• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:38430d94ce8592cb42decde455b31042' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium\"><strong><span style=\"font-size: medium; color: #999999\"> UFO</span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #00ccff\"><span style=\"font-size: medium\">คำว่า&quot;ยูเอฟโอ&quot; นี้มาจาก UFO=Unidentified flying Object หรือถอดพอได้ใจความตามภาษาไทยว่า &quot;วัตถุบินที่ไม่สามารถจำแนกได้&quot;หรือรวบรัดเอาง่ายๆว่า จานผี ซึ่งมันก็เป็นอะไรสักอย่างที่สับสนอยู่เหมือนกัน ถ้าท่านพูดกับบุคคลที่ไม่ได้ติดตามเรื่องนี้มา แล้วพวกเขาก็จะคิดขึ้นมาทันทีว่า-มันเป็นจานบินที่ขับขี่โดยมนุษย์ตัวเล็กๆสีเขียว-ซึ่งไม่ถูกต้องเลย </span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"font-size: medium\"><img src=\"http://images.google.co.th/url?q=http://news.sanook.com/story_picture/b/210879_001.jpg&amp;usg=AFQjCNGvbJ7ZBMqFrqDYl5gMDI2EYh0IlA\" /><br />\n</span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #00ccff\"><span style=\"font-size: medium\">        ยูเอฟโอนี้หมายถึง &quot;วัตถุหรือปรากฏการณ์ใดๆในอากาศซึ่งผู้พบเห็นไม่สามารถที่จะอธิบายได้&quot; ซึ่งมันอาจจะเป็นลูกไฟประหลาดหรือประเภทของดาวตก,เมฆที่ก่อตัวเป็นรูปร่างแปลกประหลาดกลุ่มหมู่บินหรือการบุกของกองเรือรบ </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #00ccff\"><span style=\"font-size: medium\">        ยูเอฟโอส่วนมากที่สุดคือเหตุการณ์โดยธรรมชาติที่ห่างไกลจากคำอธิบายของนวนิยายในทางวิทยาศาสตร์ใด ๆ ถ้าท่านเกิดความรู้สึกที่อยากจะหาเรื่องหาราวขึ้นมาในวันนี้แล้วละก็คำว่า &quot;บิน&quot; นี้มันก็อาจจะรวมได้ทั้ง บางสิ่งบางอย่างที่มันตกลงมา จากฟากฟ้าหรือแม้แต่กลไกอะไรสักอย่างที่มันลงมาสู่พื้นดิน </span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #999999\">ดาว 5 แห่งแหล่งต้องสงสัยกำเนิด “มนุษย์ต่างดาว”</span> <br />\n<span style=\"color: #ffcc00\">นักดาราศาสตร์อเมริกันระบุรายชื่อดาวฤกษ์ 5 ดวงบริเวณใกล้เคียงกาแล็กซีทางช้างเผือกที่มีแนวโน้มมากที่สุดว่าอาจจะเป็นแหล่งพำนักของสิ่งมีชีวิตนอกโลก อย่าง “มนุษย์ต่างดาว” ที่ชาวโลกควานหามานานหลายสิบปี </span></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/ภาพ:Planet05.jpg\" title=\"ภาพ:Planet05.jpg\" class=\"image\"><span style=\"font-size: medium\"><img longDesc=\"/wiki/index.php/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E:Planet05.jpg\" width=\"350\" src=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/images/Planet05.jpg\" alt=\"ภาพ:Planet05.jpg\" height=\"263\" style=\"width: 260px; height: 166px\" /></span></a></span></strong><span style=\"font-size: medium\"> </span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        นานมาแล้วที่นักวิทยาศาสตร์ดักฟังสัญญาณวิทยุจากกาแล็กซีอื่นๆ ที่ห่างไกลออกไป ด้วยความหวังว่า จะพบกับสิ่งมีชีวิตที่มีความศิวิไลซ์ในดาวดวงอื่น </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        ในการประชุมประจำปีของสมาคมวิทยาศาสตร์ขั้นสูงของอเมริกา (American Association for the Advancement of Science) ที่จัดขึ้นที่เซนต์หลุยส์ สหรัฐฯ มาร์กาเร็ต เทิร์นบูล (Margaret Turnbull) แห่งสถาบันคาร์เนอร์กีในวอชิงตัน ดีซี (Carnegie Institution of Washington) ได้เปิดเผยกฎเกณฑ์สำหรับการค้นหาดวงดาวที่เชื่อว่าจะมีมนุษย์ต่างดาวเอาไว้ อาทิ อายุของดวงดาวนั้นๆ และปริมาณธาตุเหล็กในชั้นบรรยากาศ </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        แคนดิเดตที่มีความเป็นไปได้มากที่สุดในบรรดาดาว 5 ดวงตามเกณฑ์ของ ดร.เทิร์นบูลคือ ดาวเบตา ซีวีเอ็น (beta CVn) ในกลุ่มดาวเคนส์ เวนาชิติ (Canes Venatici) ที่มีลักษณะคล้ายดวงอาทิตย์ และอยู่ห่างออกไป 26 ปีแสง หรือ 153 ล้านล้านไมล์ </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        ก่อนหน้านี้ ดร.เทิร์นบูลระบุว่า มีดาวเคราะห์ประมาณกว่า 17,000 ดวงที่เธอเชื่อว่า อาจเป็น ‘ระบบดาวฤกษ์ที่สามารถอยู่อาศัยได้’ กล่าวคือ มีเงื่อนไขทางกายภาพที่ไม่สุดโต่งเกินไปที่จะจำกัดวิวัฒนาการและพัฒนาการของสิ่งมีชีวิตนอกโลกและเทคโนโลยีของสิ่งมีชีวิตนั้น </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        จากสมมติฐานดังกล่าว เธอเลือกดาวฤกษ์ออกมา 5 ดวงที่ดูมีแนวโน้มมากที่สุดที่สนับสนุนทฤษฎีสิ่งมีชีวิตนอกโลก โดยเชื่อว่าจะเป็นสถานที่ที่ดีที่สุดหากเราต้องย้ายออกจากโลก หรือเพื่อศึกษาอย่างละเอียดต่อไป </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">         “เซติ” หรือ SETI ( Search for Extraterrestrial Intelligence ) คือ สถาบันเพื่อการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ที่พยายามค้นหาหลักฐานของสิ่งมีชีวิตในระบบจักรวาล ด้วยการใช้เครื่องตรวจวัดคลื่นวิทยุทางไกลที่ประจำอยู่ในหอดูดาวทั่วโลก เพื่อตรวจดูบนฟ้าว่ามีการส่งสัญญาณชั้นสูงจากที่ใดบ้าง </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        นอกจากนั้น นักดาราศาสตร์ยังรวบรวมชุดหลักการที่เรียกว่า หลักการเซติ ซึ่งเป็นการกำหนดกรอบโครงของสิ่งที่ควรทำหากตรวจพบสัญญาณเรียกมาจากสิ่งมีชีวิตนอกโลก </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        ทว่า ภารกิจอันใหญ่ยิ่งนี้หมายความว่า นักวิทยาศาสตร์ควรหาวิธีลดเป้าหมายการค้นหาให้แคบลง ซึ่งก็คือวิธีการของ ดร.เทิร์นบูลในการเน้นถึงดวงดาวที่มีความเป็นไปได้มากที่สุดซึ่งโคจรอยู่รอบๆ โลกที่เราอาศัยอยู่ </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        เกณฑ์ของ ดร.เทิร์นบูลคือ จะต้องเป็นดาวที่มีอายุอย่างน้อย 3,000 ล้านปี ซึ่งเป็นระยะเวลาที่โลกก่อกำเนิดและวิวัฒนาการจนมาถึงปัจจุบัน ซึ่งการก่อกำเนิดอารยธรรมขั้นสูงไม่ได้เกิดขึ้นเพียงชั่วข้ามคืน แต่ใช้เวลาเป็นพันๆ ปี ดังเช่นอารยธรรมของโลกเรา </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        ทั้งนี้ ดาวที่มีความเป็นไปได้ยังต้องมีธาตุเหล็กประกอบอยู่ในชั้นบรรยากาศอย่างน้อย 50% หากน้อยกว่านั้น จะไม่เอื้ออำนวยต่อการก่อกำเนิดของดาวเคราะห์ที่อุดมไปด้วยก้อนหินเหมือนกับโลกรอบๆ ดาวฤกษ์ดวงนั้น </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        ขณะเดียวกัน ดวงดาวที่มีมวลสารหนาแน่นกว่าดวงอาทิตย์เกิน 1.5 เท่า ยังมีแนวโน้มว่าจะมีอายุไม่ยืนยาวพอผลิตสิ่งที่เรียกว่า ‘พื้นที่อยู่อาศัย’ ซึ่งหมายถึงบริเวณรอบๆ ดวงดาวที่ดาวเคราะห์ภายในโซนนั้นสามารถที่จะมีน้ำอุดมสมบูรณ์บนพื้นผิว ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        ทั้งนี้ เนื่องจากหากดาวเคราะห์อยู่ใกล้ดาวฤกษ์เกินไป ความร้อนจะทำให้น้ำระเหยกลายเป็นไอ แต่ถ้าไกลเกินไป น้ำอาจแข็งตัวกลายเป็นน้ำแข็ง นักวิจัยของสถาบันคาร์เนอร์กียังตัดดาวฤกษ์ที่มีบริวารจำนวนมากออกไป เนื่องจากดาวบริวารเหล่านั้นอาจรบกวนพื้นที่อยู่อาศัย </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        ทางด้าน จิลล์ ทาร์เตอร์ (Jill Tarter) แห่งสถาบันเซติ กล่าวในที่ประชุมเดียวกันว่า นับจากนี้ต่อไป เซติจะฝึกการใช้เครื่องตรวจวัดคลื่นวิทยุทางไกลโดยเน้นที่ดาว 5 ดวงในลิสต์ของ ดร. เทิร์นบูล ซึ่งนอกเหนือจากดาวเบตา ซีวีเอ็นแล้วยังประกอบด้วย </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        ดาวเอชดี 10307 ซึ่งเป็นดาวในระบบสุริยะเหมือนกับโลก อยู่ห่างออกไป 42 ปีแสง มีมวลสาร อุณหภูมิ โลหะเกือบเหมือนกับดวงอาทิตย์ และมีดาวบริวารหนึ่งดวง </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        ดาวเอชดี 211415 มีโลหะเป็นองค์ประกอบครึ่งหนึ่งของดวงอาทิตย์ เย็นกว่าดวงอาทิตย์นิดหน่อย และอยู่ไกลกว่าเอชดี 10307 เล็กน้อย ดาว 18 สโก (18 Sco) ในกลุ่มดาวแมงป่อง มีลักษณะใกล้เคียงจนถูกเรียกว่าเป็นคู่แฝดของดวงอาทิตย์ </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">        สุดท้ายคือ ดาว 51 ปิกาซัส (Pegasus 51) ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี โดยในปี 1995 นักดาราศาสตร์สวิสรายงานว่า ตรวจพบดาวเคราะห์ดวงแรกเหนือระบบสุริยะ โคจรอยู่รอบดาวฤกษ์ดวงนี้ และไม่นานนักดาราศาสตร์อเมริกันยืนยันว่า พบวัตถุที่คล้ายกับดาวพฤหัสในบริเวณเดียวกัน </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #ffcc00\"><span style=\"font-size: medium\">แหล่งอ้างอิง: <a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7\">http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7</a></span></span>\n</p>\n', created = 1715753846, expire = 1715840246, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:38430d94ce8592cb42decde455b31042' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ยูเอฟโอ

 UFO

คำว่า"ยูเอฟโอ" นี้มาจาก UFO=Unidentified flying Object หรือถอดพอได้ใจความตามภาษาไทยว่า "วัตถุบินที่ไม่สามารถจำแนกได้"หรือรวบรัดเอาง่ายๆว่า จานผี ซึ่งมันก็เป็นอะไรสักอย่างที่สับสนอยู่เหมือนกัน ถ้าท่านพูดกับบุคคลที่ไม่ได้ติดตามเรื่องนี้มา แล้วพวกเขาก็จะคิดขึ้นมาทันทีว่า-มันเป็นจานบินที่ขับขี่โดยมนุษย์ตัวเล็กๆสีเขียว-ซึ่งไม่ถูกต้องเลย


        ยูเอฟโอนี้หมายถึง "วัตถุหรือปรากฏการณ์ใดๆในอากาศซึ่งผู้พบเห็นไม่สามารถที่จะอธิบายได้" ซึ่งมันอาจจะเป็นลูกไฟประหลาดหรือประเภทของดาวตก,เมฆที่ก่อตัวเป็นรูปร่างแปลกประหลาดกลุ่มหมู่บินหรือการบุกของกองเรือรบ

        ยูเอฟโอส่วนมากที่สุดคือเหตุการณ์โดยธรรมชาติที่ห่างไกลจากคำอธิบายของนวนิยายในทางวิทยาศาสตร์ใด ๆ ถ้าท่านเกิดความรู้สึกที่อยากจะหาเรื่องหาราวขึ้นมาในวันนี้แล้วละก็คำว่า "บิน" นี้มันก็อาจจะรวมได้ทั้ง บางสิ่งบางอย่างที่มันตกลงมา จากฟากฟ้าหรือแม้แต่กลไกอะไรสักอย่างที่มันลงมาสู่พื้นดิน

ดาว 5 แห่งแหล่งต้องสงสัยกำเนิด “มนุษย์ต่างดาว”
นักดาราศาสตร์อเมริกันระบุรายชื่อดาวฤกษ์ 5 ดวงบริเวณใกล้เคียงกาแล็กซีทางช้างเผือกที่มีแนวโน้มมากที่สุดว่าอาจจะเป็นแหล่งพำนักของสิ่งมีชีวิตนอกโลก อย่าง “มนุษย์ต่างดาว” ที่ชาวโลกควานหามานานหลายสิบปี

ภาพ:Planet05.jpg

        นานมาแล้วที่นักวิทยาศาสตร์ดักฟังสัญญาณวิทยุจากกาแล็กซีอื่นๆ ที่ห่างไกลออกไป ด้วยความหวังว่า จะพบกับสิ่งมีชีวิตที่มีความศิวิไลซ์ในดาวดวงอื่น

        ในการประชุมประจำปีของสมาคมวิทยาศาสตร์ขั้นสูงของอเมริกา (American Association for the Advancement of Science) ที่จัดขึ้นที่เซนต์หลุยส์ สหรัฐฯ มาร์กาเร็ต เทิร์นบูล (Margaret Turnbull) แห่งสถาบันคาร์เนอร์กีในวอชิงตัน ดีซี (Carnegie Institution of Washington) ได้เปิดเผยกฎเกณฑ์สำหรับการค้นหาดวงดาวที่เชื่อว่าจะมีมนุษย์ต่างดาวเอาไว้ อาทิ อายุของดวงดาวนั้นๆ และปริมาณธาตุเหล็กในชั้นบรรยากาศ

        แคนดิเดตที่มีความเป็นไปได้มากที่สุดในบรรดาดาว 5 ดวงตามเกณฑ์ของ ดร.เทิร์นบูลคือ ดาวเบตา ซีวีเอ็น (beta CVn) ในกลุ่มดาวเคนส์ เวนาชิติ (Canes Venatici) ที่มีลักษณะคล้ายดวงอาทิตย์ และอยู่ห่างออกไป 26 ปีแสง หรือ 153 ล้านล้านไมล์

        ก่อนหน้านี้ ดร.เทิร์นบูลระบุว่า มีดาวเคราะห์ประมาณกว่า 17,000 ดวงที่เธอเชื่อว่า อาจเป็น ‘ระบบดาวฤกษ์ที่สามารถอยู่อาศัยได้’ กล่าวคือ มีเงื่อนไขทางกายภาพที่ไม่สุดโต่งเกินไปที่จะจำกัดวิวัฒนาการและพัฒนาการของสิ่งมีชีวิตนอกโลกและเทคโนโลยีของสิ่งมีชีวิตนั้น

        จากสมมติฐานดังกล่าว เธอเลือกดาวฤกษ์ออกมา 5 ดวงที่ดูมีแนวโน้มมากที่สุดที่สนับสนุนทฤษฎีสิ่งมีชีวิตนอกโลก โดยเชื่อว่าจะเป็นสถานที่ที่ดีที่สุดหากเราต้องย้ายออกจากโลก หรือเพื่อศึกษาอย่างละเอียดต่อไป

         “เซติ” หรือ SETI ( Search for Extraterrestrial Intelligence ) คือ สถาบันเพื่อการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ที่พยายามค้นหาหลักฐานของสิ่งมีชีวิตในระบบจักรวาล ด้วยการใช้เครื่องตรวจวัดคลื่นวิทยุทางไกลที่ประจำอยู่ในหอดูดาวทั่วโลก เพื่อตรวจดูบนฟ้าว่ามีการส่งสัญญาณชั้นสูงจากที่ใดบ้าง

        นอกจากนั้น นักดาราศาสตร์ยังรวบรวมชุดหลักการที่เรียกว่า หลักการเซติ ซึ่งเป็นการกำหนดกรอบโครงของสิ่งที่ควรทำหากตรวจพบสัญญาณเรียกมาจากสิ่งมีชีวิตนอกโลก

        ทว่า ภารกิจอันใหญ่ยิ่งนี้หมายความว่า นักวิทยาศาสตร์ควรหาวิธีลดเป้าหมายการค้นหาให้แคบลง ซึ่งก็คือวิธีการของ ดร.เทิร์นบูลในการเน้นถึงดวงดาวที่มีความเป็นไปได้มากที่สุดซึ่งโคจรอยู่รอบๆ โลกที่เราอาศัยอยู่

        เกณฑ์ของ ดร.เทิร์นบูลคือ จะต้องเป็นดาวที่มีอายุอย่างน้อย 3,000 ล้านปี ซึ่งเป็นระยะเวลาที่โลกก่อกำเนิดและวิวัฒนาการจนมาถึงปัจจุบัน ซึ่งการก่อกำเนิดอารยธรรมขั้นสูงไม่ได้เกิดขึ้นเพียงชั่วข้ามคืน แต่ใช้เวลาเป็นพันๆ ปี ดังเช่นอารยธรรมของโลกเรา

        ทั้งนี้ ดาวที่มีความเป็นไปได้ยังต้องมีธาตุเหล็กประกอบอยู่ในชั้นบรรยากาศอย่างน้อย 50% หากน้อยกว่านั้น จะไม่เอื้ออำนวยต่อการก่อกำเนิดของดาวเคราะห์ที่อุดมไปด้วยก้อนหินเหมือนกับโลกรอบๆ ดาวฤกษ์ดวงนั้น

        ขณะเดียวกัน ดวงดาวที่มีมวลสารหนาแน่นกว่าดวงอาทิตย์เกิน 1.5 เท่า ยังมีแนวโน้มว่าจะมีอายุไม่ยืนยาวพอผลิตสิ่งที่เรียกว่า ‘พื้นที่อยู่อาศัย’ ซึ่งหมายถึงบริเวณรอบๆ ดวงดาวที่ดาวเคราะห์ภายในโซนนั้นสามารถที่จะมีน้ำอุดมสมบูรณ์บนพื้นผิว ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต

        ทั้งนี้ เนื่องจากหากดาวเคราะห์อยู่ใกล้ดาวฤกษ์เกินไป ความร้อนจะทำให้น้ำระเหยกลายเป็นไอ แต่ถ้าไกลเกินไป น้ำอาจแข็งตัวกลายเป็นน้ำแข็ง นักวิจัยของสถาบันคาร์เนอร์กียังตัดดาวฤกษ์ที่มีบริวารจำนวนมากออกไป เนื่องจากดาวบริวารเหล่านั้นอาจรบกวนพื้นที่อยู่อาศัย

        ทางด้าน จิลล์ ทาร์เตอร์ (Jill Tarter) แห่งสถาบันเซติ กล่าวในที่ประชุมเดียวกันว่า นับจากนี้ต่อไป เซติจะฝึกการใช้เครื่องตรวจวัดคลื่นวิทยุทางไกลโดยเน้นที่ดาว 5 ดวงในลิสต์ของ ดร. เทิร์นบูล ซึ่งนอกเหนือจากดาวเบตา ซีวีเอ็นแล้วยังประกอบด้วย

        ดาวเอชดี 10307 ซึ่งเป็นดาวในระบบสุริยะเหมือนกับโลก อยู่ห่างออกไป 42 ปีแสง มีมวลสาร อุณหภูมิ โลหะเกือบเหมือนกับดวงอาทิตย์ และมีดาวบริวารหนึ่งดวง

        ดาวเอชดี 211415 มีโลหะเป็นองค์ประกอบครึ่งหนึ่งของดวงอาทิตย์ เย็นกว่าดวงอาทิตย์นิดหน่อย และอยู่ไกลกว่าเอชดี 10307 เล็กน้อย ดาว 18 สโก (18 Sco) ในกลุ่มดาวแมงป่อง มีลักษณะใกล้เคียงจนถูกเรียกว่าเป็นคู่แฝดของดวงอาทิตย์

        สุดท้ายคือ ดาว 51 ปิกาซัส (Pegasus 51) ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี โดยในปี 1995 นักดาราศาสตร์สวิสรายงานว่า ตรวจพบดาวเคราะห์ดวงแรกเหนือระบบสุริยะ โคจรอยู่รอบดาวฤกษ์ดวงนี้ และไม่นานนักดาราศาสตร์อเมริกันยืนยันว่า พบวัตถุที่คล้ายกับดาวพฤหัสในบริเวณเดียวกัน

แหล่งอ้างอิง: http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 276 คน กำลังออนไลน์