• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a76326b63eebe0e1dc92815d7864001b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nคำนาม คือ คำที่แสดงความหมายถึง คน สัตว์ สิ่งของ สภาพ อาการ สถานที่ ลักษณะซึ่งรวมทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต<br />\nชนิดของคำนาม\n</p>\n<p>\nคำนามทั่วไป หรือ สามานยนาม เป็นคำที่ไม่ชี้เฉพาะว่าเป็นสิ่งไหน เช่น สมุด ดินสอ ปากกา<br />\nตัวอย่างของสามานยนาม เช่น  <br />\n           ดอกไม้อยู่ในแจกัน  <br />\n            แมวชอบกินปลา \n</p>\n<p>\nคำนามเฉพาะ หรือ วิสามานยนาม เป็นคำที่ชี้เฉพาะลงไปว่าเป็นใครหรือสิ่งใด เช่น นายแดง วัดพระแก้ว<br />\nตัวอย่างของวิสามานยนาม เช่น  <br />\n            นิดและน้อยเป็นพี่น้องกัน  <br />\n            อิเหนาได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดของกลอนบทละคร\n</p>\n<p>\nคำนามบอกลักษณะ หรือ ลักษณนาม เป็นคำตามหลังจำนวนบอกลักษณะของนามนั้น ๆ เช่น ปากกา ๓ ด้าม ไข่ ๓ ฟอง<br />\nตัวอย่างของลักษณนาม เช่น<br />\n            คน 6 คน นั่งรถ 2 คน<br />\n            ผ้า 20 ผืน เรียกว่า 1 กุลี\n</p>\n<p>\nคำนามบอกหมวดหมู่ หรือ สมุหนาม เป็นคำที่บอกว่ามีหลาย ๆ สิ่ง หลาย ๆ อย่าง รวมกัน เช่น ฝูง กอง<br />\nตัวอย่างของสมุหนาม เช่น<br />\n               กองยุวกาชาดมาตั้งค่ายอยู่ที่นี่<br />\n              พวกเราไปต้อนรับคณะรัฐมนตรี\n</p>\n<p>\nคำนามบอกอาการ หรือ อาการนาม เป็นคำที่บอกการกระทำหรือการแสดงมักมีคำว่า การ ความ นำหน้า เช่น การกิน การนอน ความดี ความชั่ว<br />\nตัวอย่างของอาการนาม เช่น<br />\n           การวิ่งเพื่อสุขภาพไม่ต้องใช้ความเร็ว การเรียนช่วยให้มีความรู้<br />\n          ข้อสังเกต คำว่า “การ” และ “ความ” ถ้านำหน้าคำชนิดอื่นที่ไม่ใช่คำกริยา หรือวิเศษณ์จะไม่นับว่าเป็นอาการนาม เช่น การรถไฟ , การประปา , ความแพ่ง เป็นต้น คำเหล่านี้จัดเป็นสามานยนาม\n</p>\n<p>\nหน้าที่ของคำนาม<br />\nทำหน้าที่เป็นประธาน เช่น ตำรวจจับผู้ร้าย พ่อขับรถจักรยานยนต์<br />\nทำหน้าที่เป็นกรรม เช่น แมวไล่หนู ฉัตรชัยกินข้าว<br />\nทำหน้าที่เป็นกรรมตรงและกรรมรอง เช่น แม่ทำทองหยิบให้นิด<br />\n(ทองม้วน ทำหน้าที่เป็นกรรมตรงของกริยา ทำ และ นิด เป็นกรรมรองของกริยา ทำ )<br />\nทำหน้าที่ขยายคำนามอื่น<br />\nทำหน้าที่ขยายกริยา บอกสถานที่ ทิศทาง หรือเวลา เช่น เขาไปตลาด นิดชอบทำงานกลางคืน\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #d7e7ea\"></span>\n</p>\n', created = 1715784608, expire = 1715871008, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a76326b63eebe0e1dc92815d7864001b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คำนาม

คำนาม คือ คำที่แสดงความหมายถึง คน สัตว์ สิ่งของ สภาพ อาการ สถานที่ ลักษณะซึ่งรวมทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
ชนิดของคำนาม

คำนามทั่วไป หรือ สามานยนาม เป็นคำที่ไม่ชี้เฉพาะว่าเป็นสิ่งไหน เช่น สมุด ดินสอ ปากกา
ตัวอย่างของสามานยนาม เช่น 
           ดอกไม้อยู่ในแจกัน 
            แมวชอบกินปลา 

คำนามเฉพาะ หรือ วิสามานยนาม เป็นคำที่ชี้เฉพาะลงไปว่าเป็นใครหรือสิ่งใด เช่น นายแดง วัดพระแก้ว
ตัวอย่างของวิสามานยนาม เช่น 
            นิดและน้อยเป็นพี่น้องกัน 
            อิเหนาได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดของกลอนบทละคร

คำนามบอกลักษณะ หรือ ลักษณนาม เป็นคำตามหลังจำนวนบอกลักษณะของนามนั้น ๆ เช่น ปากกา ๓ ด้าม ไข่ ๓ ฟอง
ตัวอย่างของลักษณนาม เช่น
            คน 6 คน นั่งรถ 2 คน
            ผ้า 20 ผืน เรียกว่า 1 กุลี

คำนามบอกหมวดหมู่ หรือ สมุหนาม เป็นคำที่บอกว่ามีหลาย ๆ สิ่ง หลาย ๆ อย่าง รวมกัน เช่น ฝูง กอง
ตัวอย่างของสมุหนาม เช่น
               กองยุวกาชาดมาตั้งค่ายอยู่ที่นี่
              พวกเราไปต้อนรับคณะรัฐมนตรี

คำนามบอกอาการ หรือ อาการนาม เป็นคำที่บอกการกระทำหรือการแสดงมักมีคำว่า การ ความ นำหน้า เช่น การกิน การนอน ความดี ความชั่ว
ตัวอย่างของอาการนาม เช่น
           การวิ่งเพื่อสุขภาพไม่ต้องใช้ความเร็ว การเรียนช่วยให้มีความรู้
          ข้อสังเกต คำว่า “การ” และ “ความ” ถ้านำหน้าคำชนิดอื่นที่ไม่ใช่คำกริยา หรือวิเศษณ์จะไม่นับว่าเป็นอาการนาม เช่น การรถไฟ , การประปา , ความแพ่ง เป็นต้น คำเหล่านี้จัดเป็นสามานยนาม

หน้าที่ของคำนาม
ทำหน้าที่เป็นประธาน เช่น ตำรวจจับผู้ร้าย พ่อขับรถจักรยานยนต์
ทำหน้าที่เป็นกรรม เช่น แมวไล่หนู ฉัตรชัยกินข้าว
ทำหน้าที่เป็นกรรมตรงและกรรมรอง เช่น แม่ทำทองหยิบให้นิด
(ทองม้วน ทำหน้าที่เป็นกรรมตรงของกริยา ทำ และ นิด เป็นกรรมรองของกริยา ทำ )
ทำหน้าที่ขยายคำนามอื่น
ทำหน้าที่ขยายกริยา บอกสถานที่ ทิศทาง หรือเวลา เช่น เขาไปตลาด นิดชอบทำงานกลางคืน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 270 คน กำลังออนไลน์