• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('เทคโนโลยีสารสนเทศ ง31101 น.ส. น้ำตาล เหมปราการ ม.4/4 เลขที่ 39 คุณครู เดือนฉาย หนูแสนดี', 'node/112121', '', '18.222.166.105', 0, 'c4693db78eda0be1d7c674300ee4cf47', 135, 1719612463) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4aa3f3f903481f49d7fe1e122b5791b8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b>หน่วยที่1 องค์ประกอบสาระสนเทศ1.ฮาร์ตแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานตามชุดคำสั่งได้และให้ผลลัพธ์ตามต้องการ2.ซอฟท์แวร์ หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นจากภาษาคอมพิวเตอร์ ให้เครื่องทำงานได้ตามต้องการในแต่ละงาน แบ่งตามลักษณะตามต้องการทำงาน3.ขั้นตอนการปฏิบัติงานจากความหมายจะเห็นว่า คอมพิวเตอร์ ขั้นตอนการทำงาน 3 ขั้นตอน คือ3.1 รับโปมแรมข้อมูล 3.2 ประมวลผล3.3 แสดงผลลัพธ์4.ข้อมูล (Data) คือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคลสิ่งของ สถานที่ หรือเหตุการณ์ใดๆ ที่สนใจศึกษาข้อมูล แบ่งออกได้ดั้งนี้1รหัส (code) 2 บีท(Bit) 3. ไบท์(Bye) 4. ตัวอักขระ(character) 5. คำ(Word) 6. เขต(Field) 7. ระเบียน(record) 8.ไพล์(File)5.บุคลากร เป็นผู้เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ที่จะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามระบบได้</b></p>\n<p style=\"line-height: normal\" class=\"MsoNormal\"> หน่วยที่ 2 หลักทำงานของ<b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif; color: black\" lang=\"TH\">คอมพิวเตอร</span></b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif; color: black\" lang=\"TH\">์คือ  </span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\" lang=\"TH\">อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์</span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"font-size: 9pt\" class=\"Apple-style-span\">  </span></span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\" lang=\"TH\">ที่ทำงานตามชุดคำสั่งอย่างอัตโนมัติและให้ผลลัพธ์ออกมาตามต้องการ</span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"font-size: 9pt\" class=\"Apple-style-span\"> </span></span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\" lang=\"TH\">ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ รวมเรียกว่า ฮาร์ดแวร์ (</span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"font-size: 9pt\" class=\"Apple-style-span\">Hardware)</span></span></p>\n<p style=\"line-height: normal\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif; color: black\" lang=\"TH\">การทำงานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสำคัญ</span></b><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif; color: black\">5 <span lang=\"TH\">หน่วย</span></span></b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif; color: black\"> <span lang=\"TH\">คือ</span></span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma, sans-serif; color: black\"><o:p></o:p></span></p>\n<ul type=\"disc\">\n<li style=\"color: black; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\" lang=\"TH\">หน่วยรับข้อมูล (</span></b><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\">Input Unit)</span></b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"><o:p></o:p></span></li>\n<li style=\"color: black; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\" lang=\"TH\">หน่วยประมวลผลกลาง (</span></b><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\">Central Processing Unit : CPU)</span></b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"><o:p></o:p></span></li>\n<li style=\"color: black; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\" lang=\"TH\">หน่วยความจำหลัก (</span></b><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\">Main Memory)</span></b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"><o:p></o:p></span></li>\n<li style=\"color: black; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\" lang=\"TH\">หน่วยความจำสำรอง (</span></b><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\">Secondary Memory)</span></b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"><o:p></o:p></span></li>\n<li style=\"color: black; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\" lang=\"TH\">หน่วยแสดงผล (</span></b><b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif\">Output Unit)</span></b><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"><o:p></o:p></span></li>\n</ul>\n<p><span style=\"font-size: 9pt; line-height: 115%; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif; color: black\">         <span lang=\"TH\">กลไกการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่เกิดจากองค์ประกอบต่างๆ</span>  <span lang=\"TH\">เริ่มด้วยเมื่อมีการกดปุ่มเครื่องคอมพิวเตอร์</span>  <span lang=\"TH\">โปรแกรมหรือชุึดคำสั่งที่อยู่ในหน่วยความจำหลัก</span> <span lang=\"TH\">จะทำการตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆ ให้พร้อมที่จะทำงาน</span>  <span lang=\"TH\">เมื่อตรวจสอบเสร็จคอมพิวเตอร์จะแสดงให้เห็นว่าพร้อมที่จะทำงาน</span> <span lang=\"TH\">ก็จะมีการป้อนคำสั่งหรือโปรแกรมหรือข้อมูลโดยผ่านหน่วยรับข้อมูล</span> <span lang=\"TH\">แล้วนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก</span>  <span lang=\"TH\">ต่อจากนั้นหน่วยประมวลผลกลางก็จะทำการตามคำสั่งของโปรแกรมซึ่งเรียกว่า</span>  <span lang=\"TH\">การประมวลผล</span>  <span lang=\"TH\">แล้วนำผลลัพธ์ที่ได้เก็บไว้ที่หน่วยความจำ</span>  <span lang=\"TH\">และจะแสดงผลลัพธ์ผ่านหน่วยแสดงผลเมื่อมีคำสั่งให้แสดงผลลัพธ์</span></span></p>\n<p>  หน่วยที่ 3 <span style=\"line-height: 16px; font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'\" class=\"Apple-style-span\">ข้อมูลในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บในคอมพิวเตอร์สามารถส่งต่อ คัดลอก จัดพิมพ์ ทำสำเนาได้ง่าย เมื่อเทียบกับการคัดลอกด้วยมือซึ่งต้องใช้เวลามากและเสี่ยงต่อการทำข้อมูลผิดพลาดอีกด้วย วิธีการทางด้านการสื่อสารข้อมูล กำลังได้รับการนำมาประยุกต์ใช้ในระบบสำนักงานที่เรียกว่า ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (office automation) ระบบดังกล่าวนี้มักเรียกย่อกันสั้น ๆ ว่าโอเอ (OA) เป็นระบบที่ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำงานที่เกี่ยวกับเอกสารทั่วไป แล้วส่งไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ได้ด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อโอนย้ายแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้ระหว่างแผนก</span><span style=\"line-height: 16px; font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'\" class=\"Apple-style-span\">บทบาทที่สำคัญอีกบทบาทหนึ่ง คือ การให้บริการข้อมูล หลายประเทศจัดให้มีฐานข้อมูลไว้บริการ เช่น ฐานข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ฐานข้อมูลงานวิจัย ฐานข้อมูลทางเศษรกิจ ฐานข้อมูลของสินค้าเครื่องอุปโภคบริโภค ในมหาวิทยาลัยอาจมีข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือและตำราวิชาการ หากผู้ใช้ต้องการข้อมูลใดก็สามารถติดต่อมายังศูนย์บริการข้อมูลนั้น การติดต่อจะผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำให้การได้ข้อมูลเป็นไปอย่างรวดเร็ว</span></p>\n<p><span style=\"font-size: 13px; line-height: 16px; font-family: arial, helvetica, clean, sans-serif\" class=\"Apple-style-span\"><br />\n<p style=\"padding-top: 4px; padding-right: 12px; padding-bottom: 4px; padding-left: 8px; margin: 0px\"><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'; color: #ffffff\">aaaaa</span><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'\">ความสำคัญของการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จึงเป็นสิ่งที่ตระหนักกันอยู่เสมอ ลองพิจารณาถึงประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูลต่อไปนี้<br /></span><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'; color: #ffffff\">aaaaa</span><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'; color: #0000ff\"><b style=\"font-style: normal; font-weight: bold\">1) การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว</b></span><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'\"> การจัดเก็บข้อมูลซึ่งอยู่ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกที่มีความหนาแน่นสูง แผ่นบันทึกแผ่นหนึ่งสามารถบันทึกข้อมูลได้มากกว่า 1 ล้านตัวอักษร สำหรับการสื่อสารข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ด้วยอัตรา 120 ตัวอักษรต่อวินาทีแล้ว จะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยที่ไม่ต้องเสียเวลามานั่งป้อนข้อมูลเหล่านั้นซ้ำใหม่อีก <br /></span><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'; color: #ffffff\">aaaaa</span><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'; color: #0000ff\"><b style=\"font-style: normal; font-weight: bold\">2) ความถูกต้องของข้อมูล</b></span><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'\"> โดยปกติมีการส่งข้อมูลด้วยสัญญาณทางอิเล็กทรอนิกส์จากจุดหนึ่งไปยังจุดอื่นด้วยระบบดิจิทัล วิธีการรับส่งนั้นจะมีการตรวจสอบสภาพของข้อมูลหากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการรับรู้และพยายามหาวิธีการแก้ไขให้ข้อมูลที่ได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจให้ทำการส่งใหม่ หรือกรณีที่ผิดพลาดไม่มากนัก ฝ่ายผู้รับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องได้<br /></span><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'; color: #ffffff\">aaaaa</span><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'; color: #0000ff\"><b style=\"font-style: normal; font-weight: bold\">3) ความเร็วของการทำงาน</b></span><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'\"> โดยปกติสัญญาณของไฟฟ้าจะเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง ทำให้การใช้คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลจากซีกโลกหนึ่งไปยังอีกซีกโลกหนึ่งหรือค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถทำได้รวดเร็ว ความรวดเร็วของระบบจะทำให้ผู้ใช้สะดวกสบายอย่างยิ่ง เช่น บริษัทสายการบินทุกแห่งสามารถทราบข้อมูลของทุกเที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ว ทำให้การจองที่นั่งของสายการบินสามารถทำได้ทันที<br /></span><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'; color: #ffffff\">aaaaa</span><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'; color: #0000ff\"><b style=\"font-style: normal; font-weight: bold\">4) ต้นทุนประหยัด</b></span><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'\"> การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ต่อเข้าหากันเป็นเครือข่ายเพื่อส่งหรือสำเนาข้อมูลทำให้ราคาต้นทุนของการใช้ข้อมูลไม่แพง เมื่อเทียบกับการจัดส่งแบบวิธีอื่น นักคอมพิวเตอร์บางคนสามารถส่งโปรแกรมให้กันและกันผ่านทางสายโทรศัพท์ได้</span></p>\n<div><span style=\"font-size: xx-small; font-family: \'MS Sans Serif\', \'Microsoft Sans Serif\'\">หน่วยที่ 4 </span><span style=\"line-height: normal; font-size: 10px; font-family: Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif\" class=\"Apple-style-span\"> <span style=\"font-size: 12px; line-height: 19px; font-family: \'Helvetica Neue\', Helvetica, Arial, sans-serif; color: #b0b0b0\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"text-decoration: underline\"><span style=\"color: #ff0000\">คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ </span></span></span></span><span style=\"line-height: 19px; font-size: 12px; font-family: \'Helvetica Neue\', Helvetica, Arial, sans-serif\" class=\"Apple-style-span\">แบ่งออกได้เป็น 5 ประเภท คือ</span></div>\n<p></p></span><span style=\"font-size: 12px; line-height: 19px; font-family: \'Helvetica Neue\', Helvetica, Arial, sans-serif\" class=\"Apple-style-span\"><br />\n<p style=\"color: #b0b0b0\"><span style=\"color: #000000\">1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์</span>(super computer)เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วในการประมวลผลสูงสุดมีขนาดใหญ่และราคาแพงกว่าคอมพิวเตอร์ชนิดอี่นออกแบบมาเพื่อใช้แก่ปํญหาทางวิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมศาสตร์ เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นระยะเวลาหลายวัน เป็นต้น<br /><span style=\"color: #000000\">2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์</span><b style=\"color: #e4d3a6\"> </b>(mainframe computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะการทำงานสูง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้ได้หลายร้อยคน  คอมพิวเตอร์ชนิดนี้มักใช้ในองค์กรใหญ่ๆ เช่น ธนาคาร เป็นต้น<br /><span style=\"color: #000000\">3. มินิคอมพิวเตอร์</span> (minicomputer)<b style=\"color: #e4d3a6\">  </b>  เป็นคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับองค์กรขนาดกลางที่ใช้บริการแก่เครื่องลูกข่าย เช่น โรงแรม เป็นต้น<br /><span style=\"color: #000000\">4. ไมโครคอมพิวเตอร์</span> (microcomputer)มีประสิทธิภาพสูงราคาไม่แพงมีความนิยมสูงเหมาะสำหรับใช้ส่วนตัวที่บ้าน และยังได้รับความนิยมสูงสุดด้วย<br /><span style=\"color: #000000\">5.คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก</span> (handheld   computer)สามารถจัดการกับข้อมูลประจำวันได้  สร้างปฏิทิน   บันทึกเตือนความจำ  เล่นเกม  ชมภาพยนตร์  ฟังเพลง   และรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้   เป็นคอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น  พีอีเอ ไอโฟน เป็นต้น</p>\n<p style=\"color: #b0b0b0\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"text-decoration: underline\"><span style=\"color: #ff0000\">อุปกรณ์ต่อพ่วง </span></span></span><span style=\"color: #000000\">อุปกรณ์ต่อพ่วง</span> หมายถึง  อุปกรณ์ต่างๆที่สามารถต่อเข้ากับอุปกรณ์ของหน่วยประมวลผลกลางและประกอบเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้    <span style=\"color: #000080\" class=\"Apple-style-span\">อุปกรณ์ต่อพ่วงแต่ละชนิดมีคุณลักษณะที่สำคัญ ดังนี้</span></p>\n<p style=\"color: #b0b0b0\"><span style=\"color: #993366\">1.แผงพิมพ์อักขระ<br /></span>เป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลจากการกดแป้นจากนั้นก็เปลี่ยนรหัสแล้วส่งไปยังประมวลผลกลาง  แป้นพิมพ์โดยทั่วไปมี  50  แป้นขึ้นไปแบ่งเป็นแป้นตัวเลขและแป้นอักขระ</p>\n<p style=\"color: #b0b0b0\"><span style=\"color: #993366\">2.เมาส์ <br /></span>เป็นอุปกรณ์ประเภทตัวชี้ที่ได้รับข้อมูลจากการกดปุ่มข้างบนเมาส์ ทำหน้าที่คลิกปุ่มคำสั่งที่ต้องการ  แบ่งเป็น 2 ประเภท<br />2.1  เมาส์ทางกล<br />2.2  เมาส์แบบใช้แสง</p>\n<p style=\"color: #b0b0b0\"><span style=\"color: #993366\">3.อุปกรณ์ชี้ตำแหน่งสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค</span>     <br />เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่สามารถติดกับตัวโน๊ตบุ๊ค สะดวกในการพกพา  ซึ่งมี 3ประเภท<br />3.1ลูกกลมควบคุม<br />3.2แท่งชี้ควบคุม<br />3.3แผ่นรองสัมผัส</p>\n<p style=\"color: #b0b0b0\"><span style=\"color: #993366\">4.ก้านควบคุม <br /></span>เป็นอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนที่ของตัวชี้บนหน้าจอ มีลักษณะเป็นก้านโผล่ออกมาจากกล่อง</p>\n<p style=\"color: #b0b0b0\"><span style=\"color: #993366\">5.จอสัมผัส  <br /></span>เป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลจากการสัมผัสโดยเมื่อมีการเลือกตำแหน่งที่ถูกเลือกจะแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปยังซอฟต์แวร์ที่แปลคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน</p>\n<p style=\"color: #b0b0b0\"><span style=\"color: #993366\">6.อุปกรณ์รับเข้าแบบกราดตรวจ</span>  ที่นิยมใช้มีอยู่ 3ประเภท<br />6.1 เครื่องอ่านรหัสแท่ง อุปกรณ์รับเข้าที่ทำงานโดยหลักการของการสะท้อนแสง  เครื่องจะส่องลำเสียงไปยังรหัสบนสินค้าจากนั้นจะเปลี่ยนรหัสเป็นสัญญาณไฟฟ้าผ่านสายที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์<br /><span style=\"color: #333333\">6.2<b style=\"color: #e4d3a6\"> </b>เครื่องกราดตรวจหรือสแกนเนอร์ </span>เป็นอุปกรณ์รับเข้าประเภทรูปภาพและข้อความที่อยู่บนสิ่งพิมพ์โดยใช้หลักสะท้อนแสง  ข้อมูลจะถูกแปลงในแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและเก็บไว้ในหน่วยความจำ<br /><span style=\"color: #333333\">6.2กล้องดิจิทัล </span>ทำงานเหมือนกล้องถ่ายรูปทั่วไปแต่ไม่ต้องมีฟิล์มและมีคอมแพ็กแฟลช</p>\n<p style=\"color: #b0b0b0\"><span style=\"color: #993366\">7.เว็บแคม <br /></span>เป็นอุปกรณ์รับเข้าประเภทกล้องวีดีโอที่สามารถบันทึกภาพเคลื่อนไหวผ่านเว็บไซค์แล้วปรากฎบนหน้าจอได้</p>\n<p style=\"color: #b0b0b0\"><span style=\"color: #993366\">8.จอภาพ</span> มี2 ชนิด<br />1.จอภาพแบบซีอาร์ที มีลักษณะเหมือนจอโทรทัศน์  ทำงานโดยเทคโนโลยีหลอดรังสีอิเล็กตรอน  โดยยิงอิเล็กตรอนไปยังผิวด้านในจอเมื่อลำแสงวิ่งมาชนจะเกิดแสงสว่างขึ้น<br />2.จอภาพแบบแอลซีดี   ทำงานโดยอาศัยการเบี่ยงเบนแสงตามการควบคุมทิศทางของโพราไลเซชั่นของวัตถุที่กั้นระหว่างแหล่งกำเนิดแสงและแผ่นเคลือบสารเรืองแสง  ป้องแรงดันเข้าไปยังแผ่นเพลตเมื่อได้รับแรงดันไฟฟ้า  มีผลให้แสดงจากแหล่งกำเนิดสามารถผ่านทะลุกระทบกับสารเรืองแสงจนเกิดแสงสีที่ต้องการ</p>\n<p style=\"color: #b0b0b0\"><span style=\"color: #993366\">9. ลำโพง<br /></span>เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผลเป็นเสียงโดยใช้งานคู่กับการด์เสียงซึ่งเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นอะนาล็อกแล้วส่งไปยังลำโพง</p>\n<p style=\"color: #b0b0b0\"><span style=\"color: #993366\">10.หูฟัง<br /></span>เป็นอุปกรณ์ส่งออกใช้ฟังเพลงจากคอมพิวเตอร์  ทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณจากไฟฟ้าเป็นเสียง  มีทั้งชนิดไร้สายและมีสาย บางรุ่นก็จะมีไมโครโฟนสำหรับสนทนาผ่านอินเตอร์เน็ตอีกด้วย         </p>\n<p style=\"color: #b0b0b0\"><span style=\"color: #993366\">11.  เครื่องพิมพ์  <br /></span>เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่แสดงผลงานพิมพ์ลงบนกระดาษ แบบเครื่องพิมพ์<br />11.1เครื่องพิมพ์แบบจุด<br />11.2เครื่องพิมพ์เลเซอร์<br />11.3เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึก<br />11.4พล็อตเคอร์</p>\n<p style=\"color: #b0b0b0\"><span style=\"color: #993366\">12.  โมเด็ม<br /></span>   เป็นการแปลงสัญญาณเพื่อให้ติดต่อกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้โดยเชื่อมต่อคอมเข้ากับคู่สายของโทรศัพท์   แล้วโมเด็มก็จะแปลงจากสัญญาณดิจิทัลให้เป็นสัญญาณอะนาล็อก</p>\n<p></p></span>\n</p><p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><span style=\"font-size: 9pt; line-height: 115%; font-family: \'Microsoft Sans Serif\', sans-serif; color: black\"><span lang=\"TH\"></span></span></p>\n', created = 1719612473, expire = 1719698873, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4aa3f3f903481f49d7fe1e122b5791b8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เทคโนโลยีสารสนเทศ ง31101 น.ส. น้ำตาล เหมปราการ ม.4/4 เลขที่ 39 คุณครู เดือนฉาย หนูแสนดี

หน่วยที่1 องค์ประกอบสาระสนเทศ1.ฮาร์ตแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานตามชุดคำสั่งได้และให้ผลลัพธ์ตามต้องการ2.ซอฟท์แวร์ หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นจากภาษาคอมพิวเตอร์ ให้เครื่องทำงานได้ตามต้องการในแต่ละงาน แบ่งตามลักษณะตามต้องการทำงาน3.ขั้นตอนการปฏิบัติงานจากความหมายจะเห็นว่า คอมพิวเตอร์ ขั้นตอนการทำงาน 3 ขั้นตอน คือ3.1 รับโปมแรมข้อมูล 3.2 ประมวลผล3.3 แสดงผลลัพธ์4.ข้อมูล (Data) คือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคลสิ่งของ สถานที่ หรือเหตุการณ์ใดๆ ที่สนใจศึกษาข้อมูล แบ่งออกได้ดั้งนี้1รหัส (code) 2 บีท(Bit) 3. ไบท์(Bye) 4. ตัวอักขระ(character) 5. คำ(Word) 6. เขต(Field) 7. ระเบียน(record) 8.ไพล์(File)5.บุคลากร เป็นผู้เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ที่จะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามระบบได้

 หน่วยที่ 2 หลักทำงานของคอมพิวเตอร์คือ  อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  ที่ทำงานตามชุดคำสั่งอย่างอัตโนมัติและให้ผลลัพธ์ออกมาตามต้องการ ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ รวมเรียกว่า ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

การทำงานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสำคัญ5 หน่วย คือ

  • หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
  • หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)
  • หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
  • หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory)
  • หน่วยแสดงผล (Output Unit)

         กลไกการทำงานของคอมพิวเตอร์ที่เกิดจากองค์ประกอบต่างๆ  เริ่มด้วยเมื่อมีการกดปุ่มเครื่องคอมพิวเตอร์  โปรแกรมหรือชุึดคำสั่งที่อยู่ในหน่วยความจำหลัก จะทำการตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆ ให้พร้อมที่จะทำงาน  เมื่อตรวจสอบเสร็จคอมพิวเตอร์จะแสดงให้เห็นว่าพร้อมที่จะทำงาน ก็จะมีการป้อนคำสั่งหรือโปรแกรมหรือข้อมูลโดยผ่านหน่วยรับข้อมูล แล้วนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก  ต่อจากนั้นหน่วยประมวลผลกลางก็จะทำการตามคำสั่งของโปรแกรมซึ่งเรียกว่า  การประมวลผล  แล้วนำผลลัพธ์ที่ได้เก็บไว้ที่หน่วยความจำ  และจะแสดงผลลัพธ์ผ่านหน่วยแสดงผลเมื่อมีคำสั่งให้แสดงผลลัพธ์

  หน่วยที่ 3 ข้อมูลในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บในคอมพิวเตอร์สามารถส่งต่อ คัดลอก จัดพิมพ์ ทำสำเนาได้ง่าย เมื่อเทียบกับการคัดลอกด้วยมือซึ่งต้องใช้เวลามากและเสี่ยงต่อการทำข้อมูลผิดพลาดอีกด้วย วิธีการทางด้านการสื่อสารข้อมูล กำลังได้รับการนำมาประยุกต์ใช้ในระบบสำนักงานที่เรียกว่า ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (office automation) ระบบดังกล่าวนี้มักเรียกย่อกันสั้น ๆ ว่าโอเอ (OA) เป็นระบบที่ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำงานที่เกี่ยวกับเอกสารทั่วไป แล้วส่งไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ได้ด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อโอนย้ายแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้ระหว่างแผนกบทบาทที่สำคัญอีกบทบาทหนึ่ง คือ การให้บริการข้อมูล หลายประเทศจัดให้มีฐานข้อมูลไว้บริการ เช่น ฐานข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ฐานข้อมูลงานวิจัย ฐานข้อมูลทางเศษรกิจ ฐานข้อมูลของสินค้าเครื่องอุปโภคบริโภค ในมหาวิทยาลัยอาจมีข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือและตำราวิชาการ หากผู้ใช้ต้องการข้อมูลใดก็สามารถติดต่อมายังศูนย์บริการข้อมูลนั้น การติดต่อจะผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำให้การได้ข้อมูลเป็นไปอย่างรวดเร็ว


aaaaaความสำคัญของการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จึงเป็นสิ่งที่ตระหนักกันอยู่เสมอ ลองพิจารณาถึงประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูลต่อไปนี้
aaaaa1) การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว การจัดเก็บข้อมูลซึ่งอยู่ในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกที่มีความหนาแน่นสูง แผ่นบันทึกแผ่นหนึ่งสามารถบันทึกข้อมูลได้มากกว่า 1 ล้านตัวอักษร สำหรับการสื่อสารข้อมูลนั้น ถ้าข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ด้วยอัตรา 120 ตัวอักษรต่อวินาทีแล้ว จะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยที่ไม่ต้องเสียเวลามานั่งป้อนข้อมูลเหล่านั้นซ้ำใหม่อีก 
aaaaa2) ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติมีการส่งข้อมูลด้วยสัญญาณทางอิเล็กทรอนิกส์จากจุดหนึ่งไปยังจุดอื่นด้วยระบบดิจิทัล วิธีการรับส่งนั้นจะมีการตรวจสอบสภาพของข้อมูลหากข้อมูลผิดพลาดก็จะมีการรับรู้และพยายามหาวิธีการแก้ไขให้ข้อมูลที่ได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจให้ทำการส่งใหม่ หรือกรณีที่ผิดพลาดไม่มากนัก ฝ่ายผู้รับอาจใช้โปรแกรมของตนแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องได้
aaaaa3) ความเร็วของการทำงาน โดยปกติสัญญาณของไฟฟ้าจะเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง ทำให้การใช้คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลจากซีกโลกหนึ่งไปยังอีกซีกโลกหนึ่งหรือค้นหาข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถทำได้รวดเร็ว ความรวดเร็วของระบบจะทำให้ผู้ใช้สะดวกสบายอย่างยิ่ง เช่น บริษัทสายการบินทุกแห่งสามารถทราบข้อมูลของทุกเที่ยวบินได้อย่างรวดเร็ว ทำให้การจองที่นั่งของสายการบินสามารถทำได้ทันที
aaaaa4) ต้นทุนประหยัด การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ต่อเข้าหากันเป็นเครือข่ายเพื่อส่งหรือสำเนาข้อมูลทำให้ราคาต้นทุนของการใช้ข้อมูลไม่แพง เมื่อเทียบกับการจัดส่งแบบวิธีอื่น นักคอมพิวเตอร์บางคนสามารถส่งโปรแกรมให้กันและกันผ่านทางสายโทรศัพท์ได้

หน่วยที่ 4  คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ แบ่งออกได้เป็น 5 ประเภท คือ


1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์(super computer)เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วในการประมวลผลสูงสุดมีขนาดใหญ่และราคาแพงกว่าคอมพิวเตอร์ชนิดอี่นออกแบบมาเพื่อใช้แก่ปํญหาทางวิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมศาสตร์ เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นระยะเวลาหลายวัน เป็นต้น
2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะการทำงานสูง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้ได้หลายร้อยคน  คอมพิวเตอร์ชนิดนี้มักใช้ในองค์กรใหญ่ๆ เช่น ธนาคาร เป็นต้น
3. มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)    เป็นคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับองค์กรขนาดกลางที่ใช้บริการแก่เครื่องลูกข่าย เช่น โรงแรม เป็นต้น
4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer)มีประสิทธิภาพสูงราคาไม่แพงมีความนิยมสูงเหมาะสำหรับใช้ส่วนตัวที่บ้าน และยังได้รับความนิยมสูงสุดด้วย
5.คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก (handheld   computer)สามารถจัดการกับข้อมูลประจำวันได้  สร้างปฏิทิน   บันทึกเตือนความจำ  เล่นเกม  ชมภาพยนตร์  ฟังเพลง   และรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้   เป็นคอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น  พีอีเอ ไอโฟน เป็นต้น

อุปกรณ์ต่อพ่วง อุปกรณ์ต่อพ่วง หมายถึง  อุปกรณ์ต่างๆที่สามารถต่อเข้ากับอุปกรณ์ของหน่วยประมวลผลกลางและประกอบเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้    อุปกรณ์ต่อพ่วงแต่ละชนิดมีคุณลักษณะที่สำคัญ ดังนี้

1.แผงพิมพ์อักขระ
เป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลจากการกดแป้นจากนั้นก็เปลี่ยนรหัสแล้วส่งไปยังประมวลผลกลาง  แป้นพิมพ์โดยทั่วไปมี  50  แป้นขึ้นไปแบ่งเป็นแป้นตัวเลขและแป้นอักขระ

2.เมาส์ 
เป็นอุปกรณ์ประเภทตัวชี้ที่ได้รับข้อมูลจากการกดปุ่มข้างบนเมาส์ ทำหน้าที่คลิกปุ่มคำสั่งที่ต้องการ  แบ่งเป็น 2 ประเภท
2.1  เมาส์ทางกล
2.2  เมาส์แบบใช้แสง

3.อุปกรณ์ชี้ตำแหน่งสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค     
เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่สามารถติดกับตัวโน๊ตบุ๊ค สะดวกในการพกพา  ซึ่งมี 3ประเภท
3.1ลูกกลมควบคุม
3.2แท่งชี้ควบคุม
3.3แผ่นรองสัมผัส

4.ก้านควบคุม 
เป็นอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนที่ของตัวชี้บนหน้าจอ มีลักษณะเป็นก้านโผล่ออกมาจากกล่อง

5.จอสัมผัส  
เป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลจากการสัมผัสโดยเมื่อมีการเลือกตำแหน่งที่ถูกเลือกจะแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปยังซอฟต์แวร์ที่แปลคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน

6.อุปกรณ์รับเข้าแบบกราดตรวจ  ที่นิยมใช้มีอยู่ 3ประเภท
6.1 เครื่องอ่านรหัสแท่ง อุปกรณ์รับเข้าที่ทำงานโดยหลักการของการสะท้อนแสง  เครื่องจะส่องลำเสียงไปยังรหัสบนสินค้าจากนั้นจะเปลี่ยนรหัสเป็นสัญญาณไฟฟ้าผ่านสายที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์
6.2 เครื่องกราดตรวจหรือสแกนเนอร์ เป็นอุปกรณ์รับเข้าประเภทรูปภาพและข้อความที่อยู่บนสิ่งพิมพ์โดยใช้หลักสะท้อนแสง  ข้อมูลจะถูกแปลงในแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและเก็บไว้ในหน่วยความจำ
6.2กล้องดิจิทัล ทำงานเหมือนกล้องถ่ายรูปทั่วไปแต่ไม่ต้องมีฟิล์มและมีคอมแพ็กแฟลช

7.เว็บแคม 
เป็นอุปกรณ์รับเข้าประเภทกล้องวีดีโอที่สามารถบันทึกภาพเคลื่อนไหวผ่านเว็บไซค์แล้วปรากฎบนหน้าจอได้

8.จอภาพ มี2 ชนิด
1.จอภาพแบบซีอาร์ที มีลักษณะเหมือนจอโทรทัศน์  ทำงานโดยเทคโนโลยีหลอดรังสีอิเล็กตรอน  โดยยิงอิเล็กตรอนไปยังผิวด้านในจอเมื่อลำแสงวิ่งมาชนจะเกิดแสงสว่างขึ้น
2.จอภาพแบบแอลซีดี   ทำงานโดยอาศัยการเบี่ยงเบนแสงตามการควบคุมทิศทางของโพราไลเซชั่นของวัตถุที่กั้นระหว่างแหล่งกำเนิดแสงและแผ่นเคลือบสารเรืองแสง  ป้องแรงดันเข้าไปยังแผ่นเพลตเมื่อได้รับแรงดันไฟฟ้า  มีผลให้แสดงจากแหล่งกำเนิดสามารถผ่านทะลุกระทบกับสารเรืองแสงจนเกิดแสงสีที่ต้องการ

9. ลำโพง
เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผลเป็นเสียงโดยใช้งานคู่กับการด์เสียงซึ่งเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นอะนาล็อกแล้วส่งไปยังลำโพง

10.หูฟัง
เป็นอุปกรณ์ส่งออกใช้ฟังเพลงจากคอมพิวเตอร์  ทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณจากไฟฟ้าเป็นเสียง  มีทั้งชนิดไร้สายและมีสาย บางรุ่นก็จะมีไมโครโฟนสำหรับสนทนาผ่านอินเตอร์เน็ตอีกด้วย         

11.  เครื่องพิมพ์  
เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่แสดงผลงานพิมพ์ลงบนกระดาษ แบบเครื่องพิมพ์
11.1เครื่องพิมพ์แบบจุด
11.2เครื่องพิมพ์เลเซอร์
11.3เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึก
11.4พล็อตเคอร์

12.  โมเด็ม
   เป็นการแปลงสัญญาณเพื่อให้ติดต่อกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้โดยเชื่อมต่อคอมเข้ากับคู่สายของโทรศัพท์   แล้วโมเด็มก็จะแปลงจากสัญญาณดิจิทัลให้เป็นสัญญาณอะนาล็อก

 

 

 

 

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 173 คน กำลังออนไลน์