยว ตะเกียบ ตะหลิว ตุน โต๊ะ ตั๋ว เถ้าแก่ ถัง บะหมี่ บุ้งกี๋ แป๊ะเจี๊ยะ\n</p>\n<p>\n                                    โป๊ะ โป๊ พะโล้ ยี่ห้อ ลังถึง เสี่ย ห้าง โอเลี้ยง ท้อ บ๊วย\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>3.2 ภาษาญี่ปุ่น</strong></span>               คาราเต้ เคนโด้ กิโมโน ยูโด ปิ่นโต\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>3.3 ภาษาเปอร์เซีย</strong></span>          กุหลาบ ชุกชี ตรา สุหร่าย ยี่หร่า\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>3.4 ภาษาทมิฬ</strong></span>               ตะกี่ว อาจาด กุลี\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>3.5 ภาษาชวา และมลายู</strong></span> มังคุด มะละกอ บุหลัน บุหรง บุหงา ทุเรียน น้อยหน่า กริช กระยาหงัน โสร่ง สลัด\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>3.6 ภาษาโปรตุเกส</strong></span>         สบู่ เหรียญ กะละแม\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>3.7 ภาษาฝรั่งเศส</strong></span>           กงศุล กรัม ลิตร\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n  <br />\n \n</p>\n', created = 1715644192, expire = 1715730592, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8c054748018563f86df9b7407c3b826a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภาษาต่างประเทศ

 

1. ภาษาบาลี - สันสกฤต


1.1 คำสันสกฤต


วิธีสังเกต: 1.) คำควบกล้ำ คำที่มี “รร” เช่น ปราโมทย์ ประสูติ ประมาท วิเคราะห์ กรีฑา ไมตรี ภรรยา จรรยา
               2.) ตัว “ศ ษ ฤ ฤา ฑ สถ” เช่น พฤษจิกายน ศรัทธา ศิษย์ ศัตรู ศักดา ศักดิ์สิทธิ์ ศาสตร์ เศษ ศรีษะ มนุษย์ พฤกษา ศตวรรษ ฤดู กรีฑา จุฑา ครุฑ สถาปนา สถาบัน สถานะ สถิต สถาพร ชญาณ


1.2 คำบาลี

                                   พยัญชนะวรรค
                                   วรรค กะ - ก ข ค ฆ ง
                                   วรรค จะ - จ ฉ ช ฌ ญ  
                                   วรรค ฏะ - ฏ ฐ ฑ ฒ ณ  
                                   วรรค ตะ - ต ถ ท ธ น  
                                   วรรค ปะ - ป ผ พ ภ ม
                                   เศษวรรค - ย ร ล ว ส ห ฬ ๐
                                   ตัวตาม คือพยัญชนะที่ตามตัวสะกดมาเลย เช่น บุปผา ตัวสะกด ป ตัวตาม ผ มัชฌิม ตัวสะกด ช ตัวตาม ฌ 


วิธีสังเกต: ตัวสะกด + ตัวตามในภาษาบาลีมีกฎแน่นอน คือ
              - ถ้าตัวสะกดเป็นพยัญชนะตัวที่ 1 จะตามด้วยตัวที่ 1 หรือ 2 ในวรรคเดียวกัน
              - ถ้าตัวสะกดเป็นพยัญชนะตัวที่ 3 จะตามด้วยตัวที่ 3 หรือ 4 ในวรรคเดียวกัน
              - ถ้าตัวสะกดเป็นพยัญชนะตัวที่ 5 จะตามด้วยตัวใดก็ได้ในวรรคเดียวกัน
              เช่น ลักขณะ มัจฉา รัฏฐา หัตถ์ บุปผา พยัคฆ์ สัพพัญญู สงฆ์ กัญญา สัณฐาน สัมมา ชิวหา ภัสสร อาสาฬหบูชา กัลยา


1.3 จุดที่น่าสนใจของคำบาลี - สันสกฤต


1.) คำแขก (หรือ คำบาลี - สันสกฤต) จะอ่านตามด้วยเสียงสระ (โดยเฉพาะสระ อะ) ที่พยางค์หลังสุดได้ เช่น
     เอก อ่านได้ว่า เอกะ         ทาน อ่านได้ว่า ทานะ             นาม อ่านได้ว่า นามะ
     ชน  อ่านได้ว่า ชนะ          วร   อ่านได้ว่า  วระ               โลก อ่านได้ว่า โลกะ
     กาม อ่านได้ว่า กาม          วน  อ่านได้ว่า  วนะ                ผล  อ่านได้ว่า ผละ


2.) วิธีดูคำว่าเป็นบาลี - สันสกฤต ให้ดูก่อนว่าเป็นคำสันสกฤตหรือไม่ ถ้าไม่เป็นคำสันสกฤตค่อยมาสังเกตตัวสะกดและตัวตาม


2. คำเขมร


2.1 คำนำหน้าด้วย บัง บัน บำ ได้ เช่น บังเกิด บังคม บังคัล (เฝ้า) บังควร บันดาล บำเพ็ญ บำเรอ บำราศ บำบัด บรรจง


2.2 คำที่นำหน้าด้วย “อำ” หรือแผลง “อำ” เข้าไปได้ เช่น กำธร กำนัน ตำบล สำเนา สำราญ สำคัญ สำรวล จำรัสกราบ เกิด จง จอง เจริญ เจียร ชาญ เดิน ตรวจ ตัก ติ ทบ ทาย ทูล เสร็จแสดง อวย อาจ แข็ง ตรง ตรัส ทรุด แทรก


2.3 คำอื่นๆ เช่น เสด็จ เสวย โปรด ถวาย กระทรวง กระบือ กระโปรง ขนุน ขนม เขนย แข ขจร เขม่า โขมด คลัง ควาญ ควร ฉะเชิงเทรา ฉงน ฉงาย เชิญ ชะเวง โดม ทบวง ทหาร เพลิง ผกา เผอิญ เรียม เลบง ศก ศอ สไบ สนุก  


3. คำภาษาอื่นๆ


3.1 ภาษาจีน                  ก๋วยเตี๋ยว กวยจั๊บ  เกี๊ยว เกาเหลา เก๋ง เก้าอี้ ก๊ก กางเกง เก๊กฮวย โจ๊ก เจ้าสัว เจ๊ เฉาก๊วย ชา เซ้ง ซวย แซ่

                                    เซียมซี ตงฉิน เต้าส่วน เต้าฮวย เต้าหู้ เต้าเจี้ยว ตะเกียบ ตะหลิว ตุน โต๊ะ ตั๋ว เถ้าแก่ ถัง บะหมี่ บุ้งกี๋ แป๊ะเจี๊ยะ

                                    โป๊ะ โป๊ พะโล้ ยี่ห้อ ลังถึง เสี่ย ห้าง โอเลี้ยง ท้อ บ๊วย


3.2 ภาษาญี่ปุ่น               คาราเต้ เคนโด้ กิโมโน ยูโด ปิ่นโต


3.3 ภาษาเปอร์เซีย          กุหลาบ ชุกชี ตรา สุหร่าย ยี่หร่า


3.4 ภาษาทมิฬ               ตะกี่ว อาจาด กุลี


3.5 ภาษาชวา และมลายู มังคุด มะละกอ บุหลัน บุหรง บุหงา ทุเรียน น้อยหน่า กริช กระยาหงัน โสร่ง สลัด


3.6 ภาษาโปรตุเกส         สบู่ เหรียญ กะละแม


3.7 ภาษาฝรั่งเศส           กงศุล กรัม ลิตร

 


  
 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 486 คน กำลังออนไลน์