• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a32290cf1019ecb08581c50ba1f7fdce' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #000080\">คอมพิวเตอร์เก่ายังมีค่า...อย่าทิ้ง</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #000080\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u61/detail_images_0.jpg\" height=\"204\" width=\"300\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     อย่าปล่อยเครื่องเก่าของคุณทิ้งไว้เฉยๆ เพราะเรามี 6 วิธีคืนชีพพีซีที่คุณปลดประจำการแล้ว ให้กลับมามีคุณค่าอีกครั้ง<br />\nUpgrade Advisor ของวิสต้าเผยสิ่งที่คุณเองก็คาดไว้อยู่แล้ว ให้ชัดเจนขึ้น นั่นคือพีซีเครื่องเก่าเก็บของคุณไม่ดีพอที่จะรันระบบปฏิบัติการตัวใหม่นี้ แน่นอนว่าการอัพเกรดอุปกรณ์บางอย่างภายในเครื่องอาจช่วยได้ แต่ในทางปฏิบัติกับพีซีนับสิบ ร้อย หรือพันเครื่องในบริษัท คงเป็นงานที่หนักหนาสาหัสสำหรับฝ่ายไอทีอยู่เหมือนกัน ประกอบกับระบบรุ่นใหม่ๆ ที่มาพร้อมกับวิสต้า ชนิดยกตั้งแล้วใช้งานได้เลย ก็มีราคาไม่แพง (ราว 17,500 บาท) ทำให้ตัวเลือกอย่างหลังนี้ดูจะเป็นทางออกที่เข้าท่ากว่า และก็เป็นทางเลือกที่บริษัทส่วนใหญ่เลือกใช้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     คุณอาจยังไม่สนใจวินโดวส์วิสต้าในตอนนี้ แต่เมื่อถึงจุดหนึ่ง ยังไงคุณก็ต้องเปลี่ยนมาใช้ระบบปฏิบัติการตัวใหม่นี้อยู่ดี ประเด็นก็คือ คุณจะทำอย่างไรกับเครื่องเก่าที่ปลดประจำการไป จะตั้งทิ้งไว้เฉยๆ ในมุมมืดภายในห้องเก็บของที่อุดมไปด้วยฝุ่นซึ่งร้อยวันพันปีไม่เคยมีใครเหยียบย่างเข้าไป หรือนำมาใช้งานในรูปแบบอื่นๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ กับตัวคุณเอง องค์กร หรือกับส่วนรวม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     เพียงแค่เครื่องเก่าของคุณรันวิสต้าไม่ได้ ไม่ได้หมายความว่าเครื่องนั้นจะหมดประโยชน์แล้ว แน่นอนว่าเครื่องเหล่านี้อาจไม่แรงพอที่จะขับเคลื่อนธุรกิจของคุณให้พุ่งฉิวไปข้างหน้า แต่ก็ยังมีประโยชน์ในทางอ้อม และยังมีวิธีอีกมากมายหลายวิธีที่จะใช้ประโยชน์จากเครื่องเหล่านี้ ถ้าคุณนึกไม่ออก เรามี 6 แนวทางมานำเสนอ ถ้าพร้อมแล้วก็ตามมาได้เลย<br />\n  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     <br />\n       <br />\n<strong>ใช้เป็นหนูตะเภาลองผิดลองถูก</strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #000080\">ระดับความยาก : ง่าย (1)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     สำหรับบริษัทขนาดเล็กที่มีพนักงานไม่กี่สิบคน การประกอบเครื่องเพื่อใช้งานเอง หรือการอัพเกรดเครื่องเก่า ดูจะเป็นทางเลือกที่ช่วยให้คุณประหยัดได้มากกว่า และตอบโจทย์ความต้องการใช้งานของพนักงานได้ตรงกว่า แต่ด้วยขนาดที่เล็กของบริษัท จึงมีความเป็นไปได้สูงที่จะไม่มีฝ่ายไอที ซึ่งก็เท่ากับว่าพนักงานต้องจัดการเรื่องเหล่านี้กันเอง ทำให้ส่วนใหญ่แค่คิดก็ต้องล้มความตั้งใจไปเสียแล้ว เพราะไม่มีคนปฏิบัติ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     หลายคนบอกไว้ว่า การอัพเกรดหรือแม้แต่ประกอบเครื่องขึ้นเองนั้น จริงๆ แล้วไม่ได้เป็นเรื่องยากอะไรเลย เพียงแต่เป็นเรื่องที่คุณไม่คุ้นเคยเท่านั้น ถ้าได้เคยลองทำครั้งหนึ่งแล้ว ก็จะเป็นเรื่องง่ายสำหรับครั้งต่อไป ซึ่งเราเห็นด้วยเป็นอย่างยิ่ง การที่คุณมีเครื่องเก่าไม่ได้ใช้งานแล้ว จึงน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่จะใช้เครื่องเหล่านี้เป็นเหมือนแล็บสำหรับเรียนรู้ ใช้ในการลองผิดลองถูก และทำความคุ้นเคยกับอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครื่อง โดยไม่ต้องวิตกว่าจะทำให้อุปกรณ์เหล่านี้พัง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     เมื่อได้ลองคุณจะพบว่าอุปกรณ์ที่ประกอบอยู่ในเดสก์ทอปพีซีส่วนใหญ่นั้น ง่ายต่อการถอดออกหรือติดตั้งเข้าไปใหม่ โดยเฉพาะอุปกรณ์หลักๆ ในการอัพเกรดอย่างฮาร์ดดิสก์ การ์ดแสดงผล ออปติคัลไดรฟ์ หรือแรม ซึ่งเมื่อเปลี่ยนหรือเพิ่มเข้าไปแล้ว จะช่วยให้ประสิทธิภาพการทำงานของพีซีดีขึ้นอย่างเห็นผล</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     ถ้าคุณอยากได้ความมั่นใจมากขึ้นในการถอดประกอบอุปกรณ์ต่างๆ เหล่านี้ ที่ ExtremeTech.com ซึ่งเป็นเว็บไซต์ในเครือของพีซีแมกะซีนมีบทความแนะนำอย่างละเอียดว่าควรเริ่มต้นตรงไหน หรือจะถอดประกอบอุปกรณ์แต่ละประเภทได้อย่างไร เราเชื่อว่าหลังจากที่ได้ลองสักพัก คุณก็จะเริ่มรู้สึกคุ้นเคย และสามารถประกอบเครื่องขึ้นใช้เองได้โดยไม่รู้ตัว</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     บริษัทที่มีฝ่ายไอทีก็สามารถใช้ประโยชน์จากเครื่องเก่าในแบบเดียวกันนี้ได้เช่นกัน อย่างเช่นถ้าบริษัทมีแนวคิดหรือนโยบายที่จะเปลี่ยนไปใช้ลินุกซ์เพื่อเป็นการลดต้นทุน แต่ยังไม่มั่นใจในหลายๆ เรื่อง ฝ่ายไอทีอาจใช้เครื่องเหล่านี้ทดสอบและลองผิดลองถูกในแนวทางต่างๆ จนกว่าจะมั่นใจ รวมถึงเป็นการซักซ้อมทำความเข้าใจและทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมแบบใหม่นี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     ลินุกซ์ไม่ต้องการประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องสูงเหมือนกับวิสต้า และในปัจจุบันก็มีลินุกซ์ดิสทริบิวชันจำนวนมากที่ให้คุณใช้ได้ฟรี (แต่ถ้าคุณสนใจเฉพาะดิสทริบิวชันดังๆ อย่างเช่น Redhat งานนี้ไม่ฟรี) แอพพลิเคชันของลินุกซ์ก็มีจำนวนไม่น้อยที่ให้คุณใช้ได้ฟรีเช่นกัน จึงน่าจะเป็นเรื่องดีถ้าคุณจะใช้เครื่องเก่าที่ปลดระวางแล้ว มาเป็นเครื่องมือในการเปิดมุมมองใหม่สู่โลกของโอเพ่นซอร์ส <br />\n      </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000080\"></span><img border=\"0\" src=\"/files/u61/reinvent1.jpg\" height=\"225\" width=\"300\" /> \n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">       ทดลองใช้งานลินุกซ์ : ระบบปฏิบัติการแบบโอเพ่นซอร์สตัวนี้กำลังเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ และก็ใช้งานได้ง่ายกว่าที่คุณคิด แล้วทำไมคุณไม่ลองใช้ดูกับเครื่องเก่าของคุณล่ะ<br />\n  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     <br />\n       <br />\n<strong>ช่วยสนับสนุนงานวิจัย</strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #000080\">ระดับความยาก : ง่าย (1)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     โลกของเราจะน่าอยู่ขึ้น ถ้าทุกคนช่วยเหลือและแบ่งปันกัน ดังนั้นแทนที่จะปล่อยเครื่องเก่าของคุณตั้งทิ้งให้แมงมุมชักไยเล่นเฉยๆ คุณสามารถนำมาทำประโยชน์ด้วยการมีส่วนร่วมกับงานวิจัยของมหาวิทยาลัยต่างๆ เช่น งานวิจัยเรื่องการสะสมของโปรตีน ‘Misfolder’ ของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (folding.standford.edu) ซึ่งเป็นตัวการสำคัญของโรคอย่างอัลไซเมอร์ หรือ Huntington</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     หรือคุณอาจช่วยเหลือโครงการ SETI (Search for Extraterrestrial Intelligence) เพื่อตอบข้อสงสัยที่ว่า ยังมีสิ่งมีชีวิตอื่นอยู่บนจักรวาลหรือไม่ โดยผ่านทางโครงข่าย BOINC หรือ Berkeley Open Infrastructure for Network Computing ของมหาวิทยาลัยเบิร์กเลย์ (boinc.berkley.edu) แน่นอนว่าโครงการหรืองานวิจัยเหล่านี้ต้องการพลังในการคำนวณ รวมไปถึงฐานข้อมูลขนาดมหาศาล และก็ต้องการความช่วยเหลือจากคุณ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u61/reinvent2_0.jpg\" height=\"134\" width=\"150\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     คุณสามารถนำเครื่องเก่าที่ไม่ใช้แล้วมาเป็นกำลังขับเคลื่อนให้กับงานวิจัยเหล่านี้ โดยแม้ว่าเครื่องของคุณจะมีประสิทธิภาพในการทำงานเพียงจ้อยร่อย แต่เมื่อรวมกับเครื่องของคนอื่นๆ ที่มีจิตใจเอื้อเฟื้อเช่นเดียวกันจากทุกมุมโลก และอาศัยอินเทอร์เน็ตเป็นตัวเชื่อม ก็จะเกิดเป็นซูเปอร์คอมพิวเตอร์ซึ่งมีประสิทธิภาพในการประมวลผลอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน นี่เป็นบทพิสูจน์ที่ชัดเจนอีกครั้งว่า การร่วมแรงร่วมใจ แม้จะแค่คนละเล็กละน้อย ก็สามารถก่อให้เกิดพลังอันมหาศาลได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     ที่คุณต้องทำก็แค่เชื่อมต่อเครื่องเก่าของคุณเข้ากับอินเทอร์เน็ตอยู่ตลอดเวลา จากนั้นก็ดาวน์โหลดซอฟต์แวร์ไคลเอ็นต์จากเว็บไซต์ของงานวิจัยที่คุณสนใจมาติดตั้ง คุณยังสามารถกำหนดได้ว่า จะแบ่งรีซอร์สให้ใช้งานมากแค่ไหน โดยในส่วนของซีพียู ชิปแสดงผล รวมไปถึงพื้นที่บนฮาร์ดดิสก์นั้น คุณอาจแบ่งให้ใช้งานได้เต็มๆ เพราะเป็นเครื่องที่คุณไม่ได้ใช้ประโยชน์อยู่แล้ว ยกเว้นก็แต่แบนด์วิดธ์ของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ซึ่งคุณอาจแบ่งให้แค่บางส่วน เพื่อไม่ให้เป็นผลรบกวนต่อการทำงานของพนักงาน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     หลังจากที่เครื่องของคุณเริ่มเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยแล้ว คุณอาจถอดจอภาพออก เหลือแค่ตัวเครื่องทำงานอย่างเดียว จะได้ไม่เกะกะพื้นที่และสามารถตั้งซ้อนกันได้ เมื่อต้องการเข้าไปดูการทำงานของตัวเครื่อง ก็อาจทำผ่านยูทิลิตี้รีโมตแอ็กเซสอย่าง GoToMyPC (</span><a href=\"http://www.gotomypc.com/\"><span style=\"color: #000080\">http://www.gotomypc.com/</span></a><span style=\"color: #000080\">) หรือถ้าเครื่องนั้นใช้วินโดวส์เอ็กซ์พีโปรฯ ก็ยิ่งง่ายเข้าไปใหญ่ เพราะคุณสามารถใช้คุณสมบัติ Remote Desktop ที่มีอยู่ในระบบปฏิบัติการตัวนี้ได้เลย               </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #000080\">ยกให้พนักงาน</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #000080\">ระดับความยาก : ง่าย (1)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     พนักงานของคุณมีพีซีใช้อยู่ที่ทำงาน แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะมีใช้ที่บ้าน และถ้าพนักงานของคุณมีลูก มีครอบครัว คนในครอบครัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กๆ ก็อยากได้พีซีไว้ใช้งานเช่นกัน ดังนั้นแทนที่จะตั้งทิ้งไว้ให้ฝุ่นจับ การนำไปให้คนอื่นที่ใช้ประโยชน์ได้ น่าจะเป็นการดีกว่า</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     การยกให้พนักงานหรือขายในราคาถูกมากๆ เป็นเรื่องปกติที่หลายบริษัททำอยู่แล้ว เพียงแต่วิธีการอาจแตกต่างกันไปตามแต่วัฒนธรรมของแต่ละองค์กร โดยบางแห่งอาจให้สิทธิกับเจ้าของเครื่องเดิม ในขณะที่บางแห่งใช้วิธีจับฉลาก แต่ไม่ว่าจะวิธีไหน ผลลัพธ์ที่ได้ก็เหมือนกัน คือสร้างความรู้สึกดีๆ ให้กับพนักงานของคุณ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     โดยทั่วไปแล้ว เด็กๆ มักใช้พีซีทำรายงาน หรือค้นคว้าหาข้อมูลบนเว็บ ซึ่งก็คงไม่ต้องการเครื่องที่แรงมากนัก เครื่องเก่าที่ปลดระวางแล้วของคุณจึงยังมีค่าสำหรับพวกเขาเหล่านี้ แต่ก่อนที่คุณจะยกเครื่องให้กับพนักงาน คุณต้องไม่ลืมเก็บกวาดข้อมูลสำคัญของบริษัทออกไปให้หมด และถ้าใจดีก็อาจจัดแจงอะไรอีกเล็กน้อย เช่น ย้ายซอฟต์แวร์ที่ไม่จำเป็นออก รันทูล Disk Cleanup และ Disk Defragmenter ปรับระดับความปลอดภัยของบราวเซอร์ไว้ที่ขั้นสูงสุด และถ้าเป็นไปได้ หาทูล parental control อย่าง Net Nanny (</span><a href=\"http://www.netnanny.com/\"><span style=\"color: #000080\">http://www.netnanny.com/</span></a><span style=\"color: #000080\">) มาติดตั้งและให้รันตลอดเวลา เพื่อที่พนักงานของคุณจะได้นำเครื่องไปตั้งที่บ้าน และปล่อยให้ลูกๆ ใช้ได้อย่างหมดห่วง (มีเวลาทุ่มเทให้กับงานของคุณอย่างเต็มที่)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">      </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000080\"></span><img border=\"0\" src=\"/files/u61/reinvent3.jpg\" height=\"300\" width=\"241\" /> \n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">1. เก็บกวาดฮาร์ดดิสก์ : ทูล Disk Cleanup และ Disk Defragmenter จะช่วยเก็บกวาดไฟล์ที่ไม่ได้ใช้งาน และจัดเรียงแต่ละไบต์ของไฟล์ที่กระจัดกระจายให้รวมกัน เพื่อให้เข้าถึงได้เร็วขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000080\"></span><img border=\"0\" src=\"/files/u61/reinvent4.jpg\" height=\"300\" width=\"258\" /> \n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">      2. ยกระดับความปลอดภัย : การยกระดับความปลอดภัยของบราวเซอร์ให้สูงขึ้น เป็นเรื่องที่สมควรทำอย่างยิ่ง และก็ทำได้ง่ายๆ ด้วยการเลื่อนแถบสไลด์ขึ้นไปบนสุด<br />\n      </span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">3. หาผู้ดูแลแทน : ติดตั้งและรันแอพพลิเคชัน parental control อย่าง Net Nanny เพื่อควบคุมเวลาการเล่นอินเทอร์เน็ตของเด็กๆ และจำกัดการเข้าถึงเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม<br />\n       </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #000080\">       <br />\n<strong>เพิ่มความเร็ว</strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #000080\">ระดับความยาก : ปานกลาง (2)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     สำหรับบริษัทขนาดเล็กที่ยังไม่พร้อมลงทุนกับพีซีเครื่องใหม่ มีบางอย่างที่คุณสามารถทำได้เพื่อรีดประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องเดิมให้สูงขึ้นอีกเล็กน้อย และทำได้แม้ว่าบริษัทของคุณจะไม่มีฝ่ายไอทีก็ตาม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     อันดับแรกก็คือการทำความสะอาด ทั้งในส่วนของตัวเครื่อง และตัวระบบปฏิบัติการ โดยเริ่มจากปิดเครื่องแล้วเปิดฝาเคสออก ใช้เครื่องดูดฝุ่นดูดทำความสะอาดฝุ่นที่ติดอยู่ ตรวจดูให้แน่ใจว่าพัดลมระบายความร้อนยังทำงานเป็นปกติดีและไม่มีฝุ่นจับ ปิดฝาเคสให้เรียบร้อยแล้วจึงเปิดเครื่องเพื่อจัดการย้ายโปรแกรมที่ไม่ได้ใช้งานแล้วออกจากระบบ โดยใช้แอพเล็ต Add or Remove Programs ใน Control Panel ตามด้วยการรันทูล Disk Cleanup และ Disk Defragmenter เพื่อจัดเรียงไฟล์บนฮาร์ดดิสก์ให้เป็นระเบียบ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     การจำกัดจำนวนของโปรแกรมที่โหลดเมื่อบูตเครื่อง ก็เป็นอีกจุดหนึ่งที่สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องได้อย่างเห็นผล เพราะเท่ากับว่าคุณได้รีซอร์สคืนมาส่วนหนึ่ง ก่อนอื่นให้คุณคลิกที่ Start | Run แล้วพิมพ์คำว่า msconfig ลงไปในช่อง open เพื่อเรียกการทำงานของ msconfig ขึ้นมา จากนั้นคลิกที่แท็บ Startup คุณก็จะพบกับรายชื่อของโปรแกรมที่โหลดตัวเองเมื่อตอนบูตเครื่อง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     มองหาโปรแกรมอย่างเช่น Nero, iTuneHelper หรือ WinAmp การโหลดโปรแกรมเหล่านี้ตั้งแต่ตอนบูตไม่มีประโยชน์อะไร แถมยังกินรีซอร์สเปล่าๆ (ต้องการใช้งานค่อยเรียกก็ได้) แต่ที่ต้องระวังก็คือ อย่าได้เผลอไปปิดเซอร์วิสสำคัญเข้า เพราะนั่นหมายถึงหายนะจะมาเยือน (กฎง่ายๆ ที่จะทำให้คุณปลอดภัยจากเรื่องนี้ก็คือ อย่าพยายามยุ่งกับอะไรที่คุณไม่รู้จัก)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     การเพิ่มแรมเป็นอีกวิธีที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของระบบได้อย่างเห็นผลและทำได้ง่าย ในขณะที่การติดตั้งฮาร์ดดิสก์ตัวใหม่ที่มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลสูงขึ้น (หมุนที่ความเร็วรอบสูงขึ้น) ก็มีผลช่วยเพิ่มประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน แต่ว่างานนี้ไม่ฟรีเพราะคุณต้องลงทุนซื้อ ดังนั้นคำนวณให้ดีก่อน เพราะบางครั้งการซื้อเครื่องใหม่อาจคุ้มกว่าเมื่อเทียบประสิทธิภาพที่ได้กับเงินที่จ่ายไป<br />\n       </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000080\"></span><img border=\"0\" src=\"/files/u61/reinvent6.jpg\" height=\"197\" width=\"300\" /> \n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">       การมีแอพพลิเคชันจำนวนมากโหลดอยู่เมื่อบูตเครื่อง จะทำให้การทำงานของเครื่องช้าลงอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นอะไรที่ไม่จำเป็นก็ยกเลิกไปซะ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #000080\">สร้างแบ็กอัพเซิร์ฟเวอร์ </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #000080\">ระดับความยาก : ปานกลาง (3)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     อย่างที่เราพร่ำบอกอยู่เสมอว่าการแบ็กอัพนั้นเป็นเรื่องสำคัญ และนี่ถือเป็นงานหลักอันดับต้นๆ ของฝ่ายไอทีในองค์กรใหญ่ๆ แต่กับธุรกิจขนาดเล็ก เรื่องนี้กลับถูกมองข้ามไป ทั้งๆ ที่ข้อมูลในเชิงธุรกิจไม่ว่าจะเป็นของบริษัทขนาดไหน ก็มีความสำคัญทั้งนั้น และแน่นอนว่าถ้าสูญหายไป คุณและธุรกิจของคุณเดือดร้อนแน่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     สาเหตุที่ธุรกิจขนาดเล็กมักไม่ใส่ใจกับเรื่องของการแบ็กอัพ หลักๆ น่าจะมาจากความไม่สะดวกในทางปฏิบัติ เพราะอาจต้องให้พนักงานแบ็กอัพกันเอง และส่วนใหญ่แล้ว ทางเลือกที่มีคงหนีไม่พ้นการแบ็กอัพใส่แผ่นออปติคัลดิสก์อย่างซีดีหรือดีวีดี ซึ่งก็จะมีปัญหาในเรื่องของการจัดเก็บให้เป็นระบบระเบียบตามมา จึงน่าจะเป็นการดีกว่า ถ้าคุณจะนำเครื่องเก่าปลดระวางแล้ว มาสร้างเป็นแบ็กอัพเซิร์ฟเวอร์ เพื่อใช้เป็นศูนย์กลางของการแบ็กอัพในออฟฟิศ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     แบ็กอัพเซิร์ฟเวอร์ไม่ได้ต้องการประสิทธิภาพในการประมวลผลมากนัก เครื่องที่ใช้เพนเทียมทรีและมีหน่วยความจำ 256 เมกะไบต์ก็เพียงพอที่จะรองรับงานของเซิร์ฟเวอร์นี้ได้เล้ว คุณจึงสามารถใช้เครื่องเก่าที่เตรียมโละมาทำแบ็กอัพเซิร์ฟเวอร์ได้อย่างสบาย แต่ที่แบ็กอัพเซิร์ฟเวอร์ต้องการมากก็คือพื้นที่จัดเก็บข้อมูล และนั่นหมายถึงคุณต้องซื้อฮาร์ดดิสก์ขนาดใหญ่มาติดตั้งเพิ่ม และอาจต้องติดตั้งหลายตัว ขึ้นอยู่กับขนาดของงานแบ็กอัพในออฟฟิศคุณ (ถ้าติดตั้งภายในเครื่องแล้วไม่พอ คุณอาจใช้ฮาร์ดดิสก์แบบเอ็กซ์เทอร์นอลที่ต่อผ่านทางยูเอสบีมาเสริมเพื่อเพิ่มความจุได้)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     แน่นอนว่าเครื่องเก่าของคุณควรที่จะมีการ์ดเน็ตเวิร์กติดตั้งอยู่แล้ว และก็ต่อเข้ากับเครือข่ายภายในออฟฟิศ งานลำดับต่อไปของคุณก็คือ มองหาโปรแกรมแบ็กอัพที่ให้คุณตั้งตารางเวลาสำหรับแบ็กอัพทั้งแบบฟูลและ incremental (เฉพาะส่วนที่เปลี่ยนแปลง) ผ่านทางแลนได้ ซึ่งก็ไม่ได้เป็นเรื่องยากอะไร เพราะมีวางขายอยู่มากมายหลายตัว แต่ถ้าคุณไม่อยากลงทุนอะไรเพิ่มเติมมากไปกว่านี้ ก็อาจต้องหันไปพึ่งบริการของฟรีแวร์อย่างเช่น Backup Server 6.2 (</span><a href=\"http://www.backuptoserver.com/\"><span style=\"color: #000080\">http://www.backuptoserver.com/</span></a><span style=\"color: #000080\">) ซึ่งให้คุณใช้ได้ฟรี แต่ก็แน่นอนว่าคงไม่ดีหรือสะดวกเท่ากับซอฟต์แวร์แบ็กอัพที่คุณต้องจ่ายเงินซื้อ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     หลังจากที่แบ็กอัพเซิร์ฟเวอร์ของคุณแบ็กอัพแบบฟูลในครั้งแรกเสร็จสิ้น (ซึ่งมักจะใช้เวลานานมาก) และพร้อมสำหรับการแบ็กอัพตามตารางเวลาที่คุณกำหนดไว้แล้ว คุณสามารถยกเครื่องลงไปวางใต้โต๊ะ หรือวางแอบไว้ที่มุมใดมุมหนึ่ง เพื่อไม่เกะกะพื้นที่ทำงานในออฟฟิศของคุณ และก็ปล่อยให้เครื่องทำงานไป <br />\n       </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000080\"></span><img border=\"0\" src=\"/files/u61/reinvent7.jpg\" height=\"225\" width=\"300\" /> \n</div>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #000080\">       อย่ารอให้หายนะมาเยือนก่อนจึงคิดถึงเรื่องของการแบ็กอัพ เพราะถึงตอนนั้นก็สายไปเสียแล้ว<br />\n       </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #000080\">       <br />\nทำซูเปอร์ไฟร์วอลล์</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #000080\">ระดับความยาก : ปานกลาง (3)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     แม้ว่าคุณจะเปิดการทำงานของวินโดวส์ไฟร์วอลล์ในทุกเครื่อง และเราเตอร์ของคุณสนับสนุน NAT (อะไรคุณมากเท่าไร เพราะคุณก็ยังเสี่ยงต่อการโดนไวรัสโจมตี หรือโดนสปายแวร์เข้ามาล้วงข้อมูลสำคัญออกไปอยู่ดี </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     แน่นอนว่าการหาชุดรักษาความปลอดภัยอย่าง ZoneAlarm Pro (ราคาประมาณ 1,400 บาท) มาใช้ ถือเป็นเรื่องที่ดี แต่คุณก็ต้องซื้อมาติดตั้งทุกเครื่องที่มีอยู่ในบริษัท และนั่นหมายถึงค่าใช้จ่ายจำนวนไม่น้อย ซึ่งอาจหนักหนาเกินไปสำหรับออฟฟิศขนาดเล็ก การนำเครื่องเก่าที่ไม่ได้ใช้งานแล้วของคุณมาทำเป็นไฟร์วอลล์แบบฮาร์ดแวร์ จึงน่าจะเป็นทางเลือกที่เข้าท่ากว่า เพราะนี่หมายถึงคุณจะมีกำแพงด่านหน้าที่ช่วยปกป้องทั้งเครือข่าย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     สำหรับบริษัทที่ต้องการประหยัดให้ถึงที่สุด ก็อาจต้องมองไปที่ไฟร์วอลล์ดิสทริบิวชันบนแพลตฟอร์มของลินุกซ์ ซึ่งมีให้คุณเลือกไปใช้ได้ฟรีมากมาย ที่เราสนใจและอยากแนะนำก็คือ SmoothWall Express (</span><a href=\"http://www.smoothwall.org/\"><span style=\"color: #000080\">http://www.smoothwall.org/</span></a><span style=\"color: #000080\">) เพราะมีความต้องการขั้นต่ำของระบบไม่มาก แต่ทำอะไรได้มากมายหลายอย่าง ขอแค่เครื่องเก่าของคุณใช้ตัวประมวลผลเพนเทียม มีแรม 64 เมกะไบต์ ฮาร์ดดิสก์ขนาด 40 กิกะไบต์ และมีNetwork Address Translation) รวมไปถึง SPI (Stateful Packet Inspection) แต่การป้องกันเพียงแค่นี้ไม่ได้ช่วยไดรฟ์ซีดี ก็สามารถใช้งานไฟร์วอลล์ดิสทริบิวต์นี้ได้แล้ว จะมีที่พิเศษก็ตรงที่คุณต้องติดตั้งการ์ดเน็ตเวิร์กลงในเครื่อง 2 ตัวเท่านั้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     ที่ดีอีกอย่างของ SmoothWall ก็คือ คุณไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องเกี่ยวกับลินุกซ์เลยก็ได้ เพราะที่คุณต้องทำก็แค่ดาวน์โหลดไฟล์ติดตั้ง สร้างซีดีสำหรับบูต จากนั้นก็ติดตั้งตัวแอพพลิเคชันซึ่งจะมีโอเอสรวมอยู่ในตัว แล้วก็ทำตามไปทีละขั้นตอนที่ปรากฏขึ้นมา ซึ่งเข้าใจได้ง่ายและช่วยในการคอนฟิกให้อีกต่างหาก เพียงเท่านี้คุณก็จะได้ไฟร์วอลล์ ‘Smoothie’ ซึ่งมีคุณสมบัติการทำงานมากมาย ไม่ว่าจะเป็นคุณสมบัติพื้นฐานอย่าง NAT หรือ SPI รวมไปถึงการบล็อกไอพีแอดเดรสที่น่าสงสัย ทำพอร์ตฟอร์เวิร์ดดิ้ง เซตอัพ VPN ไปจนถึงการซิงก์เข้ากับ Network Time Protocol Server</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">     คุณยังสามารถสั่งให้ ‘Smoothie’ ทำหน้าที่เป็นพร็อกซี่เซิร์ฟเวอร์และ DHCP เซิร์ฟเวอร์ได้ในตัว รวมไปถึงคอนฟิกให้รัน Snort ซึ่งเป็นยูทิลิตี้โอเพ่นซอร์สยอดนิยมสำหรับการตรวจจับการบุกรุก ได้อีกด้วย <br />\n       </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000080\"></span><img border=\"0\" src=\"/files/u61/reinvent8.jpg\" height=\"196\" width=\"254\" /> \n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">1. สร้างแผ่นบูต : เช่นเดียวกับลินุกซ์ดิสทริบิวต์ชันส่วนใหญ่ SmoothWall (ที่เราใช้คือ SmoothWall Express เบต้าเวอร์ชันล่าสุด) ให้คุณดาวน์โหลดไปใช้ได้ฟรี โดยจะอยู่ในรูปของไฟล์ ISO ซึ่งคุณต้องเบิร์นใส่แผ่นซีดีก่อน</span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span>\n</p>\n', created = 1726141169, expire = 1726227569, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a32290cf1019ecb08581c50ba1f7fdce' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คอมพิวเตอร์เก่ายังมีค่า...อย่าทิ้ง

รูปภาพของ wantida

คอมพิวเตอร์เก่ายังมีค่า...อย่าทิ้ง

 

     อย่าปล่อยเครื่องเก่าของคุณทิ้งไว้เฉยๆ เพราะเรามี 6 วิธีคืนชีพพีซีที่คุณปลดประจำการแล้ว ให้กลับมามีคุณค่าอีกครั้ง
Upgrade Advisor ของวิสต้าเผยสิ่งที่คุณเองก็คาดไว้อยู่แล้ว ให้ชัดเจนขึ้น นั่นคือพีซีเครื่องเก่าเก็บของคุณไม่ดีพอที่จะรันระบบปฏิบัติการตัวใหม่นี้ แน่นอนว่าการอัพเกรดอุปกรณ์บางอย่างภายในเครื่องอาจช่วยได้ แต่ในทางปฏิบัติกับพีซีนับสิบ ร้อย หรือพันเครื่องในบริษัท คงเป็นงานที่หนักหนาสาหัสสำหรับฝ่ายไอทีอยู่เหมือนกัน ประกอบกับระบบรุ่นใหม่ๆ ที่มาพร้อมกับวิสต้า ชนิดยกตั้งแล้วใช้งานได้เลย ก็มีราคาไม่แพง (ราว 17,500 บาท) ทำให้ตัวเลือกอย่างหลังนี้ดูจะเป็นทางออกที่เข้าท่ากว่า และก็เป็นทางเลือกที่บริษัทส่วนใหญ่เลือกใช้

     คุณอาจยังไม่สนใจวินโดวส์วิสต้าในตอนนี้ แต่เมื่อถึงจุดหนึ่ง ยังไงคุณก็ต้องเปลี่ยนมาใช้ระบบปฏิบัติการตัวใหม่นี้อยู่ดี ประเด็นก็คือ คุณจะทำอย่างไรกับเครื่องเก่าที่ปลดประจำการไป จะตั้งทิ้งไว้เฉยๆ ในมุมมืดภายในห้องเก็บของที่อุดมไปด้วยฝุ่นซึ่งร้อยวันพันปีไม่เคยมีใครเหยียบย่างเข้าไป หรือนำมาใช้งานในรูปแบบอื่นๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ กับตัวคุณเอง องค์กร หรือกับส่วนรวม

     เพียงแค่เครื่องเก่าของคุณรันวิสต้าไม่ได้ ไม่ได้หมายความว่าเครื่องนั้นจะหมดประโยชน์แล้ว แน่นอนว่าเครื่องเหล่านี้อาจไม่แรงพอที่จะขับเคลื่อนธุรกิจของคุณให้พุ่งฉิวไปข้างหน้า แต่ก็ยังมีประโยชน์ในทางอ้อม และยังมีวิธีอีกมากมายหลายวิธีที่จะใช้ประโยชน์จากเครื่องเหล่านี้ ถ้าคุณนึกไม่ออก เรามี 6 แนวทางมานำเสนอ ถ้าพร้อมแล้วก็ตามมาได้เลย
 

    
      
ใช้เป็นหนูตะเภาลองผิดลองถูก

ระดับความยาก : ง่าย (1)

     สำหรับบริษัทขนาดเล็กที่มีพนักงานไม่กี่สิบคน การประกอบเครื่องเพื่อใช้งานเอง หรือการอัพเกรดเครื่องเก่า ดูจะเป็นทางเลือกที่ช่วยให้คุณประหยัดได้มากกว่า และตอบโจทย์ความต้องการใช้งานของพนักงานได้ตรงกว่า แต่ด้วยขนาดที่เล็กของบริษัท จึงมีความเป็นไปได้สูงที่จะไม่มีฝ่ายไอที ซึ่งก็เท่ากับว่าพนักงานต้องจัดการเรื่องเหล่านี้กันเอง ทำให้ส่วนใหญ่แค่คิดก็ต้องล้มความตั้งใจไปเสียแล้ว เพราะไม่มีคนปฏิบัติ

     หลายคนบอกไว้ว่า การอัพเกรดหรือแม้แต่ประกอบเครื่องขึ้นเองนั้น จริงๆ แล้วไม่ได้เป็นเรื่องยากอะไรเลย เพียงแต่เป็นเรื่องที่คุณไม่คุ้นเคยเท่านั้น ถ้าได้เคยลองทำครั้งหนึ่งแล้ว ก็จะเป็นเรื่องง่ายสำหรับครั้งต่อไป ซึ่งเราเห็นด้วยเป็นอย่างยิ่ง การที่คุณมีเครื่องเก่าไม่ได้ใช้งานแล้ว จึงน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่จะใช้เครื่องเหล่านี้เป็นเหมือนแล็บสำหรับเรียนรู้ ใช้ในการลองผิดลองถูก และทำความคุ้นเคยกับอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครื่อง โดยไม่ต้องวิตกว่าจะทำให้อุปกรณ์เหล่านี้พัง

     เมื่อได้ลองคุณจะพบว่าอุปกรณ์ที่ประกอบอยู่ในเดสก์ทอปพีซีส่วนใหญ่นั้น ง่ายต่อการถอดออกหรือติดตั้งเข้าไปใหม่ โดยเฉพาะอุปกรณ์หลักๆ ในการอัพเกรดอย่างฮาร์ดดิสก์ การ์ดแสดงผล ออปติคัลไดรฟ์ หรือแรม ซึ่งเมื่อเปลี่ยนหรือเพิ่มเข้าไปแล้ว จะช่วยให้ประสิทธิภาพการทำงานของพีซีดีขึ้นอย่างเห็นผล

     ถ้าคุณอยากได้ความมั่นใจมากขึ้นในการถอดประกอบอุปกรณ์ต่างๆ เหล่านี้ ที่ ExtremeTech.com ซึ่งเป็นเว็บไซต์ในเครือของพีซีแมกะซีนมีบทความแนะนำอย่างละเอียดว่าควรเริ่มต้นตรงไหน หรือจะถอดประกอบอุปกรณ์แต่ละประเภทได้อย่างไร เราเชื่อว่าหลังจากที่ได้ลองสักพัก คุณก็จะเริ่มรู้สึกคุ้นเคย และสามารถประกอบเครื่องขึ้นใช้เองได้โดยไม่รู้ตัว

     บริษัทที่มีฝ่ายไอทีก็สามารถใช้ประโยชน์จากเครื่องเก่าในแบบเดียวกันนี้ได้เช่นกัน อย่างเช่นถ้าบริษัทมีแนวคิดหรือนโยบายที่จะเปลี่ยนไปใช้ลินุกซ์เพื่อเป็นการลดต้นทุน แต่ยังไม่มั่นใจในหลายๆ เรื่อง ฝ่ายไอทีอาจใช้เครื่องเหล่านี้ทดสอบและลองผิดลองถูกในแนวทางต่างๆ จนกว่าจะมั่นใจ รวมถึงเป็นการซักซ้อมทำความเข้าใจและทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมแบบใหม่นี้

     ลินุกซ์ไม่ต้องการประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องสูงเหมือนกับวิสต้า และในปัจจุบันก็มีลินุกซ์ดิสทริบิวชันจำนวนมากที่ให้คุณใช้ได้ฟรี (แต่ถ้าคุณสนใจเฉพาะดิสทริบิวชันดังๆ อย่างเช่น Redhat งานนี้ไม่ฟรี) แอพพลิเคชันของลินุกซ์ก็มีจำนวนไม่น้อยที่ให้คุณใช้ได้ฟรีเช่นกัน จึงน่าจะเป็นเรื่องดีถ้าคุณจะใช้เครื่องเก่าที่ปลดระวางแล้ว มาเป็นเครื่องมือในการเปิดมุมมองใหม่สู่โลกของโอเพ่นซอร์ส
     

 

       ทดลองใช้งานลินุกซ์ : ระบบปฏิบัติการแบบโอเพ่นซอร์สตัวนี้กำลังเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ และก็ใช้งานได้ง่ายกว่าที่คุณคิด แล้วทำไมคุณไม่ลองใช้ดูกับเครื่องเก่าของคุณล่ะ
 

    
      
ช่วยสนับสนุนงานวิจัย

ระดับความยาก : ง่าย (1)

     โลกของเราจะน่าอยู่ขึ้น ถ้าทุกคนช่วยเหลือและแบ่งปันกัน ดังนั้นแทนที่จะปล่อยเครื่องเก่าของคุณตั้งทิ้งให้แมงมุมชักไยเล่นเฉยๆ คุณสามารถนำมาทำประโยชน์ด้วยการมีส่วนร่วมกับงานวิจัยของมหาวิทยาลัยต่างๆ เช่น งานวิจัยเรื่องการสะสมของโปรตีน ‘Misfolder’ ของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (folding.standford.edu) ซึ่งเป็นตัวการสำคัญของโรคอย่างอัลไซเมอร์ หรือ Huntington

     หรือคุณอาจช่วยเหลือโครงการ SETI (Search for Extraterrestrial Intelligence) เพื่อตอบข้อสงสัยที่ว่า ยังมีสิ่งมีชีวิตอื่นอยู่บนจักรวาลหรือไม่ โดยผ่านทางโครงข่าย BOINC หรือ Berkeley Open Infrastructure for Network Computing ของมหาวิทยาลัยเบิร์กเลย์ (boinc.berkley.edu) แน่นอนว่าโครงการหรืองานวิจัยเหล่านี้ต้องการพลังในการคำนวณ รวมไปถึงฐานข้อมูลขนาดมหาศาล และก็ต้องการความช่วยเหลือจากคุณ

     คุณสามารถนำเครื่องเก่าที่ไม่ใช้แล้วมาเป็นกำลังขับเคลื่อนให้กับงานวิจัยเหล่านี้ โดยแม้ว่าเครื่องของคุณจะมีประสิทธิภาพในการทำงานเพียงจ้อยร่อย แต่เมื่อรวมกับเครื่องของคนอื่นๆ ที่มีจิตใจเอื้อเฟื้อเช่นเดียวกันจากทุกมุมโลก และอาศัยอินเทอร์เน็ตเป็นตัวเชื่อม ก็จะเกิดเป็นซูเปอร์คอมพิวเตอร์ซึ่งมีประสิทธิภาพในการประมวลผลอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน นี่เป็นบทพิสูจน์ที่ชัดเจนอีกครั้งว่า การร่วมแรงร่วมใจ แม้จะแค่คนละเล็กละน้อย ก็สามารถก่อให้เกิดพลังอันมหาศาลได้

     ที่คุณต้องทำก็แค่เชื่อมต่อเครื่องเก่าของคุณเข้ากับอินเทอร์เน็ตอยู่ตลอดเวลา จากนั้นก็ดาวน์โหลดซอฟต์แวร์ไคลเอ็นต์จากเว็บไซต์ของงานวิจัยที่คุณสนใจมาติดตั้ง คุณยังสามารถกำหนดได้ว่า จะแบ่งรีซอร์สให้ใช้งานมากแค่ไหน โดยในส่วนของซีพียู ชิปแสดงผล รวมไปถึงพื้นที่บนฮาร์ดดิสก์นั้น คุณอาจแบ่งให้ใช้งานได้เต็มๆ เพราะเป็นเครื่องที่คุณไม่ได้ใช้ประโยชน์อยู่แล้ว ยกเว้นก็แต่แบนด์วิดธ์ของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ซึ่งคุณอาจแบ่งให้แค่บางส่วน เพื่อไม่ให้เป็นผลรบกวนต่อการทำงานของพนักงาน

     หลังจากที่เครื่องของคุณเริ่มเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยแล้ว คุณอาจถอดจอภาพออก เหลือแค่ตัวเครื่องทำงานอย่างเดียว จะได้ไม่เกะกะพื้นที่และสามารถตั้งซ้อนกันได้ เมื่อต้องการเข้าไปดูการทำงานของตัวเครื่อง ก็อาจทำผ่านยูทิลิตี้รีโมตแอ็กเซสอย่าง GoToMyPC (http://www.gotomypc.com/) หรือถ้าเครื่องนั้นใช้วินโดวส์เอ็กซ์พีโปรฯ ก็ยิ่งง่ายเข้าไปใหญ่ เพราะคุณสามารถใช้คุณสมบัติ Remote Desktop ที่มีอยู่ในระบบปฏิบัติการตัวนี้ได้เลย              

ยกให้พนักงาน

ระดับความยาก : ง่าย (1)

     พนักงานของคุณมีพีซีใช้อยู่ที่ทำงาน แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะมีใช้ที่บ้าน และถ้าพนักงานของคุณมีลูก มีครอบครัว คนในครอบครัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กๆ ก็อยากได้พีซีไว้ใช้งานเช่นกัน ดังนั้นแทนที่จะตั้งทิ้งไว้ให้ฝุ่นจับ การนำไปให้คนอื่นที่ใช้ประโยชน์ได้ น่าจะเป็นการดีกว่า

     การยกให้พนักงานหรือขายในราคาถูกมากๆ เป็นเรื่องปกติที่หลายบริษัททำอยู่แล้ว เพียงแต่วิธีการอาจแตกต่างกันไปตามแต่วัฒนธรรมของแต่ละองค์กร โดยบางแห่งอาจให้สิทธิกับเจ้าของเครื่องเดิม ในขณะที่บางแห่งใช้วิธีจับฉลาก แต่ไม่ว่าจะวิธีไหน ผลลัพธ์ที่ได้ก็เหมือนกัน คือสร้างความรู้สึกดีๆ ให้กับพนักงานของคุณ

     โดยทั่วไปแล้ว เด็กๆ มักใช้พีซีทำรายงาน หรือค้นคว้าหาข้อมูลบนเว็บ ซึ่งก็คงไม่ต้องการเครื่องที่แรงมากนัก เครื่องเก่าที่ปลดระวางแล้วของคุณจึงยังมีค่าสำหรับพวกเขาเหล่านี้ แต่ก่อนที่คุณจะยกเครื่องให้กับพนักงาน คุณต้องไม่ลืมเก็บกวาดข้อมูลสำคัญของบริษัทออกไปให้หมด และถ้าใจดีก็อาจจัดแจงอะไรอีกเล็กน้อย เช่น ย้ายซอฟต์แวร์ที่ไม่จำเป็นออก รันทูล Disk Cleanup และ Disk Defragmenter ปรับระดับความปลอดภัยของบราวเซอร์ไว้ที่ขั้นสูงสุด และถ้าเป็นไปได้ หาทูล parental control อย่าง Net Nanny (http://www.netnanny.com/) มาติดตั้งและให้รันตลอดเวลา เพื่อที่พนักงานของคุณจะได้นำเครื่องไปตั้งที่บ้าน และปล่อยให้ลูกๆ ใช้ได้อย่างหมดห่วง (มีเวลาทุ่มเทให้กับงานของคุณอย่างเต็มที่)

     

 

1. เก็บกวาดฮาร์ดดิสก์ : ทูล Disk Cleanup และ Disk Defragmenter จะช่วยเก็บกวาดไฟล์ที่ไม่ได้ใช้งาน และจัดเรียงแต่ละไบต์ของไฟล์ที่กระจัดกระจายให้รวมกัน เพื่อให้เข้าถึงได้เร็วขึ้น

 

      2. ยกระดับความปลอดภัย : การยกระดับความปลอดภัยของบราวเซอร์ให้สูงขึ้น เป็นเรื่องที่สมควรทำอย่างยิ่ง และก็ทำได้ง่ายๆ ด้วยการเลื่อนแถบสไลด์ขึ้นไปบนสุด
     

3. หาผู้ดูแลแทน : ติดตั้งและรันแอพพลิเคชัน parental control อย่าง Net Nanny เพื่อควบคุมเวลาการเล่นอินเทอร์เน็ตของเด็กๆ และจำกัดการเข้าถึงเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม
      


      
เพิ่มความเร็ว

ระดับความยาก : ปานกลาง (2)

     สำหรับบริษัทขนาดเล็กที่ยังไม่พร้อมลงทุนกับพีซีเครื่องใหม่ มีบางอย่างที่คุณสามารถทำได้เพื่อรีดประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องเดิมให้สูงขึ้นอีกเล็กน้อย และทำได้แม้ว่าบริษัทของคุณจะไม่มีฝ่ายไอทีก็ตาม

     อันดับแรกก็คือการทำความสะอาด ทั้งในส่วนของตัวเครื่อง และตัวระบบปฏิบัติการ โดยเริ่มจากปิดเครื่องแล้วเปิดฝาเคสออก ใช้เครื่องดูดฝุ่นดูดทำความสะอาดฝุ่นที่ติดอยู่ ตรวจดูให้แน่ใจว่าพัดลมระบายความร้อนยังทำงานเป็นปกติดีและไม่มีฝุ่นจับ ปิดฝาเคสให้เรียบร้อยแล้วจึงเปิดเครื่องเพื่อจัดการย้ายโปรแกรมที่ไม่ได้ใช้งานแล้วออกจากระบบ โดยใช้แอพเล็ต Add or Remove Programs ใน Control Panel ตามด้วยการรันทูล Disk Cleanup และ Disk Defragmenter เพื่อจัดเรียงไฟล์บนฮาร์ดดิสก์ให้เป็นระเบียบ

     การจำกัดจำนวนของโปรแกรมที่โหลดเมื่อบูตเครื่อง ก็เป็นอีกจุดหนึ่งที่สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องได้อย่างเห็นผล เพราะเท่ากับว่าคุณได้รีซอร์สคืนมาส่วนหนึ่ง ก่อนอื่นให้คุณคลิกที่ Start | Run แล้วพิมพ์คำว่า msconfig ลงไปในช่อง open เพื่อเรียกการทำงานของ msconfig ขึ้นมา จากนั้นคลิกที่แท็บ Startup คุณก็จะพบกับรายชื่อของโปรแกรมที่โหลดตัวเองเมื่อตอนบูตเครื่อง

     มองหาโปรแกรมอย่างเช่น Nero, iTuneHelper หรือ WinAmp การโหลดโปรแกรมเหล่านี้ตั้งแต่ตอนบูตไม่มีประโยชน์อะไร แถมยังกินรีซอร์สเปล่าๆ (ต้องการใช้งานค่อยเรียกก็ได้) แต่ที่ต้องระวังก็คือ อย่าได้เผลอไปปิดเซอร์วิสสำคัญเข้า เพราะนั่นหมายถึงหายนะจะมาเยือน (กฎง่ายๆ ที่จะทำให้คุณปลอดภัยจากเรื่องนี้ก็คือ อย่าพยายามยุ่งกับอะไรที่คุณไม่รู้จัก)

     การเพิ่มแรมเป็นอีกวิธีที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของระบบได้อย่างเห็นผลและทำได้ง่าย ในขณะที่การติดตั้งฮาร์ดดิสก์ตัวใหม่ที่มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลสูงขึ้น (หมุนที่ความเร็วรอบสูงขึ้น) ก็มีผลช่วยเพิ่มประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน แต่ว่างานนี้ไม่ฟรีเพราะคุณต้องลงทุนซื้อ ดังนั้นคำนวณให้ดีก่อน เพราะบางครั้งการซื้อเครื่องใหม่อาจคุ้มกว่าเมื่อเทียบประสิทธิภาพที่ได้กับเงินที่จ่ายไป
      

 

       การมีแอพพลิเคชันจำนวนมากโหลดอยู่เมื่อบูตเครื่อง จะทำให้การทำงานของเครื่องช้าลงอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นอะไรที่ไม่จำเป็นก็ยกเลิกไปซะ

สร้างแบ็กอัพเซิร์ฟเวอร์

ระดับความยาก : ปานกลาง (3)

     อย่างที่เราพร่ำบอกอยู่เสมอว่าการแบ็กอัพนั้นเป็นเรื่องสำคัญ และนี่ถือเป็นงานหลักอันดับต้นๆ ของฝ่ายไอทีในองค์กรใหญ่ๆ แต่กับธุรกิจขนาดเล็ก เรื่องนี้กลับถูกมองข้ามไป ทั้งๆ ที่ข้อมูลในเชิงธุรกิจไม่ว่าจะเป็นของบริษัทขนาดไหน ก็มีความสำคัญทั้งนั้น และแน่นอนว่าถ้าสูญหายไป คุณและธุรกิจของคุณเดือดร้อนแน่

     สาเหตุที่ธุรกิจขนาดเล็กมักไม่ใส่ใจกับเรื่องของการแบ็กอัพ หลักๆ น่าจะมาจากความไม่สะดวกในทางปฏิบัติ เพราะอาจต้องให้พนักงานแบ็กอัพกันเอง และส่วนใหญ่แล้ว ทางเลือกที่มีคงหนีไม่พ้นการแบ็กอัพใส่แผ่นออปติคัลดิสก์อย่างซีดีหรือดีวีดี ซึ่งก็จะมีปัญหาในเรื่องของการจัดเก็บให้เป็นระบบระเบียบตามมา จึงน่าจะเป็นการดีกว่า ถ้าคุณจะนำเครื่องเก่าปลดระวางแล้ว มาสร้างเป็นแบ็กอัพเซิร์ฟเวอร์ เพื่อใช้เป็นศูนย์กลางของการแบ็กอัพในออฟฟิศ

     แบ็กอัพเซิร์ฟเวอร์ไม่ได้ต้องการประสิทธิภาพในการประมวลผลมากนัก เครื่องที่ใช้เพนเทียมทรีและมีหน่วยความจำ 256 เมกะไบต์ก็เพียงพอที่จะรองรับงานของเซิร์ฟเวอร์นี้ได้เล้ว คุณจึงสามารถใช้เครื่องเก่าที่เตรียมโละมาทำแบ็กอัพเซิร์ฟเวอร์ได้อย่างสบาย แต่ที่แบ็กอัพเซิร์ฟเวอร์ต้องการมากก็คือพื้นที่จัดเก็บข้อมูล และนั่นหมายถึงคุณต้องซื้อฮาร์ดดิสก์ขนาดใหญ่มาติดตั้งเพิ่ม และอาจต้องติดตั้งหลายตัว ขึ้นอยู่กับขนาดของงานแบ็กอัพในออฟฟิศคุณ (ถ้าติดตั้งภายในเครื่องแล้วไม่พอ คุณอาจใช้ฮาร์ดดิสก์แบบเอ็กซ์เทอร์นอลที่ต่อผ่านทางยูเอสบีมาเสริมเพื่อเพิ่มความจุได้)

     แน่นอนว่าเครื่องเก่าของคุณควรที่จะมีการ์ดเน็ตเวิร์กติดตั้งอยู่แล้ว และก็ต่อเข้ากับเครือข่ายภายในออฟฟิศ งานลำดับต่อไปของคุณก็คือ มองหาโปรแกรมแบ็กอัพที่ให้คุณตั้งตารางเวลาสำหรับแบ็กอัพทั้งแบบฟูลและ incremental (เฉพาะส่วนที่เปลี่ยนแปลง) ผ่านทางแลนได้ ซึ่งก็ไม่ได้เป็นเรื่องยากอะไร เพราะมีวางขายอยู่มากมายหลายตัว แต่ถ้าคุณไม่อยากลงทุนอะไรเพิ่มเติมมากไปกว่านี้ ก็อาจต้องหันไปพึ่งบริการของฟรีแวร์อย่างเช่น Backup Server 6.2 (http://www.backuptoserver.com/) ซึ่งให้คุณใช้ได้ฟรี แต่ก็แน่นอนว่าคงไม่ดีหรือสะดวกเท่ากับซอฟต์แวร์แบ็กอัพที่คุณต้องจ่ายเงินซื้อ

     หลังจากที่แบ็กอัพเซิร์ฟเวอร์ของคุณแบ็กอัพแบบฟูลในครั้งแรกเสร็จสิ้น (ซึ่งมักจะใช้เวลานานมาก) และพร้อมสำหรับการแบ็กอัพตามตารางเวลาที่คุณกำหนดไว้แล้ว คุณสามารถยกเครื่องลงไปวางใต้โต๊ะ หรือวางแอบไว้ที่มุมใดมุมหนึ่ง เพื่อไม่เกะกะพื้นที่ทำงานในออฟฟิศของคุณ และก็ปล่อยให้เครื่องทำงานไป
      

 


       อย่ารอให้หายนะมาเยือนก่อนจึงคิดถึงเรื่องของการแบ็กอัพ เพราะถึงตอนนั้นก็สายไปเสียแล้ว
      


      
ทำซูเปอร์ไฟร์วอลล์

ระดับความยาก : ปานกลาง (3)

     แม้ว่าคุณจะเปิดการทำงานของวินโดวส์ไฟร์วอลล์ในทุกเครื่อง และเราเตอร์ของคุณสนับสนุน NAT (อะไรคุณมากเท่าไร เพราะคุณก็ยังเสี่ยงต่อการโดนไวรัสโจมตี หรือโดนสปายแวร์เข้ามาล้วงข้อมูลสำคัญออกไปอยู่ดี

     แน่นอนว่าการหาชุดรักษาความปลอดภัยอย่าง ZoneAlarm Pro (ราคาประมาณ 1,400 บาท) มาใช้ ถือเป็นเรื่องที่ดี แต่คุณก็ต้องซื้อมาติดตั้งทุกเครื่องที่มีอยู่ในบริษัท และนั่นหมายถึงค่าใช้จ่ายจำนวนไม่น้อย ซึ่งอาจหนักหนาเกินไปสำหรับออฟฟิศขนาดเล็ก การนำเครื่องเก่าที่ไม่ได้ใช้งานแล้วของคุณมาทำเป็นไฟร์วอลล์แบบฮาร์ดแวร์ จึงน่าจะเป็นทางเลือกที่เข้าท่ากว่า เพราะนี่หมายถึงคุณจะมีกำแพงด่านหน้าที่ช่วยปกป้องทั้งเครือข่าย

     สำหรับบริษัทที่ต้องการประหยัดให้ถึงที่สุด ก็อาจต้องมองไปที่ไฟร์วอลล์ดิสทริบิวชันบนแพลตฟอร์มของลินุกซ์ ซึ่งมีให้คุณเลือกไปใช้ได้ฟรีมากมาย ที่เราสนใจและอยากแนะนำก็คือ SmoothWall Express (http://www.smoothwall.org/) เพราะมีความต้องการขั้นต่ำของระบบไม่มาก แต่ทำอะไรได้มากมายหลายอย่าง ขอแค่เครื่องเก่าของคุณใช้ตัวประมวลผลเพนเทียม มีแรม 64 เมกะไบต์ ฮาร์ดดิสก์ขนาด 40 กิกะไบต์ และมีNetwork Address Translation) รวมไปถึง SPI (Stateful Packet Inspection) แต่การป้องกันเพียงแค่นี้ไม่ได้ช่วยไดรฟ์ซีดี ก็สามารถใช้งานไฟร์วอลล์ดิสทริบิวต์นี้ได้แล้ว จะมีที่พิเศษก็ตรงที่คุณต้องติดตั้งการ์ดเน็ตเวิร์กลงในเครื่อง 2 ตัวเท่านั้น

     ที่ดีอีกอย่างของ SmoothWall ก็คือ คุณไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องเกี่ยวกับลินุกซ์เลยก็ได้ เพราะที่คุณต้องทำก็แค่ดาวน์โหลดไฟล์ติดตั้ง สร้างซีดีสำหรับบูต จากนั้นก็ติดตั้งตัวแอพพลิเคชันซึ่งจะมีโอเอสรวมอยู่ในตัว แล้วก็ทำตามไปทีละขั้นตอนที่ปรากฏขึ้นมา ซึ่งเข้าใจได้ง่ายและช่วยในการคอนฟิกให้อีกต่างหาก เพียงเท่านี้คุณก็จะได้ไฟร์วอลล์ ‘Smoothie’ ซึ่งมีคุณสมบัติการทำงานมากมาย ไม่ว่าจะเป็นคุณสมบัติพื้นฐานอย่าง NAT หรือ SPI รวมไปถึงการบล็อกไอพีแอดเดรสที่น่าสงสัย ทำพอร์ตฟอร์เวิร์ดดิ้ง เซตอัพ VPN ไปจนถึงการซิงก์เข้ากับ Network Time Protocol Server

     คุณยังสามารถสั่งให้ ‘Smoothie’ ทำหน้าที่เป็นพร็อกซี่เซิร์ฟเวอร์และ DHCP เซิร์ฟเวอร์ได้ในตัว รวมไปถึงคอนฟิกให้รัน Snort ซึ่งเป็นยูทิลิตี้โอเพ่นซอร์สยอดนิยมสำหรับการตรวจจับการบุกรุก ได้อีกด้วย
      

 

1. สร้างแผ่นบูต : เช่นเดียวกับลินุกซ์ดิสทริบิวต์ชันส่วนใหญ่ SmoothWall (ที่เราใช้คือ SmoothWall Express เบต้าเวอร์ชันล่าสุด) ให้คุณดาวน์โหลดไปใช้ได้ฟรี โดยจะอยู่ในรูปของไฟล์ ISO ซึ่งคุณต้องเบิร์นใส่แผ่นซีดีก่อน

สร้างโดย: 
wantida

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 527 คน กำลังออนไลน์