• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5a0dc35aac0e68c3a3dd826c0751f2da' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h2 style=\"word-spacing: 0px; line-height: normal\" class=\"art-PostHeader\">ประชาคมอาเซียน</h2>\n<div class=\"art-PostHeaderIcons art-metadata-icons\">\n<img src=\"/sites/all/themes/tgv11/images/PostDateIcon.png\" style=\"border-style: initial; border-color: initial; border-width: initial\" height=\"18\" width=\"18\" class=\"art-metadata-icon\" />เมื่อ พุธ, 08/02/2012 - 16:31 | แก้ไขล่าสุด พุธ, 08/02/2012 - 16:31| โดย <img src=\"/sites/all/themes/tgv11/images/PostAuthorIcon.png\" style=\"border-style: initial; border-color: initial; border-width: initial\" height=\"18\" width=\"18\" class=\"art-metadata-icon\" /> ynw40531\n</div>\n<div class=\"art-PostContent\">\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: Tahoma; color: #006400\"></span></b>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<div style=\"display: inline !important\" align=\"center\">\n<b>ประชาคมอาเซียนและวัฒนธรรมอาเซียน คือ อะไรและมีเป้าหมายอย่างไร</b>\n</div>\n</div>\n<div style=\"font-weight: bold\" align=\"center\">\n</div>\n<p>\n<b></b>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\">อาเซียนมุ่งหวังประโยชน์จากการรวมตัวกันเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนเพื่อให้ประชาชนมีความอยู่ดีกินดี  ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ  มีสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกันโดยเน้นการส่งเสริมความรู้  ความเข้าใจระหว่างประเทศสมาชิกในด้านความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์  มรดกทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ระดับภูมิภาคร่วมกัน</span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\">ทั้งนี้  การเสริมสร้างรากฐานและความเชื่อมโยงระหว่างกันที่แข็งแกร่งนำไปสู่ความเข้าใจของการเป็นเพื่อนบ้านที่ดี  การรู้เขารู้เรา  และมีความรับผิดชอบร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกภายใต้สังคมที่เอื้ออาทร  โดยแผนปฏิบัติการเพื่อนำไปสู่การจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC) ได้กำหนดกิจกรรมความร่วมมือที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลางโดยเน้นความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ได้แก่</span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\">1.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Development)</span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\">2.การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection)</span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\">3.สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights)</span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\">4.ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Ensuring Environmental Sustainability)</span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\">5.การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building ASEAN Identity)</span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\">6.การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap)</span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\">และเน้นให้มีการส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเขียน นักคิดและศิลปินในภูมิภาค ตลอดจนการเสริมสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนในภูมิภาคโดยเฉพาะในระดับประชาชน</span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\">ทั้งนี้ ไทยจะได้ประโยชน์อย่างมากจากการที่รากฐานสำคัญของประชาคมอาเซียนที่ประชาชนมีความเข้าใจซึ่งกันและกัน  และเข้าใจถึงผลประโยชน์ที่มีร่วมกัน  ซึ่งจะมีส่วนช่วยให้การสร้างประชาคมอาเซียนสามารถประสบความสำเร็จด้วย</span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"></span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 18pt; color: #006400\">กฎบัตรอาเซียนคืออะไร</span></b>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 18pt; color: #006400\"><img src=\"http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcTM1-ibSlGl2zkqWde9DTVPwYtzCRBhcT5KPtncLr2fsIMUng1bsA\" style=\"border-style: initial; border-color: initial; border-image: initial; width: 320px; height: 80px; border-width: 0px\" id=\"rg_hi\" class=\"rg_hi\" width=\"320\" height=\"80\" data-height=\"80\" data-width=\"320\" /></span></b>\n</div>\n<div>\n<span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #ff0000\">กฎบัตรอาเซียนคือธรรมนูญของอาเซียนที่จะทำให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคล  เป็นการวางกรอบกฎหมายตลอดจนโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียน  โดยนอกจากการประมวลสิ่งที่ถือเป็นค่านิยม หลักการ และแนวปฏิบัติในอดีตของอาเซียนมาประกอบกันเป็นข้อปฏิบัติอย่างเป็นทางการสำหรับประเทศสมาชิกแล้ว  ยังมีการปรับปรุงแก้ไขและสร้างกลไกใหม่ขึ้นพร้อมกับกำหนดขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบขององค์กรสำคัญในอาเซียน  ตลอดจนความสัมพันธ์ในการดำเนินงานขององค์กรเหล่านี้  เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน  โดยมีเป้าหมายให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น</span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #ff0000\">กฎบัตรอาเซียนประกอบด้วย บทบัญญัติ 13 บท 55 ข้อ ครอบคลุมเป้าหมายและหลักการ สมาชิกภาพ โครงสร้างองค์กรของอาเซียน องค์กรที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน เอกสิทธิ์และความคุ้มกัน กระบวนการตัดสินใจ การระงับข้อพิพาท งบประมาณและการเงิน การบริหารจัดการ เอกลักษณ์และสัญลักษณ์ของอาเซียน และความสัมพันธ์กับภายนอก</span></span>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"> <span class=\"text_normal\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 18pt; color: #006400\">ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนคืออะไร มีเป้าหมายอย่างไรและไทยได้ประโยชน์อย่างไร</span></b>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #ff6600\">ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นเป้าหมายด้านเศรษฐกิจหลักที่สำคัญในการขับเคลื่อนความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียน  ภายหลังการลงนามจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนก็มีความคืบหน้าที่ดีในความร่วมมือต่าง ๆ เป็นลำดับและในที่สุดอาเซียนได้มุ่งหวังที่จะจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจในปี 2558  ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญคือการเป็นตลาดและเป็นฐานการผลิตร่วมกัน  โดยมีการเคลื่อนย้ายสินค้า  บริการ  การลงทุน  แรงงานฝีมืออย่างเสรีและเงินลงทุนที่เสรีมากขั้น  มีความสามารถในการแข่งขันสูง  มุ่งสร้างความเท่าเทียมในการพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศอาเซียน  และการส่งเสริมการรวมกลุ่มอาเซียนเข้ากับประชาคมโลก ขนาดของตลาดอาเซียนที่ใหญ่ขึ้นทำให้อาเซียนมีอำนาจซื้อสูงขึ้นตามมา  เช่นเดียวกับความสามารถในการแข่งขันกับภูมิภาคอื่นที่เพิ่มขึ้น  ซึ่งช่วยให้สมาชิกสามารถปรับตัวเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์ได้เป็นอย่างดี</span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #ff6600\">การคมนาคมขนส่งเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นประโยชน์กับประชาชนอย่างแท้จริง  อาเซียนจึงมีโครงการเชื่อมโยงเส้นทางหลวงอาเซียน  มีความร่วมมือระหว่างประเทศในการเชื่อมโยงเส้นทางรถไฟจากสิงคโปร์ ผ่านไปยัง มาเลเซีย ไทย กัมพูชา เวียดนามและสิ้นสุดที่เมืองคุนหมิง ประเทศจีน นอกจากนี้ การปรับมาตรฐานของเส้นทางคมนาคมทางบกและทางรถไฟให้มีมาตรฐานเดียวกันก็จะส่งเสริมความร่วมมือของอาเซียนด้านการท่องเที่ยวมากยิ่งขึ้นด้วย</span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #ff6600\">ขณะที่การเจรจาเพื่อเปิดตลาดในระดับพหุภาคีภายใต้องค์การการค้าโลกยังมีท่าทีว่าจะไม่สามารถสรุปผลได้ในอนาคตอันใกล้  ประเทศต่าง ๆ จึงได้พยายามที่จะทำข้อตกลงการค้าเสรีไม่ว่าจะในระดับทวีภาคี หรือระดับภูมิภาค ในส่วนของอาเซียนมีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคโดยการจัดทำเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area - AFTA หรือ อาฟต้า) มาแล้ว 15 ปี และเริ่มรวมตัวกับประเทศหรือกลุ่มคู่ค้าสำคัญ เช่น ญี่ปุ่น จีน เกาหลี สหภาพยุโรป ฯลฯ ความเหนียวแน่นใกล้ชิดระหว่างกันจะเสริมสร้างความเข้มแข็งให้อาเซียนสามารถสร้างประโยชน์สูงสุดจากการรวมตัวกับประเทศคู่ค้าอื่น ๆ ต่อไป</span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #ff6600\">หากอาเซียนสามารถสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้สำเร็จ  ไทยจะได้ประโยชน์จากการขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้า  และเปิดโอกาสการค้าบริการในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรมและภัตตาคาร  สุขภาพ ฯลฯ  ซึ่งอาเซียนยังมีความต้องการด้านการบริการเหล่านี้อีกมาก  นอกจากนี้  ยังจะช่วยเสริมสร้างโอกาสในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมายังอาเซียน  ซึ่งจะเพิ่มอำนาจการต่อรองของอาเซียนในเวทีการค้าโลก  และยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในอาเซียนโดยรวม</span></span>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></span></span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"></span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"></span>\n</div>\n<div style=\"color: #0000cd\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\"><span class=\"text_normal\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #006400\"><b>ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียนคืออะไร  และมีเป้าหมายอย่างไร</b></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"font-size: 18pt\"><b><span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #ff99cc\">อาเซียนตระหนักว่าสันติภาพ  ความมั่นคง  และเสถียรภาพทางการเมืองเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาในด้านอื่น ๆ  ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียนจึงเป็นเสาหลักความร่วมมือหนึ่งในสามเสาหลักของประชาคมอาเซียนที่เน้นการรวมตัวของอาเซียนเพื่อสร้างความมั่นใจ  (confidence  building)  เสถียรภาพ (stability)  และสันติภาพ (peace)  ในภูมิภาค  ทั้งนี้  เพื่อให้ประชาชนในอาเซียนอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและปราศจากภัยคุกคามจากด้านการทหารและภัยคุกคามในรูปแบบใหม่  เช่น  ปัญหายาเสพติด  ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ</span></span></b></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"font-size: 18pt\"><b><span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #0000cd\"><span style=\"color: #ff99cc\">ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน  มีเป้าหมาย 3 ประการ  ได้แก่  (1) สร้างประชาคมให้มีค่านิยมร่วมกันในเรื่องของการเคารพความหลากหลายของแนวความคิดและส่งเสริมให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางของนโยบายและกิจกรรมภายใต้เสาการเมืองและความมั่นคง  (2) ให้อาเซียนสามารถเผชิญกับภัยคุมคามความมั่นคงในรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่และส่งเสริมความมั่นคงของ</span></span>มนุษย์  (3) ให้มีปฏิสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นและสร้างสรรค์กับประชาคมโลก  โดยอาเซียนมีบทบาทนำในภูมิภาคและจะช่วยส่งเสริมเสถียรภาพและความมั่นคงของภูมิภาค  ทั้งนี้  อาเซียนกำลังจัดทำแผนงานสำหรับการจัดตั้งประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน  (ASEAN  Political Security  Community  Blueprint - APSC  Blueprint)  ซึ่งมีความคาดหวังให้เสร็จภายในปลายปี 2551</span></span></b></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"font-size: 18pt\"><b><span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #ff99cc\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<h2 class=\"art-PostHeader\">จุดกำเนิดของอาเซียนที่นำไปสู่การลงนามปฏิญญากรุงเทพ</h2>\n<p></p></span></span></b>\n<p>\n<b></b>\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"font-size: 18pt\"><b><span style=\"font-size: 14pt\"><b><span style=\"font-size: 24pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: red\" lang=\"TH\">กำเนิดอาเซียนและวัตถุประสงค์การจัดตั้ง</span></b><b><span style=\"font-size: 24pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: blue\"></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: #00b050\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: #00b050\" lang=\"TH\">เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ณ วังสราญรมย์ (ที่ตั้งของกระทรวงการต่างประเทศไทย ในขณะนั้น) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ 5 ประเทศ ในภูมิภาคเอเซียตะวันออก-เฉียงใต้ ได้แก่</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\', serif; color: #00b050\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: #00b050\" lang=\"TH\">อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ได้ลงนามใน &quot;ปฏิญญากรุงเทพฯ&quot; [</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: #00b050\">Bangkok Declaration] <span lang=\"TH\">เพื่อจัดตั้งสมาคมความร่วมมือในระดับภูมิภาคของประเทศต่างๆ ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ภายใต้ชื่อ</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: #00b050\" lang=\"TH\">&quot;สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้&quot; หรือ &quot;อาเซียน&quot;<br />\n[</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: #00b050\">ASEAN]<span lang=\"TH\"> ซึ่งเป็นตัวย่อของ </span>Association of South East Asian Nations<span lang=\"TH\"> ชื่อทางการในภาษาอังกฤษของอาเซียน</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: #00b050\" lang=\"TH\">ทั้งนี้ ก่อนหน้าที่การลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ รัฐมนตรีต่างประเทศของทั้ง 5 ประเทศได้หารือกันเกี่ยวกับความเป็นไปได้ ของการจัดตั้งสมาคมอาเซียนและยกร่างปฏิญญากรุงเทพฯ ที่แหลมแท่น จังหวัดชลบุรี</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: #00b050\" lang=\"TH\">ปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์สำคัญ 7 ประการ ของการจัดตั้งอาเซียน ได้แก่</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: #00b050\" lang=\"TH\">1. ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร<br />\n2. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค<br />\n3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ พัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค<br />\n4. ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี<br />\n5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการฝึกอบรมและการวิจัย และส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้<br />\n6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม<br />\n7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การระหว่างประเทศ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: #00b050\" lang=\"TH\">นับตั้งแต่วันก่อตั้ง อาเซียนได้พยายามแสดงบทบาทในการธำรงรักษาและส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคงและความเจริญร่วมกันในภูมิภาค ตลอดจนมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องในการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ ระหว่างประเทศสมาชิก ตลอดจนพัฒนาการในเรื่องความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสังคม</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: #00b050\" lang=\"TH\">จนเป็นที่ประจักษ์แก่นานาประเทศ และนำไปสู่การขยายสมาชิกภาพ โดย</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: #00b050\" lang=\"TH\">บรูไนดารุสซาลามเข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 6 เมื่อปี 2527<br />\nเวียดนาม เข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 7 ในปี 2538<br />\nลาวและพม่า เข้าเป็นสมาชิกพร้อมกันเมื่อปี 2540<br />\nและกัมพูชา เข้าเป็นสมาชิกล่าสุดเมื่อปี 2542</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: #00b050\" lang=\"TH\">ทำให้ในปัจจุบัน อาเซียนมีสมาชิกรวมทั้งหมด 10 ประเทศ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: #00b050\" lang=\"TH\">ในปัจจุบัน อาเซียน ประกอบด้วยประชากรประมาณ 567 ล้านคน มีพื้นที่โดยรวม 4.5 ล้านตารางกิโลเมตร ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติประมาณ 1.1 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ และรายได้โดยรวมจากการค้าประมาณ 1.4 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ (สถิติในปี 2550)</span></span></b></span>\n</div>\n<p></p></span></span>\n</div>\n</div>\n', created = 1727897012, expire = 1727983412, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5a0dc35aac0e68c3a3dd826c0751f2da' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประชาคมอาเซียน

ประชาคมอาเซียน

ประชาคมอาเซียนและวัฒนธรรมอาเซียน คือ อะไรและมีเป้าหมายอย่างไร

อาเซียนมุ่งหวังประโยชน์จากการรวมตัวกันเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนเพื่อให้ประชาชนมีความอยู่ดีกินดี  ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ  มีสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกันโดยเน้นการส่งเสริมความรู้  ความเข้าใจระหว่างประเทศสมาชิกในด้านความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์  มรดกทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ระดับภูมิภาคร่วมกัน
ทั้งนี้  การเสริมสร้างรากฐานและความเชื่อมโยงระหว่างกันที่แข็งแกร่งนำไปสู่ความเข้าใจของการเป็นเพื่อนบ้านที่ดี  การรู้เขารู้เรา  และมีความรับผิดชอบร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกภายใต้สังคมที่เอื้ออาทร  โดยแผนปฏิบัติการเพื่อนำไปสู่การจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC) ได้กำหนดกิจกรรมความร่วมมือที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลางโดยเน้นความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ได้แก่
1.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Development)
2.การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection)
3.สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights)
4.ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Ensuring Environmental Sustainability)
5.การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building ASEAN Identity)
6.การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap)
และเน้นให้มีการส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเขียน นักคิดและศิลปินในภูมิภาค ตลอดจนการเสริมสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนในภูมิภาคโดยเฉพาะในระดับประชาชน
ทั้งนี้ ไทยจะได้ประโยชน์อย่างมากจากการที่รากฐานสำคัญของประชาคมอาเซียนที่ประชาชนมีความเข้าใจซึ่งกันและกัน  และเข้าใจถึงผลประโยชน์ที่มีร่วมกัน  ซึ่งจะมีส่วนช่วยให้การสร้างประชาคมอาเซียนสามารถประสบความสำเร็จด้วย

 

กฎบัตรอาเซียนคืออะไร
กฎบัตรอาเซียนคือธรรมนูญของอาเซียนที่จะทำให้อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคล  เป็นการวางกรอบกฎหมายตลอดจนโครงสร้างองค์กรให้กับอาเซียน  โดยนอกจากการประมวลสิ่งที่ถือเป็นค่านิยม หลักการ และแนวปฏิบัติในอดีตของอาเซียนมาประกอบกันเป็นข้อปฏิบัติอย่างเป็นทางการสำหรับประเทศสมาชิกแล้ว  ยังมีการปรับปรุงแก้ไขและสร้างกลไกใหม่ขึ้นพร้อมกับกำหนดขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบขององค์กรสำคัญในอาเซียน  ตลอดจนความสัมพันธ์ในการดำเนินงานขององค์กรเหล่านี้  เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน  โดยมีเป้าหมายให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
กฎบัตรอาเซียนประกอบด้วย บทบัญญัติ 13 บท 55 ข้อ ครอบคลุมเป้าหมายและหลักการ สมาชิกภาพ โครงสร้างองค์กรของอาเซียน องค์กรที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน เอกสิทธิ์และความคุ้มกัน กระบวนการตัดสินใจ การระงับข้อพิพาท งบประมาณและการเงิน การบริหารจัดการ เอกลักษณ์และสัญลักษณ์ของอาเซียน และความสัมพันธ์กับภายนอก

 

 

 

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนคืออะไร มีเป้าหมายอย่างไรและไทยได้ประโยชน์อย่างไร
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นเป้าหมายด้านเศรษฐกิจหลักที่สำคัญในการขับเคลื่อนความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียน  ภายหลังการลงนามจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนก็มีความคืบหน้าที่ดีในความร่วมมือต่าง ๆ เป็นลำดับและในที่สุดอาเซียนได้มุ่งหวังที่จะจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจในปี 2558  ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญคือการเป็นตลาดและเป็นฐานการผลิตร่วมกัน  โดยมีการเคลื่อนย้ายสินค้า  บริการ  การลงทุน  แรงงานฝีมืออย่างเสรีและเงินลงทุนที่เสรีมากขั้น  มีความสามารถในการแข่งขันสูง  มุ่งสร้างความเท่าเทียมในการพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศอาเซียน  และการส่งเสริมการรวมกลุ่มอาเซียนเข้ากับประชาคมโลก ขนาดของตลาดอาเซียนที่ใหญ่ขึ้นทำให้อาเซียนมีอำนาจซื้อสูงขึ้นตามมา  เช่นเดียวกับความสามารถในการแข่งขันกับภูมิภาคอื่นที่เพิ่มขึ้น  ซึ่งช่วยให้สมาชิกสามารถปรับตัวเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์ได้เป็นอย่างดี
การคมนาคมขนส่งเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นประโยชน์กับประชาชนอย่างแท้จริง  อาเซียนจึงมีโครงการเชื่อมโยงเส้นทางหลวงอาเซียน  มีความร่วมมือระหว่างประเทศในการเชื่อมโยงเส้นทางรถไฟจากสิงคโปร์ ผ่านไปยัง มาเลเซีย ไทย กัมพูชา เวียดนามและสิ้นสุดที่เมืองคุนหมิง ประเทศจีน นอกจากนี้ การปรับมาตรฐานของเส้นทางคมนาคมทางบกและทางรถไฟให้มีมาตรฐานเดียวกันก็จะส่งเสริมความร่วมมือของอาเซียนด้านการท่องเที่ยวมากยิ่งขึ้นด้วย
ขณะที่การเจรจาเพื่อเปิดตลาดในระดับพหุภาคีภายใต้องค์การการค้าโลกยังมีท่าทีว่าจะไม่สามารถสรุปผลได้ในอนาคตอันใกล้  ประเทศต่าง ๆ จึงได้พยายามที่จะทำข้อตกลงการค้าเสรีไม่ว่าจะในระดับทวีภาคี หรือระดับภูมิภาค ในส่วนของอาเซียนมีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคโดยการจัดทำเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area - AFTA หรือ อาฟต้า) มาแล้ว 15 ปี และเริ่มรวมตัวกับประเทศหรือกลุ่มคู่ค้าสำคัญ เช่น ญี่ปุ่น จีน เกาหลี สหภาพยุโรป ฯลฯ ความเหนียวแน่นใกล้ชิดระหว่างกันจะเสริมสร้างความเข้มแข็งให้อาเซียนสามารถสร้างประโยชน์สูงสุดจากการรวมตัวกับประเทศคู่ค้าอื่น ๆ ต่อไป
หากอาเซียนสามารถสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้สำเร็จ  ไทยจะได้ประโยชน์จากการขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้า  และเปิดโอกาสการค้าบริการในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรมและภัตตาคาร  สุขภาพ ฯลฯ  ซึ่งอาเซียนยังมีความต้องการด้านการบริการเหล่านี้อีกมาก  นอกจากนี้  ยังจะช่วยเสริมสร้างโอกาสในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมายังอาเซียน  ซึ่งจะเพิ่มอำนาจการต่อรองของอาเซียนในเวทีการค้าโลก  และยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในอาเซียนโดยรวม

 

 

ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียนคืออะไร  และมีเป้าหมายอย่างไร
อาเซียนตระหนักว่าสันติภาพ  ความมั่นคง  และเสถียรภาพทางการเมืองเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาในด้านอื่น ๆ  ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียนจึงเป็นเสาหลักความร่วมมือหนึ่งในสามเสาหลักของประชาคมอาเซียนที่เน้นการรวมตัวของอาเซียนเพื่อสร้างความมั่นใจ  (confidence  building)  เสถียรภาพ (stability)  และสันติภาพ (peace)  ในภูมิภาค  ทั้งนี้  เพื่อให้ประชาชนในอาเซียนอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและปราศจากภัยคุกคามจากด้านการทหารและภัยคุกคามในรูปแบบใหม่  เช่น  ปัญหายาเสพติด  ปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ
ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน  มีเป้าหมาย 3 ประการ  ได้แก่  (1) สร้างประชาคมให้มีค่านิยมร่วมกันในเรื่องของการเคารพความหลากหลายของแนวความคิดและส่งเสริมให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางของนโยบายและกิจกรรมภายใต้เสาการเมืองและความมั่นคง  (2) ให้อาเซียนสามารถเผชิญกับภัยคุมคามความมั่นคงในรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่และส่งเสริมความมั่นคงของมนุษย์  (3) ให้มีปฏิสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นและสร้างสรรค์กับประชาคมโลก  โดยอาเซียนมีบทบาทนำในภูมิภาคและจะช่วยส่งเสริมเสถียรภาพและความมั่นคงของภูมิภาค  ทั้งนี้  อาเซียนกำลังจัดทำแผนงานสำหรับการจัดตั้งประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน  (ASEAN  Political Security  Community  Blueprint - APSC  Blueprint)  ซึ่งมีความคาดหวังให้เสร็จภายในปลายปี 2551

 

จุดกำเนิดของอาเซียนที่นำไปสู่การลงนามปฏิญญากรุงเทพ

กำเนิดอาเซียนและวัตถุประสงค์การจัดตั้ง เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ณ วังสราญรมย์ (ที่ตั้งของกระทรวงการต่างประเทศไทย ในขณะนั้น) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ 5 ประเทศ ในภูมิภาคเอเซียตะวันออก-เฉียงใต้ ได้แก่อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ได้ลงนามใน "ปฏิญญากรุงเทพฯ" [Bangkok Declaration] เพื่อจัดตั้งสมาคมความร่วมมือในระดับภูมิภาคของประเทศต่างๆ ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ภายใต้ชื่อ"สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้" หรือ "อาเซียน"
[
ASEAN] ซึ่งเป็นตัวย่อของ Association of South East Asian Nations ชื่อทางการในภาษาอังกฤษของอาเซียนทั้งนี้ ก่อนหน้าที่การลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ รัฐมนตรีต่างประเทศของทั้ง 5 ประเทศได้หารือกันเกี่ยวกับความเป็นไปได้ ของการจัดตั้งสมาคมอาเซียนและยกร่างปฏิญญากรุงเทพฯ ที่แหลมแท่น จังหวัดชลบุรีปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์สำคัญ 7 ประการ ของการจัดตั้งอาเซียน ได้แก่1. ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร
2. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค
3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ พัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค
4. ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี
5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการฝึกอบรมและการวิจัย และส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม
7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การระหว่างประเทศ
นับตั้งแต่วันก่อตั้ง อาเซียนได้พยายามแสดงบทบาทในการธำรงรักษาและส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคงและความเจริญร่วมกันในภูมิภาค ตลอดจนมีวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องในการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ ระหว่างประเทศสมาชิก ตลอดจนพัฒนาการในเรื่องความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสังคมจนเป็นที่ประจักษ์แก่นานาประเทศ และนำไปสู่การขยายสมาชิกภาพ โดยบรูไนดารุสซาลามเข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 6 เมื่อปี 2527
เวียดนาม เข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 7 ในปี 2538
ลาวและพม่า เข้าเป็นสมาชิกพร้อมกันเมื่อปี 2540
และกัมพูชา เข้าเป็นสมาชิกล่าสุดเมื่อปี 2542
ทำให้ในปัจจุบัน อาเซียนมีสมาชิกรวมทั้งหมด 10 ประเทศในปัจจุบัน อาเซียน ประกอบด้วยประชากรประมาณ 567 ล้านคน มีพื้นที่โดยรวม 4.5 ล้านตารางกิโลเมตร ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติประมาณ 1.1 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ และรายได้โดยรวมจากการค้าประมาณ 1.4 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ (สถิติในปี 2550)

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 430 คน กำลังออนไลน์