• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f5282ee1d2965bdf818caea74b4f269c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n <strong><span style=\"color: #ff0000\">นิราศนรินทร์</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">          </span></strong>นิราศนรินทร์ เป็นวรรณคดีในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเภทนิราศ ที่จัดว่าแต่งได้ดี ถึงขนาดที่กระทรวงศึกษาธิการคัดมาให้     นักเรียนได้ศึกษากันในชั้นเรียน และมีบทโคลงที่ใช้เป็นแบบแผนของโคลงสี่สุภาพด้วย\n</p>\n<p>\nเนื้อหา\n</p>\n<p>\n1 ผู้แต่ง<br />\n2 เนื้อหา<br />\n3 คำประพันธ์<br />\n4 ตัวอย่างจากนิราศนรินทร์<br />\n5 ดูเพิ่ม<br />\n \n</p>\n<p>\nผู้แต่ง\n</p>\n<p>\n       ผู้แต่งนิราศนรินทร์ คือนายนรินทรธิเบศร์ (มิใช่ชื่อตัว แต่เป็นบรรดาศักดิ์ในสมัยโบราณ) มีนามเดิมว่า อิน ในตำรารุ่นเก่า มักเขียนเป็น นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ได้แต่งนิราศเรื่องนี้เมื่อคราวตามเสด็จสมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาเสนานุรักษ์ยกกองทัพหลวงไปปราบพม่า ซึ่งยกลงมาตีเมืองถลางและชุมพร ในช่วงต้นรัชกาลที่ 2 เมื่อปีมะเส็ง (พ.ศ. 2352) นิราศเรื่องผู้แต่งไม่ได้ระบุชื่อเอาไว้ แต่เรียกกันโดยทั่วไปตามชื่อผู้แต่ง ว่า “นิราศนรินทร์”\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n  เนื้อหา\n</p>\n<p>\n     เนื้อหาเป็นการคร่ำครวญและพรรณนาความรู้สึกอาลัยอาวรณ์ที่มีต่อหญิงคนรัก และเล่าถึงการเดินทาง เมื่อผ่านภูมิประเทศต่างๆ เริ่มจากคลองขุด ถึงวัดแจ้ง (วัดอรุณ) เข้าคลองบางกอกน้อย และล่องเรือไปจนถึงอ่าวไทย แล้วขึ้นบกที่เพชรบุรี\n</p>\n<p>\nคำประพันธ์ \n</p>\n<p>\n       คำประพันธ์นิราศนรินทร์แต่งด้วยโคลงสี่สุภาพ 143 บท โดยมีร่ายสุภาพขึ้นต้น 1 บท ผู้แต่งประณีตในการคัดสรรคำและความหมาย ร้อยกรองเป็นบทโคลงที่ไพเราะ ทั้งยังมีสัมผัสอักษรแพรวพราวตามขนบของคำโคลง อาจกล่าวได้ว่า แทบไม่มีโคลงบทไหนเลย ที่อ่านแล้วไม่รู้สึกถึงความไพเราะงดงาม อย่างไรก็ตาม ด้วยสำนวนภาษาที่เก่าถึงยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น จึงมีคำศัพท์จำนวนไม่น้อยที่เข้าใจยาก หรือเป็นที่ถกเถียงกันโดยยังไม่มีข้อยุติ\n</p>\n<p>\n       นิราศเรื่องนี้เป็นที่ยกย่องกันมาก ถึงกับยกเปรียบกับวรรณคดีรุ่นเก่าอย่างโคลงกำสรวล ในเรื่องนี้ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพยังได้ทรงพระนิพนธ์คำนำหนังสือนิราศนรินทร์เอาไว้ ตอนหนึ่งมีข้อความว่า “...มีผู้สันนิษฐานว่านายนรินทรธิเบศร์ (อิน) แต่งเอาอย่าง หรือเลียนแบบโคลงนิราศกำสรวลศรีปราชญ์ ซึ่งแต่งในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่เมื่อเทียบเคียงกันแล้ว กลับเห็นว่าแต่งดีกว่าเรื่องกำสรวลศรีปราชญ์\n</p>\n<p>\n        ตัวอย่างจากนิราศนรินทร์ บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ จัดลิงก์ภายใน และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม\n</p>\n<p>\n๑. ศรีสิทธิ์พิศาลภพ เลอหล้าลบล่มสวรรค์ จรรโลงโลกกว่ากว้าง แผนแผ่นผ้างเมืองเมรุ ศรีอยุธเยนทร์แย้มฟ้า แจกแสงจ้าเจิดจันทร์ เพียงรพิพรรณผ่องด้าว ขุนหาญห้าวแหนบาท สระทุกข์ราษฎร์รอนเสี้ยน ส่ายเศิกเหลี้ยนล่งหล้า ราญราบหน้าเภริน เข็ญข่าวยินยอบตัว ควบค้อมหัวไหว้ละล้าว ทุกไทน้าวมาลย์น้อม ขอออกอ้อมมาอ่อน ผ่อนแผ่นดินให้ผาย ขยายแผ่นฟ้าให้แผ้ว เลี้ยงทแกล้วให้กล้า พระยศไท้เทิศฟ้า เฟื่องฟุ้งทศธรรม ท่านแฮ\n</p>\n<p>\n๒.อยุธยายศล่มแล้ว ลอยสวรรค์ ลงฤๅ <br />\nสิงหาสน์ปรางค์รัตน์บรร- เจิดหล้า <br />\nบุญเพรงพระหากสรรค์ ศาสน์รุ่ง เรืองแฮ <br />\nบังอบายเบิกฟ้า ฝึกฟื้นใจเมือง <br />\n \n</p>\n<p>\n(กรุงศรีอยุธยาแตกไปแล้ว แต่กลับลอยลงมาจากสวรรค์อีกหรืออย่างไร มีปราสาทพระราชวังอันงดงามตระการตา ด้วยบุญบารมีของพระมหากษัตริย์ช่วยทนุบำรุงพระศาสนาให้รุ่งเรือง ปัดเป่าทุกข์ให้แก่ไพร่ฟ้าชาวประชา)\n</p>\n<p>\n        นักวรรณคดีมักเปรียบเทียบโคลงบทนี้ กับโคลงดั้นจากโคลงกำสรวล ซึ่งขึ้นบาทแรกด้วยสำนวนคล้ายกัน ดังต่อไปนี้ ซึ่งเป็นบทชมพระนครเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ผู้แต่งอาจชื่นชมโคลงจากโคลงกำสรวล ซึ่งชื่นชมพระนครเมื่อครั้งยังรุ่งเรือง\n</p>\n<p>\n                      ๑.         อยุธยายศยิ่งฟ้า      ลงดิน แลฤๅ <br />\n                             อำนาจบุญเพรงพระ      ก่อเกื้อ <br />\n                             เจดียลอออินทร           ปราสาท <br />\n                             ในทาบทองแล้วเนื้อ      นอกโสรมฯ <br />\n          \n</p>\n<p>\n                      ๗.       อยุธยายศโยกฟ้า      ฟากดิน <br />\n                             ผาดดินพิภพดยว          ดอกฟ้า <br />\n                             แสนโกฏบยลยิน           หยากเยื่อ <br />\n                             ไตรรัตนเรืองรุ่งหล้า       หลากสรรคฯ <br />\n                                                                   (โคลงกำสรวล) <br />\n \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nนอกจากนี้ในโคลงหมายเลข ๒๒. ยังถือเป็นแม่แบบของโคลงสี่สุภาพบทหนึ่งด้วย\n</p>\n<p>\n                             ๒๒.           จากมามาลิ่วล้ำ        ลำบาง <br />\n                                           บางยี่เรือราพลาง        พี่พร้อง <br />\n                                           เรือแผงช่วยพานาง     เมียงม่าน มานา <br />\n                                           บางบ่รับคำคล้อง        คล่าวน้ำตาคลอฯ <br />\n \n</p>\n<p>\nด้วยโคลงบทนี้ใช้คำเอก 7 โท 4 และที่เหลือเป็นคำสุภาพทั้งหมด จึงใช้เป็นแม่แบบสำหรับการแต่งโคลงสี่สุภาพได้เป็นอย่างดี (โคลงแม่แบบนอกจากนี้ได้แก่ “เสียงลือเสียงเล่าอ้าง” จากลิลิตพระลอ),\n</p>\n<p>\nในตอนท้ายๆ ผู้แต่งยังได้เอ่ยถึงวรรณคดีรุ่นเก่าอีกสองเรื่อง คือ กำสรวลศรีปราชญ์ และทวาทศมาส ซึ่งเป็นนิราศคำโคลงเช่นเดียวกัน\n</p>\n<p>\n                                     ๑๒๔.        กำสรวลศรีปราชญ์พร้อง เพรงกาล <br />\n                                             จากจุฬาลักษณ์ลาญ             สวาทแล้ว <br />\n                                             ทวาทศมาสสาร                   สามเทวษ  ถวิลแฮ <br />\n                                             ยกทัดกลางเกศแก้ว              กึ่งร้อนทรวงเรียมฯ <br />\n \n</p>\n<p>\n                                     โคลงบทสุดท้าย (๑๔๔) ผู้แต่งได้ระบุชื่อตนเอาไว้ด้วย ดังนี้\n</p>\n<p>\n                                     ๑๔๔.           โคลงเรื่องนิราศนี้         นรินทร์อิน <br />\n                                               รองบาทบวรวังถวิล               ว่าไว้ <br />\n                                               บทใดปราชญ์ปวงฉิน              เชิญเปลี่ยน แปลงพ่อ <br />\n                                               ปรุงเปรียบเสาวคนธ์ไล้            เลือกลิ้มดมดูฯ\n</p>\n', created = 1714383469, expire = 1714469869, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f5282ee1d2965bdf818caea74b4f269c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โคลงนิราศนรินทร์

รูปภาพของ sumate2504

 นิราศนรินทร์

          นิราศนรินทร์ เป็นวรรณคดีในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเภทนิราศ ที่จัดว่าแต่งได้ดี ถึงขนาดที่กระทรวงศึกษาธิการคัดมาให้     นักเรียนได้ศึกษากันในชั้นเรียน และมีบทโคลงที่ใช้เป็นแบบแผนของโคลงสี่สุภาพด้วย

เนื้อหา

1 ผู้แต่ง
2 เนื้อหา
3 คำประพันธ์
4 ตัวอย่างจากนิราศนรินทร์
5 ดูเพิ่ม
 

ผู้แต่ง

       ผู้แต่งนิราศนรินทร์ คือนายนรินทรธิเบศร์ (มิใช่ชื่อตัว แต่เป็นบรรดาศักดิ์ในสมัยโบราณ) มีนามเดิมว่า อิน ในตำรารุ่นเก่า มักเขียนเป็น นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ได้แต่งนิราศเรื่องนี้เมื่อคราวตามเสด็จสมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาเสนานุรักษ์ยกกองทัพหลวงไปปราบพม่า ซึ่งยกลงมาตีเมืองถลางและชุมพร ในช่วงต้นรัชกาลที่ 2 เมื่อปีมะเส็ง (พ.ศ. 2352) นิราศเรื่องผู้แต่งไม่ได้ระบุชื่อเอาไว้ แต่เรียกกันโดยทั่วไปตามชื่อผู้แต่ง ว่า “นิราศนรินทร์”

 

  เนื้อหา

     เนื้อหาเป็นการคร่ำครวญและพรรณนาความรู้สึกอาลัยอาวรณ์ที่มีต่อหญิงคนรัก และเล่าถึงการเดินทาง เมื่อผ่านภูมิประเทศต่างๆ เริ่มจากคลองขุด ถึงวัดแจ้ง (วัดอรุณ) เข้าคลองบางกอกน้อย และล่องเรือไปจนถึงอ่าวไทย แล้วขึ้นบกที่เพชรบุรี

คำประพันธ์ 

       คำประพันธ์นิราศนรินทร์แต่งด้วยโคลงสี่สุภาพ 143 บท โดยมีร่ายสุภาพขึ้นต้น 1 บท ผู้แต่งประณีตในการคัดสรรคำและความหมาย ร้อยกรองเป็นบทโคลงที่ไพเราะ ทั้งยังมีสัมผัสอักษรแพรวพราวตามขนบของคำโคลง อาจกล่าวได้ว่า แทบไม่มีโคลงบทไหนเลย ที่อ่านแล้วไม่รู้สึกถึงความไพเราะงดงาม อย่างไรก็ตาม ด้วยสำนวนภาษาที่เก่าถึงยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น จึงมีคำศัพท์จำนวนไม่น้อยที่เข้าใจยาก หรือเป็นที่ถกเถียงกันโดยยังไม่มีข้อยุติ

       นิราศเรื่องนี้เป็นที่ยกย่องกันมาก ถึงกับยกเปรียบกับวรรณคดีรุ่นเก่าอย่างโคลงกำสรวล ในเรื่องนี้ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพยังได้ทรงพระนิพนธ์คำนำหนังสือนิราศนรินทร์เอาไว้ ตอนหนึ่งมีข้อความว่า “...มีผู้สันนิษฐานว่านายนรินทรธิเบศร์ (อิน) แต่งเอาอย่าง หรือเลียนแบบโคลงนิราศกำสรวลศรีปราชญ์ ซึ่งแต่งในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่เมื่อเทียบเคียงกันแล้ว กลับเห็นว่าแต่งดีกว่าเรื่องกำสรวลศรีปราชญ์

        ตัวอย่างจากนิราศนรินทร์ บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ จัดลิงก์ภายใน และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม

๑. ศรีสิทธิ์พิศาลภพ เลอหล้าลบล่มสวรรค์ จรรโลงโลกกว่ากว้าง แผนแผ่นผ้างเมืองเมรุ ศรีอยุธเยนทร์แย้มฟ้า แจกแสงจ้าเจิดจันทร์ เพียงรพิพรรณผ่องด้าว ขุนหาญห้าวแหนบาท สระทุกข์ราษฎร์รอนเสี้ยน ส่ายเศิกเหลี้ยนล่งหล้า ราญราบหน้าเภริน เข็ญข่าวยินยอบตัว ควบค้อมหัวไหว้ละล้าว ทุกไทน้าวมาลย์น้อม ขอออกอ้อมมาอ่อน ผ่อนแผ่นดินให้ผาย ขยายแผ่นฟ้าให้แผ้ว เลี้ยงทแกล้วให้กล้า พระยศไท้เทิศฟ้า เฟื่องฟุ้งทศธรรม ท่านแฮ

๒.อยุธยายศล่มแล้ว ลอยสวรรค์ ลงฤๅ
สิงหาสน์ปรางค์รัตน์บรร- เจิดหล้า
บุญเพรงพระหากสรรค์ ศาสน์รุ่ง เรืองแฮ
บังอบายเบิกฟ้า ฝึกฟื้นใจเมือง
 

(กรุงศรีอยุธยาแตกไปแล้ว แต่กลับลอยลงมาจากสวรรค์อีกหรืออย่างไร มีปราสาทพระราชวังอันงดงามตระการตา ด้วยบุญบารมีของพระมหากษัตริย์ช่วยทนุบำรุงพระศาสนาให้รุ่งเรือง ปัดเป่าทุกข์ให้แก่ไพร่ฟ้าชาวประชา)

        นักวรรณคดีมักเปรียบเทียบโคลงบทนี้ กับโคลงดั้นจากโคลงกำสรวล ซึ่งขึ้นบาทแรกด้วยสำนวนคล้ายกัน ดังต่อไปนี้ ซึ่งเป็นบทชมพระนครเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ผู้แต่งอาจชื่นชมโคลงจากโคลงกำสรวล ซึ่งชื่นชมพระนครเมื่อครั้งยังรุ่งเรือง

                      ๑.         อยุธยายศยิ่งฟ้า      ลงดิน แลฤๅ
                             อำนาจบุญเพรงพระ      ก่อเกื้อ
                             เจดียลอออินทร           ปราสาท
                             ในทาบทองแล้วเนื้อ      นอกโสรมฯ
          

                      ๗.       อยุธยายศโยกฟ้า      ฟากดิน
                             ผาดดินพิภพดยว          ดอกฟ้า
                             แสนโกฏบยลยิน           หยากเยื่อ
                             ไตรรัตนเรืองรุ่งหล้า       หลากสรรคฯ
                                                                   (โคลงกำสรวล)
 

 

นอกจากนี้ในโคลงหมายเลข ๒๒. ยังถือเป็นแม่แบบของโคลงสี่สุภาพบทหนึ่งด้วย

                             ๒๒.           จากมามาลิ่วล้ำ        ลำบาง
                                           บางยี่เรือราพลาง        พี่พร้อง
                                           เรือแผงช่วยพานาง     เมียงม่าน มานา
                                           บางบ่รับคำคล้อง        คล่าวน้ำตาคลอฯ
 

ด้วยโคลงบทนี้ใช้คำเอก 7 โท 4 และที่เหลือเป็นคำสุภาพทั้งหมด จึงใช้เป็นแม่แบบสำหรับการแต่งโคลงสี่สุภาพได้เป็นอย่างดี (โคลงแม่แบบนอกจากนี้ได้แก่ “เสียงลือเสียงเล่าอ้าง” จากลิลิตพระลอ),

ในตอนท้ายๆ ผู้แต่งยังได้เอ่ยถึงวรรณคดีรุ่นเก่าอีกสองเรื่อง คือ กำสรวลศรีปราชญ์ และทวาทศมาส ซึ่งเป็นนิราศคำโคลงเช่นเดียวกัน

                                     ๑๒๔.        กำสรวลศรีปราชญ์พร้อง เพรงกาล 
                                             จากจุฬาลักษณ์ลาญ             สวาทแล้ว
                                             ทวาทศมาสสาร                   สามเทวษ  ถวิลแฮ
                                             ยกทัดกลางเกศแก้ว              กึ่งร้อนทรวงเรียมฯ
 

                                     โคลงบทสุดท้าย (๑๔๔) ผู้แต่งได้ระบุชื่อตนเอาไว้ด้วย ดังนี้

                                     ๑๔๔.           โคลงเรื่องนิราศนี้         นรินทร์อิน
                                               รองบาทบวรวังถวิล               ว่าไว้
                                               บทใดปราชญ์ปวงฉิน              เชิญเปลี่ยน แปลงพ่อ
                                               ปรุงเปรียบเสาวคนธ์ไล้            เลือกลิ้มดมดูฯ

สร้างโดย: 
ครูสุเมธ เทพทอง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 546 คน กำลังออนไลน์