• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ed1203d9c34322084ed7bda9d47d54da' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ต้องขอบคุณน้องอ้น ประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) กริ๊งกร๊างชวนให้ไปคุยกับ “หม่อน” และ “พีช” นักเรียนแลกเปลี่ยน IAESTE รุ่นที่แล้ว และผู้ช่วยศาสตราจารย์ทองดี ชีวพฤกษ์ เลขาธิการ IAESTE Thailand <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ข้อมูลที่ได้มา รับรองว่าจะทำให้ผู้อ่านรู้จัก IAESTE มากขึ้น และข่าวล่าสุดที่เพิ่งรู้มาว่า น้องอ้นคนขยันได้ทุนนี้ด้วยเช่นกัน โดยได้รับทุนรุ่นล่าสุดประจำปี 2551 เตรียมบินไปเก็บเกี่ยวประสบการณ์ที่โปรตุเกส กลับมาเมื่อไหร่คงได้คุยกันอีกครั้ง จะสนุกสนานหรือได้ความรู้มากน้อยแค่ไหน ต้องอดใจรอ!!<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รู้จัก IAESTE<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; IAESTE ก่อตั้งขึ้นที่ Imperial College กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร เมื่อปี 1948 เป็นความร่วมมือระหว่าง 10 ประเทศในยุโรป มีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนนักศึกษาฝึกงานด้านเทคนิค <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในประเทศไทยโครงการนี้เกิดขึ้นในยุคของศาสตราจารย์ ดร.พงศ์ศักดิ์ วรสุนทโรสถ อธิการบดีคนแรกของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.ในปัจจุบัน) มอบหมายให้ศาสตราจารย์บุญญศักดิ์ ใจจงกิจ เป็นผู้รับผิดชอบการก่อตั้ง IAESTE&nbsp; Thailand เมื่อปี 1978 (พ.ศ.2521) โดยใช้ชื่อ “โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษานานาชาติเพื่อการฝึกงานด้านเทคนิค” เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาที่มีอายุ 18-30 ปี กำลังศึกษาอยู่ในระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน ชั้นปี 3 ถึงปริญญาเอก ได้เรียนรู้การปฏิบัติงานจริงในสถานศึกษาและสถานประกอบการต่างประเทศ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เดือนกันยายน 2547 IAESTE จดทะเบียนใหม่ที่ Luxemburg ใช้ชื่อว่า The International Association for the Exchange of Students for Technical Experience, Association sans-but-lucratif (non-profit-making association) หรือ IAESTE A.s.b.l. <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำนักงาน IAESTE A.s.b.l. แต่ละประเทศทั่วโลกมีหน้าที่จัดหาสถานที่ฝึกงานด้านเทคนิคในสาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ เกษตรกรรม และสาขาวิชาอื่น ๆ โดยสนับสนุนเงินค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าที่พักแก่นักศึกษาต่างชาติระหว่างฝึก งาน ซึ่งเรียกว่า “ทุนฝึกงาน (Offer)” <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; คุณสมบัติของนักศึกษาต่าง ชาติ ระยะเวลาการฝึกงาน ตลอดจนสาขาวิชาชีพ ถูกกำหนดโดยนายจ้าง ส่วนเลขาธิการ IAESTE แต่ละประเทศจะเป็นตัวแทนรับผิดชอบนำจำนวนทุนฝึกงานที่ได้รับการสนับสนุนใน แต่ละปี แลกเปลี่ยนนักศึกษากับประเทศสมาชิกในอัตราส่วน 1 ต่อ 1 หมายถึง นักศึกษาภายในประเทศที่เดินทางไปฝึกงานต่างประเทศ 1 คน (Outgoing Student) ต่อนักศึกษาต่างชาติที่เดินทางเข้ามาฝึกงานในประเทศ 1 คน (Imcoming Student) <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับระยะเวลาการฝึกงานในแต่ละรุ่นอย่างน้อย 8 สัปดาห์ ในช่วงเดือนเมษายนถึงธันวาคมของทุกปี <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประเทศสมาชิก<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; FULL MEMBERS<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.Argentina (1961)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.Armenia (1998)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.Australia (1996)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.Austria (1949)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5.Belgium (1948, Founding Member)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 6.Brazil (1982)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 7.Canada (1953)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 8.Columbia (1995)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 9.Croatia (1993)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 10.Cyprus (1980)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 11.Czech Republic (1965)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 12.Denmark (1948, Founding Member)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 13.Egypt (1961)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 14.Estonia (1993)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 15.F.Y.R. Macedonia (1994)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 16.Finland (1948, Founding Member)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 17.France (1948, Founding Member)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 18.Germany (1950)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 19.Ghana (1970)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 20.Greece (1958)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 21.Hungary (1983)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 22.Iceland (1951)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 23.Ireland (1962)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 24.Israel (1951)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 25.Japan (1964)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 26.Jordan (1978)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 27.Kazakhstan (1995)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 28.Lebanon (1966)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 29.Lithuania (1990)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 30.Luxembourg (1961)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 31.Malta (1984)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 32.Mexico (1985)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 33.Netherlands (1948, Founding Member)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 34.Norway (1948, Founding Member)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 35.Pakistan (1990)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 36.Poland (1959)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 37.Portugal (1954)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 38.Russia (1991)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 39.Serbia and Montenegro (1952)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 40.Slovakia (1965)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 41.Slovenia (1993)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 42.South Africa (1956)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 43.Spain (1951)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 44.Sweden (1948, Founding Member)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 45.Switzerland (1948, Founding Member)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 46.Syria (1965)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 47.Tajikistan (1992)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 48.Thailand (1978)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 49.Tunisia (1959)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 50.Turkey (1955)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 51.Ukraine (1994)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 52.United Kingdom (1948, Founding Member)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 53.Uruguay (1988)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 54.U.S.A. (1950)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Associate Members<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.Bosnia and Herzegovina (2000)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.Ecuador (1999)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.Mongolia (2001)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.Oman (2001)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5.Romania (1998)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 6.Sierra Leone (1991)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 7.Uzbekistan (1997)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Co-Operating Institutions<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.Azerbaijan : DAAD Alumni of Azerbaijan (1999)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.Bangladesh : Cyber College of Bangladesh (2003)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.Belarus (2000) : Belarussian State University BSU (2000)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.Belarus (2000) : Belarussian National Technical University (2000)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5.Belarus : Grodno State University (2001)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 6.Botswana : University of Botswana (2002)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 7.China : Council for Practical Training and Exchange-CAST (2000)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 8.Georgia : Georgian Association of Youth International Co-Operation (2001)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 9.Georgia : Association for Farmers Rights Defense (2002)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 10.Georgia : NGO “Prometheus-Amirani” (2003)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 11.Guinea : University of Conakry (2004)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 12.Hong Kong : The Hong Kong Polytechnic University (1997)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 13.India : Karunya Institute of Technology (2001)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 14.India : Management Development Institute of Gurgaon (2003)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 15.Indonesia : Organisasi Sosial Konsultasi Studi Jabotabek (2001)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 16.Iran : University of Tehran (2002)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 17.Iran : Sharif University of Technology (2003)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 18.Iraq : Danish Chamber of Commerce in Iraq (2004)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 19.Italy : Associazione Laureati Facoltà di Ingegnena Ancona (2001)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 20.Italy : Politecnico di Milano (2001)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 21.Kenya : Jomo Kenyatta University of Agriculture and Technology (2004)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 22.Kyrgyzstan : Kyzyl-Kiva Institute of Technology Economy and Law (2000)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 23.Kyrgyzstan : Kyrgyz Technical University (2001)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 24.Latvia : Rigas Tehniskas Universitates (2002)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 25.Liechtenstein : Liechtenstein University of Applied Science (2003)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 26.Macao : University of Macau (2004)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 27.New Zealand : Institute of Technology (2001)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 28.Nigeria : University of Lagos (2002)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 29.Peru : Universidad de Piura (2001)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 30.Sri Lanka : University of Moratuwa (2000)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 31.Tanzania : Tanzania Education Fellowship (2002)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 32.United Arab Emirates : University of Sharjah (2000)<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สาขาวิชาที่แลกเปลี่ยนระหว่างประเทศสมาชิก IAESTE A.s.b.l.<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วิศวกรรมการบินและอากาศยาน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วิศวกรรมเคมี<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วิศวกรรมโยธา<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วิศวกรรมคอมพิวเตอร์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -เทคโนโลยีการเพาะปลูก<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วิศวกรรมไฟฟ้า<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -อิเล็กทรอนิกส์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -เทคโนโลยีการอาหาร<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -คณิตศาสตร์ประยุกต์ว่าด้วยเรื่องการวัดรูปทรงและพื้นที่ของแผ่นดิน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วิศวกรรมอุตสาหการ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วิศวกรรมเครื่องกล<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -สาขาวิชาผสมโลหะ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -เหมืองแร่<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วิศวกรรมการต่อเรือ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ปิโตรเคมี<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วิศวกรรมกำลัง<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วิศวกรรมกระบวนการ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วิศวกรรมการผลิต<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วิศวกรรมระบบ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -โทรคมนาคม<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -เทคโนโลยีสารสนเทศ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -เทคโนโลยีสิ่งทอ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วิศวกรรมการจราจร<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ช่างเครื่องจักรกลและงานไม้<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ศิลปศาสตร์ประยุกต์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -สถาปัตยกรรม<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -การจัดรูปแบบและการพิมพ์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เกษตรกรรม<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -เกษตรกรรม<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -เทคโนโลยีการหมัก<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์นม<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วนศาสตร์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -พืชสวน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; วิทยาศาสตร์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ชีวเคมี<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -เภสัชศาสตร์ชีวภาพ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ชีววิทยา<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -เคมี<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ธรณีวิทยา<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ธรณีฟิสิกส์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -วัสดุศาสตร์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -คณิตศาสตร์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -จุลชีววิทยา<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -เภสัชศาสตร์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ฟิสิกส์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -สัตวศาสตร์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สาขาวิชาอื่น ๆ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -พาณิชยกรรมศาสตร์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -เศรษฐศาสตร์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -การโรงแรมและการจัดการ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ภาษาศาสตร์<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; คุณสมบัติผู้สมัคร<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -มีสถานภาพเป็นนักศึกษาในวันที่สมัครสอบ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -กำลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 3 ขึ้นไป ทุกสถาบัน เกรดเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.00<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -กำลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาโท เอก ทุกสถาบัน เกรดเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้ดี หรือภาษาต่างประเทศอื่น ๆ <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -อายุ 18-30 ปี<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -แต่งกายสุภาพ เรียบร้อย และมีความประพฤติดีในวันสมัครสอบ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หลักฐานการสมัคร<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ใบสมัคร ดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ <a href=\"http://www.iaeste-thailand.org\" title=\"http://www.iaeste-thailand.org\">http://www.iaeste-thailand.org</a><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว หรือ 2 นิ้ว จำนวน 3 ใบ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ค่าสมัคร 450 บาท<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ค่าหนังสือคู่มือนักศึกษา 100 บาท<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -สำเนาบัตรประจำตัวนักศึกษา (นำตัวจริงมาแสดงในวันสมัครด้วย)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -หนังสือรับรองการเป็นนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเป็นภาษาอังกฤษ (ตัวจริง) ต้องออกไม่เกิน 30 วันนับจากวันที่สมัคร<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ใบแสดงผลการศึกษาเป็นภาษาอังกฤษ (ตัวจริง) ต้องออกไม่เกิน 30 วัน นับจากวันที่สมัคร<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สถานที่สมัคร<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นักศึกษาจากสถาน ศึกษาในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ต้องสมัครสอบด้วยตนเอง&nbsp; จันทร์-ศุกร์ เวลา 08.30-16.30 น. และวันเสาร์ 09.00-16.00 น. (พักเที่ยง 12.00-13.00 น.) ที่สำนักงาน IAESTE Thailand ห้อง 1003 ชั้น 10 อาคารอเนกประสงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เลขที่ 1518 ถนนพิบูลสงคราม เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 โทร.0-2913-2500-24 ต่อ 1025, 1193, 1194 <a href=\"http://www.iaeste-thailand.org\" title=\"http://www.iaeste-thailand.org\">http://www.iaeste-thailand.org</a> (รถประจำทางที่ผ่าน 32, 33, 64, 90, 97, 117, 203, ปอ.6, ปอ.23, ปอ.49)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับนักศึกษาต่างจังหวัด ติดต่อสอบถามและสมัครได้ที่สถานศึกษาของตน ที่ฝ่ายผู้รับผิดชอบดำเนินการแทน IAESTE Thailand <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค่าใช้จ่าย<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ค่าสมัครสอบ 450 บาท และค่าหนังสือคู่มือนักศึกษา 100 บาท<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ค่าธรรมเนียม 3,500 บาท (ชำระในวันรับทุนฝึกงาน)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ค่าประกันทุน 3,500 บาท (ชำระในวันรับทุนฝึกงาน)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ค่าประกันชีวิตและสุขภาพ 1,200-1,300 บาท (ขึ้นอยู่กับระยะเวลาฝึกงาน)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ค่าใช้จ่ายในการเดินทางระหว่างประเทศ อาทิ ค่าธรรมเนียมวีซ่า ค่าตั๋วเครื่องบิน <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; *ข้อมูล ณ ปี 2551<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; วิธีการคัดเลือก<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -สอบวิชาภาษาอังกฤษข้อเขียน (Written English Test) เดือนตุลาคม<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -สอบสัมภาษณ์ทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Spoken English Test) เดือนพฤศจิกายน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -สอบสัมภาษณ์วิชาชีพเฉพาะทางตามสาขาวิชาเอกของนักศึกษา (Interview Test of Specific Fields) เดือนพฤศจิกายน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -ประกาศผลสอบคัดเลือกเดือนธันวาคม<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จำนวนทุนที่แลกเปลี่ยนปี 2551<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ปี 2551 นักศึกษาไทยมีโอกาสเดินทางไปฝึกงานในสาขาต่าง ๆ จำนวน 83 คน ที่ Spain, Brazil, Korea, Romania, Switzerland, Norway, Germany, Mongolia, Turkey, Columbia, Serbia, Iran, Egypt, China, Denmark, Hong Kong, Portugal, U.K., U.S.A., Greece, Japan, Belgium, Hungary, Finland, Kazakhstan, Tajikistan, Macedonia, Bosnia and Herzegovina, India, Poland, Vietnam, Iceland<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผู้ ช่วยศาสตราจารย์ทองดี ชีวพฤกษ์ เลขาธิการ IAESTE Thailand แสดงความกังวลกับทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาที่รับทุนฝึกงาน IAESTE แนวทางที่ดำเนินการคือ สร้างความมั่นใจก่อนเดินทาง ด้วยการเรียนภาษาอังกฤษเพิ่มเติม และยังอดเสียดายไม่ได้ที่จำนวนทุนในโครงการมีมาก แต่มีนักศึกษาสนใจสมัครน้อยเกินไป แม้จะมีความพยายามในการประชาสัมพันธ์โครงการดังกล่าว แต่ข้อจำกัดเรื่องงบประมาณ กลายเป็นอุปสรรค จึงมีความคาดหวังจากผู้ได้รับทุนในรุ่นพี่ ๆ ที่จะร่วมเป็นแรงสำคัญ ทำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในเชิงเผยแพร่ข้อมูล และช่วยกันสร้างเครือข่ายสถานประกอบการที่ต้องการสนับสนุนทุนฝึกงานนักศึกษา ต่างชาติ&nbsp; ตามกรอบของโครงการที่กำหนดจำนวนทุนแลกเปลี่ยนระหว่างนักศึกษาภายในประเทศที่ เดินทางไปฝึกงานต่างประเทศ 1 คน ต่อนักศึกษาต่างชาติที่เดินทางเข้ามาฝึกงานในประเทศ 1 คน&nbsp; <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อาจารย์ทองดี ทำงานเหน็ดเหนื่อยด้วยใจรักจน IAESTE Thailand เป็นที่ยอมรับระดับโลก โดยได้รับกำลังใจจากผู้ปกครอง และเชื่อว่าองค์กรเล็ก ๆ แห่งนี้ มีคุณค่าในการให้โอกาสเด็ก สร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้น แม้จะมาจากต่างสถาบัน ซึ่งจะเป็นการดีหากได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; “IAESTE Thailand มีกระบวนการคัดเลือกคนที่ดี เราพิจารณาเด็กได้เป็นรายบุคคล สอบกับผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในหรือภายนอก และ Native Speaker ชี้วัดความรู้ความสามารถด้าน Technical Knowledge และสอบวัดภาษาอังกฤษในระดับที่พึงพอใจ นอกจากเป็นคนดี ต้องสอนให้คิดเป็น&nbsp; มีความคิดสร้างสรรค์ รู้จักการแก้ปัญหา มีจิตใต้สำนึกว่าไปในฐานะตัวแทนระหว่างประเทศ&nbsp; นอกจากความรู้ความสามารถที่ใช้งาน ต้องบำเพ็ญประโยชน์ให้กับสังคม”<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ปัจจุบัน IAESTE มีประเทศสมาชิกเกือบ 100 ประเทศ ไทยอยู่ในกลุ่ม Full Members 54 ประเทศ มีสิทธิ์ออกเสียงได้อย่างเต็มที่ (Associate Members-ประเทศสมาชิกในกลุ่มทดลองแลกเปลี่ยนนักศึกษา)&nbsp; ในช่วงที่อาจารย์ทองดีเข้ามารับตำแหน่งเลขาธิการ IAESTE Thailand จนถึงวันนี้มีนักศึกษาแลกเปลี่ยนในโครงการประมาณ 1,000 คน&nbsp; <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; น้อง ๆ ส่วนใหญ่อาจสนใจประเทศใหญ่ น่าเที่ยว อย่าง U.S.A., U.K., Switzerland, Germany แต่มีอีกหลายประเทศที่น่าสนใจ พร้อมเปิดรับนักศึกษาไทยไปฝึกงาน เช่น Serbia and Montenegro, Iran, Mongolia, India, Latvia<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ใครมีเพื่อน ๆ ที่มีความสามารถ อย่าเก็บความสามารถไว้คนเดียว <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อาจารย์ทองดีมีความคิด ที่จะรวมตัวอดีตนักศึกษา IAESTE ร่วมกันทำประโยชน์ สร้างความดี เป็นทุนให้กับรุ่นน้องที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อให้มีโอกาสไปเปิดตาเปิดโลกที่ไม่ได้หากันง่าย ๆ <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รู้ข่าวนี้รีบยกมืออาสาร่วมด้วยช่วยด่วน!<br /> <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หม่อน-พีช<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; โลดแล่นเยอรมนี-นอร์เวย์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หม่อน-พีช ไปไกลถึงยุโรป ไปอย่างคนมีไฟหรือเปล่าไม่รู้ รู้แต่ว่าเป็นคนรุ่นใหม่ที่เห็นประโยชน์จากการเข้าร่วมโครงการนี้ และใช้ความพยายามพอสมควรกว่าจะผ่านการคัดเลือกและได้เดินทางไปฝึกงานใน ประเทศที่ตั้งใจเลือก<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ใครเป็นใคร<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พิสัย คลังกูล (หม่อน) จบคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ฝึกงานตอนปี 4 ที่ Department of Computer Science, Otto-von-Guericke Universitat Magdeburg, Magdeburg Germany<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สุธาสินี มีทอง (พีช) ปี 4 คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์<br /> ฝึกงานตอนปี 3 ที่ Department of Earth Science, University of Bergen, Norway<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พีช : อาจารย์เคยพูดถึงโครงการนี้ว่าเป็นโครงการดี ถ้ามีความรู้ภาษาอังกฤษจะมีโอกาสมากกว่าคนอื่น พอขึ้นปี 3 มีคุณสมบัติสมัครได้ ก็สมัครตามขั้นตอน หลังสอบเสร็จ โอกาสเลือกประเทศเป็นไปตามลำดับคะแนนที่สอบ พีชได้อันดับ 4 ในสาขา Computer Science ในรุ่นพีชมีคนไปนอร์เวย์ 2 คน อีกคนเรียนอยู่ที่มหิดลอินเตอร์ พีชไปประมาณปลายเดือนสิงหาคม และเริ่มทำงานต้นเดือนกันยายน รวม 8 สัปดาห์<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หม่อน : ตอนเรียนปี 2-3 มีพี่สาวที่รู้จักกัน เป็นลูกสาวของเพื่อนคุณแม่ สนิทกันมาก ให้คำแนะนำว่าเคยไปโครงการนี้เมื่อ 5-6 ปีที่ผ่านมา ในสาขาเคมี ซึ่งเป็นโครงการที่ดี ให้โอกาสฝึกงานด้านเทคนิคที่ต่างประเทศ ผมได้อันดับ 6 วิศวะคอมพ์ ใช้เวลาฝึกงาน 3 เดือน <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; คัดยากไหม<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พีช : ภาษาอังกฤษก่อนไปก็ได้ระดับหนึ่ง แต่ยังไม่มีโอกาสไปเมืองนอก ถ้าได้ทุนนี้คงจะดี<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หม่อน : สมัครครั้งแรกตอนปี 3 ไม่ผ่าน เพราะไม่ยอมเขียนเรียงความ ไปดูน้ำหนักคะแนน เรียงความคะแนนน้อย เลือกทำข้อสอบ choice ดีกว่า ทั้งที่จริงแล้วเรียงความสำคัญมาก แม้มีน้ำหนักคะแนนน้อย แต่สะท้อนบุคลิกของเรา ครั้งที่สองลองใหม่ตอนปี 4&nbsp; แบ่งเวลาทำข้อสอบในส่วนไวยากรณ์ สนทนา เรียงความ ในหัวข้อเปรียบเทียบหอพักในและนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งคำตอบที่เขียนต้องแสดงจุดยืนของผู้เขียน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พีช :&nbsp; การเขียนเรียงความเป็นการแสดงความคิดเห็นของเราออกมา จากข้อเขียนสู่การสัมภาษณ์ภาษาอังกฤษกับอาจารย์ต่างชาติ และอาจารย์ทองดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทองดี ชีวพฤกษ์ เลขาธิการ IAESTE Thailand) ถามว่าเรียนอะไรมาบ้าง สามารถทำอะไรให้เขาได้บ้าง<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การปรับตัว<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พีช :&nbsp; ไปนอร์เวย์เป็นครั้งแรกด้วย ภาษาอังกฤษได้ในระดับหนึ่ง แต่ไม่รู้ว่าพอไปพูดจริง ๆ เขาจะฟังเข้าใจไหม ไปถึงวันแรกมีเจ้าหน้าที่ IAESTE มารับ วันรุ่งขึ้นเริ่มรู้จักเพื่อนชาติอื่น และเริ่มสำรวจเมืองคนเดียว ในวันทำงานวันแรกเจ้าหน้าที่ส่งต่อให้อาจารย์คอมพ์เลย <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หม่อน : เมืองเงียบมาก ผมไปล่วงหน้าก่อนเริ่มงาน 4-5 วัน พักอยู่ที่ Hostel ใช้เวลาทำความรู้จักสถานที่ซื้อตั๋วรถไฟ ห้องสมุด มีเจ้าหน้าที่ IAESTE เยอรมนี พาไปทำความรู้จัก ในเรื่องงาน กลัวงานวิชาการไม่แน่นพอที่จะช่วยเขา สำคัญคือภาษา คนอายุมากหน่อยไม่พูดภาษาอังกฤษ แต่ระบบการศึกษาแนวใหม่ เด็กรุ่นใหม่ต้องเรียนภาษาอังกฤษ ก็ไม่มีปัญหาอะไร <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พีช :&nbsp; คนนอร์เวย์ ส่วนใหญ่พูดภาษาอังกฤษ แม้ไม่ใช่ภาษาแม่ แต่ทุกคนเรียนมาตั้งแต่เด็ก ส่วนเรื่องงาน ก็คิดว่าเราเป็นแค่นักศึกษามหาวิทยาลัย จะทำงานให้เขาตามที่ต้องการได้หรือไม่ เพราะไม่รู้มาตรฐานมหาวิทยาลัยต่างประเทศ หรือสิ่งที่โปรเฟสเซอร์ต้องการให้ทำ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; งานหลักทำอะไรกันบ้าง<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พีช :&nbsp; ไปอยู่ Department of Earth Science โปรเฟสเซอร์เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหว เขาไม่ค่อยอยู่ แต่มอบหมายให้นักศึกษาอีกคนคอยดูแล เขาจะกำหนดมาว่าต้องการรูปแบบอย่างไร เราต้องเขียนคำสั่งโปรแกรมนั้นออกมา พื้นฐานความรู้ที่มีอยู่เพียงพอในระดับหนึ่ง เพราะรับผิดชอบคนเดียว ถ้าสงสัยปรึกษานักศึกษาที่ได้รับมอบหมายจากโปรเฟสเซอร์ได้ <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หม่อน : ฝึกงานภาควิชาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ แบ่งเป็นแผนกย่อย 4-5 แผนก ภารกิจที่รับผิดชอบเป็นการวิเคราะห์เอกสาร มุ่งพัฒนาโปรแกรม พันธกิจที่วางไว้ มองล่วงหน้าไปไกลมาก คือวิเคราะห์สื่อให้ได้ทุกรูปแบบทั้งอีเมล์ ไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง แต่ที่ทำอยู่คือวิเคราะห์เอกสาร เช่น เอกสารเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพ <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รายได้ตอนฝึกงาน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หม่อน : ทำงานวันละ 8 ชั่วโมง 5 วันต่อสัปดาห์ มีรายได้ 615-630 ยูโรต่อเดือน (ตอนไปยูโรละ 48 บาท)<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พีช :&nbsp; เรตที่ได้เป็นเรตนักศึกษาฝึกงาน รายได้ประมาณ 7,000 โครนต่อเดือน (โครนละ 6 บาท)<br /> ชื่นชมอะไรเป็นพิเศษ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พีช :&nbsp; นอร์เวย์เป็นประเทศที่ไม่คิดค่าหน่วยกิต สำหรับคนที่จะไปเรียนต่อปริญญาโท ทำวิจัย หรือดอกเตอร์ เป็นโอกาสที่ดีมาก คุณภาพชีวิตมีมาตรฐานค่อนข้างสูง ไม่ว่าด้านภาษา เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตประชาชนดี อาชญากรรมจากสถิติน้อยมาก ยกตัวอย่างตัวพีชเอง ทำพาสปอร์ตหล่นบนรถเมล์ ลองโทร.ไปสถานีตำรวจไม่เจอ ดึกแล้วก็โทร.ไปหาสถานทูต แจ้งให้มาทำเอกสารวันรุ่งขึ้น เพื่อกลับไปประเทศ (กำลังจะเดินทางกลับ) พอดีเปิดไปเว็บไซต์รถเมล์ มีแผนก lost &amp; found แล้วก็ได้พาสปอร์ตคืน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หม่อน : งานวิชาการเยอรมนีมีมาตรฐานสูง ยากที่จะตามให้ทัน เขามีระเบียบมาก ตรงเวลา เราอาจมองว่าจุกจิก แต่การที่เขามีระเบียบ&nbsp; ทำให้มีประสิทธิภาพสูง ทำงานเร็ว เราได้เรียนรู้ตรงนี้ ก่อนไปฝึกงาน ชอบหนีปัญหา พอไปบ่นไม่อยากทำแล้ว หัวหน้างานที่เป็นนักศึกษาปริญญาเอก รับหน้าที่ดูแลนักศึกษาฝึกงานจากโปรเฟสเซอร์ คอยให้กำลังใจตลอด สู้หรือเปล่า ไม่รู้อะไรมาถามกันก่อน เพราะเขารู้ว่าพื้นฐานแต่ละคนมาไม่เท่ากัน ได้กำลังใจตรงนี้มากขึ้น เปลี่ยนจากคนหนีปัญหา ค่อย ๆ ดู ติดอะไรก็ถาม เขาบอกว่ากว่าเขามาถึงตรงนี้ ทำมาเป็นปี ๆ ยังมีอุปสรรค เรามาแค่ไม่กี่เดือน ควรเปิดรับในสิ่งที่สอนดีกว่า ได้ข้อคิดตรงนี้ ทำให้เปลี่ยนการมองโลกว่าไม่ได้แย่เสมอไป<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พีช :&nbsp; มีคนถามเหมือนกันว่าภาควิชาแผ่นดินไหวที่เรียน นอร์เวย์มีแผ่นดินไหวด้วยหรือ พอคุยกับโปรเฟสเซอร์ เขาบอกว่าการจะศึกษาอะไร ไม่จำเป็นต้องเกิดขึ้นที่นั่น แต่เป็นการศึกษาทั่วโลก เพราะมีผลกระทบหมด ก็น่าสนใจ และตอนเลือกทุนสาขานี้เพราะสนใจ เนื่องจากตอนนั้นไทยเกิดแผ่นดินไหวด้วย <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หม่อน : การศึกษาในประเทศเยอรมนีเข้าถึงง่าย ฟรี เปลืองงบประมาณอาจใช่ แต่เขาได้ประโยชน์ในการพัฒนาคนทีหลัง เห็นได้ชัดในระยะยาวต่อไป คนหนุ่มสาวที่นั่นรักการศึกษามาก ๆ ศึกษาด้านที่ตัวเองสนใจลึกขึ้น โดยไม่รู้สึกว่าเป็นหน้าที่ แต่เป็นสิ่งที่เขารัก เหมือนหัวหน้างานที่ผมไปอยู่ด้วย ทำไมทำเรื่องเดิม ๆ เป็นปี ๆ เพราะเป็นสิ่งที่เขารัก ถ้าประเทศไทยปรับการศึกษาให้ถูกลง เข้าถึงง่าย น่าเอาเป็นตัวอย่าง อีกเรื่องคือความเป็นมืออาชีพ นอกห้องเรียน เล่น หยอกล้อ เข้าห้องหลุดเป็นอีกคน ตั้งใจเรียนได้ขนาดนี้ ไม่แปลกใจเลยว่าทำไมถึงเก่ง เป็นความเอาจริงเอาจัง ไม่ใช่แค่ในห้องเรียน กลับมาบ้านทำงานต่อ ก็เต็มที่<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พีช :&nbsp; ถ้าเราให้ความสำคัญกับการศึกษา จะส่งผลให้คนพัฒนา งานวิจัยมีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับ <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ได้เที่ยว+ช็อปปิ้งกันบ้างไหม<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หม่อน : ไปเที่ยวเมืองใกล้ ๆ&nbsp; ประทับใจตรงที่เป็นเมืองโบราณ และงานสถาปัตยกรรมสวยงาม<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พีช :&nbsp; มีเพื่อนทั้งชาวอเมริกัน ไนจีเรีย เบลเยียม โปรตุเกส มอลตา แคนาดา วันเสาร์อาทิตย์จะไปเที่ยวกันเอง ที่นั่นดังเรื่องปีนเขา นั่งเรือ มีโอกาสแบ็กแพ็ก มีตติ้งกับกลุ่ม IAESTE ทุกอาทิตย์ ที่นอร์เวย์ขายแซนด์วิชเยอะ ราคาถูกกว่ากินข้าวนอกบ้าน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หม่อน : ตอนไปบ้านของเพื่อนชาวเยอรมัน กินไส้กรอก มันบด ผักดอง อร่อยดี ประทับใจตรงที่เจอความเป็นเขา กินอยู่อย่างนี้ อร่อยทุกอย่าง กินไม่เบื่อ และประทับใจความอบอุ่นของครอบครัว ของที่นั่นแพงทุกอย่าง พยายามมองหาของฝากที่หาซื้อในเมืองไทยไม่ได้ เช่น ช็อกโกแลตแปลก ๆ หรือแอลกอฮอล์หมักพิเศษ <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พีช :&nbsp; ซื้อปลาแซลมอนกลับเมืองไทย ที่นั่นดังมาก เสียค่าปลาไปประมาณ 105 โครน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แนะรุ่นน้องเรื่องการเตรียมตัว<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พีช :&nbsp; ไม่ต้องเอาเสื้อผ้าไปเยอะ เช็กอากาศเป็นยังไง ถ้าเอาของกินไปจะช่วยประหยัดได้เยอะ พ่อให้บัตรเครดิตการ์ด แต่ไปถึงที่นั่นใช้ไม่ได้ ไปแรก ๆ ไม่มีอารมณ์ใช้เงิน เพราะแพงไปหมด <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; หม่อน : ไม่เอาของกินไปเลย กินและใช้ชีวิตตามที่เขาอยู่ แพ็กกระเป๋าเท่าที่จำเป็น ถามลักษณะอากาศ และเช็กการใช้งานเครื่องใช้บางประเภท เช่น ปลั๊กไฟ ส่วนการโอนเงินไม่สะดวกเท่ากับเปิดบัญชีที่นี่ แล้วไปกดเงินจากบัตรวีซ่าที่นั่น เสียค่าธรรมเนียมแค่ 100 บาทต่อครั้ง <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความประทับใจของคุณแม่ “หม่อน”<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; คุณแม่สมคิด คลังกูล เป็นคุณแม่ที่ประทับใจ IAESTE และเตรียมตัวให้หม่อนตั้งแต่อยู่ปี 2 เห็นความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ “หม่อน” สู้ขึ้น คุ้มกับที่ไป <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; “ไม่ต้องซื้อกลับมาฝากแม่ เอาเงินกลับมาดีกว่า” คุณแม่ช่วยปิดท้ายเมื่อถูกถามว่า หม่อนซื้ออะไรมาฝาก เงินที่ได้กลับมาเท่าไหร่ แต่ขออุบไว้ ถ้าอยากรู้ต้องลองไปสมัครโครงการนี้<br /> <br /> ข้อมูลจาก นิตยสารการศึกษาวันนี้ ฉบับ 384 โดย ป.วรัตม์ <a href=\"mailto:watta.ryo@gmail.com\">watta.ryo@gmail.com</a></p>\n', created = 1714201623, expire = 1714288023, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ed1203d9c34322084ed7bda9d47d54da' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ทุน IAESTE ฝึกงาน 2-3 เดือนในต่างแดน

ต้องขอบคุณน้องอ้น ประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) กริ๊งกร๊างชวนให้ไปคุยกับ “หม่อน” และ “พีช” นักเรียนแลกเปลี่ยน IAESTE รุ่นที่แล้ว และผู้ช่วยศาสตราจารย์ทองดี ชีวพฤกษ์ เลขาธิการ IAESTE Thailand
          ข้อมูลที่ได้มา รับรองว่าจะทำให้ผู้อ่านรู้จัก IAESTE มากขึ้น และข่าวล่าสุดที่เพิ่งรู้มาว่า น้องอ้นคนขยันได้ทุนนี้ด้วยเช่นกัน โดยได้รับทุนรุ่นล่าสุดประจำปี 2551 เตรียมบินไปเก็บเกี่ยวประสบการณ์ที่โปรตุเกส กลับมาเมื่อไหร่คงได้คุยกันอีกครั้ง จะสนุกสนานหรือได้ความรู้มากน้อยแค่ไหน ต้องอดใจรอ!!

          รู้จัก IAESTE
          IAESTE ก่อตั้งขึ้นที่ Imperial College กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร เมื่อปี 1948 เป็นความร่วมมือระหว่าง 10 ประเทศในยุโรป มีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนนักศึกษาฝึกงานด้านเทคนิค
          ในประเทศไทยโครงการนี้เกิดขึ้นในยุคของศาสตราจารย์ ดร.พงศ์ศักดิ์ วรสุนทโรสถ อธิการบดีคนแรกของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.ในปัจจุบัน) มอบหมายให้ศาสตราจารย์บุญญศักดิ์ ใจจงกิจ เป็นผู้รับผิดชอบการก่อตั้ง IAESTE  Thailand เมื่อปี 1978 (พ.ศ.2521) โดยใช้ชื่อ “โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษานานาชาติเพื่อการฝึกงานด้านเทคนิค” เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาที่มีอายุ 18-30 ปี กำลังศึกษาอยู่ในระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน ชั้นปี 3 ถึงปริญญาเอก ได้เรียนรู้การปฏิบัติงานจริงในสถานศึกษาและสถานประกอบการต่างประเทศ
          เดือนกันยายน 2547 IAESTE จดทะเบียนใหม่ที่ Luxemburg ใช้ชื่อว่า The International Association for the Exchange of Students for Technical Experience, Association sans-but-lucratif (non-profit-making association) หรือ IAESTE A.s.b.l.
          สำนักงาน IAESTE A.s.b.l. แต่ละประเทศทั่วโลกมีหน้าที่จัดหาสถานที่ฝึกงานด้านเทคนิคในสาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ เกษตรกรรม และสาขาวิชาอื่น ๆ โดยสนับสนุนเงินค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าที่พักแก่นักศึกษาต่างชาติระหว่างฝึก งาน ซึ่งเรียกว่า “ทุนฝึกงาน (Offer)”
          คุณสมบัติของนักศึกษาต่าง ชาติ ระยะเวลาการฝึกงาน ตลอดจนสาขาวิชาชีพ ถูกกำหนดโดยนายจ้าง ส่วนเลขาธิการ IAESTE แต่ละประเทศจะเป็นตัวแทนรับผิดชอบนำจำนวนทุนฝึกงานที่ได้รับการสนับสนุนใน แต่ละปี แลกเปลี่ยนนักศึกษากับประเทศสมาชิกในอัตราส่วน 1 ต่อ 1 หมายถึง นักศึกษาภายในประเทศที่เดินทางไปฝึกงานต่างประเทศ 1 คน (Outgoing Student) ต่อนักศึกษาต่างชาติที่เดินทางเข้ามาฝึกงานในประเทศ 1 คน (Imcoming Student)
          สำหรับระยะเวลาการฝึกงานในแต่ละรุ่นอย่างน้อย 8 สัปดาห์ ในช่วงเดือนเมษายนถึงธันวาคมของทุกปี
          ประเทศสมาชิก
          FULL MEMBERS
          1.Argentina (1961)
          2.Armenia (1998)
          3.Australia (1996)
          4.Austria (1949)
          5.Belgium (1948, Founding Member)
          6.Brazil (1982)
          7.Canada (1953)
          8.Columbia (1995)
          9.Croatia (1993)
          10.Cyprus (1980)
          11.Czech Republic (1965)
          12.Denmark (1948, Founding Member)
          13.Egypt (1961)
          14.Estonia (1993)
          15.F.Y.R. Macedonia (1994)
          16.Finland (1948, Founding Member)
          17.France (1948, Founding Member)
          18.Germany (1950)
          19.Ghana (1970)
          20.Greece (1958)
          21.Hungary (1983)
          22.Iceland (1951)
          23.Ireland (1962)
          24.Israel (1951)
          25.Japan (1964)
          26.Jordan (1978)
          27.Kazakhstan (1995)
          28.Lebanon (1966)
          29.Lithuania (1990)
          30.Luxembourg (1961)
          31.Malta (1984)
          32.Mexico (1985)
          33.Netherlands (1948, Founding Member)
          34.Norway (1948, Founding Member)
          35.Pakistan (1990)
          36.Poland (1959)
          37.Portugal (1954)
          38.Russia (1991)
          39.Serbia and Montenegro (1952)
          40.Slovakia (1965)
          41.Slovenia (1993)
          42.South Africa (1956)
          43.Spain (1951)
          44.Sweden (1948, Founding Member)
          45.Switzerland (1948, Founding Member)
          46.Syria (1965)
          47.Tajikistan (1992)
          48.Thailand (1978)
          49.Tunisia (1959)
          50.Turkey (1955)
          51.Ukraine (1994)
          52.United Kingdom (1948, Founding Member)
          53.Uruguay (1988)
          54.U.S.A. (1950)
          Associate Members
          1.Bosnia and Herzegovina (2000)
          2.Ecuador (1999)
          3.Mongolia (2001)
          4.Oman (2001)
          5.Romania (1998)
          6.Sierra Leone (1991)
          7.Uzbekistan (1997)
          Co-Operating Institutions
          1.Azerbaijan : DAAD Alumni of Azerbaijan (1999)
          2.Bangladesh : Cyber College of Bangladesh (2003)
          3.Belarus (2000) : Belarussian State University BSU (2000)
          4.Belarus (2000) : Belarussian National Technical University (2000)
          5.Belarus : Grodno State University (2001)
          6.Botswana : University of Botswana (2002)
          7.China : Council for Practical Training and Exchange-CAST (2000)
          8.Georgia : Georgian Association of Youth International Co-Operation (2001)
          9.Georgia : Association for Farmers Rights Defense (2002)
          10.Georgia : NGO “Prometheus-Amirani” (2003)
          11.Guinea : University of Conakry (2004)
          12.Hong Kong : The Hong Kong Polytechnic University (1997)
          13.India : Karunya Institute of Technology (2001)
          14.India : Management Development Institute of Gurgaon (2003)
          15.Indonesia : Organisasi Sosial Konsultasi Studi Jabotabek (2001)
          16.Iran : University of Tehran (2002)
          17.Iran : Sharif University of Technology (2003)
          18.Iraq : Danish Chamber of Commerce in Iraq (2004)
          19.Italy : Associazione Laureati Facoltà di Ingegnena Ancona (2001)
          20.Italy : Politecnico di Milano (2001)
          21.Kenya : Jomo Kenyatta University of Agriculture and Technology (2004)
          22.Kyrgyzstan : Kyzyl-Kiva Institute of Technology Economy and Law (2000)
          23.Kyrgyzstan : Kyrgyz Technical University (2001)
          24.Latvia : Rigas Tehniskas Universitates (2002)
          25.Liechtenstein : Liechtenstein University of Applied Science (2003)
          26.Macao : University of Macau (2004)
          27.New Zealand : Institute of Technology (2001)
          28.Nigeria : University of Lagos (2002)
          29.Peru : Universidad de Piura (2001)
          30.Sri Lanka : University of Moratuwa (2000)
          31.Tanzania : Tanzania Education Fellowship (2002)
          32.United Arab Emirates : University of Sharjah (2000)

          สาขาวิชาที่แลกเปลี่ยนระหว่างประเทศสมาชิก IAESTE A.s.b.l.
          วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
          -วิศวกรรมการบินและอากาศยาน
          -วิศวกรรมเคมี
          -วิศวกรรมโยธา
          -วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
          -เทคโนโลยีการเพาะปลูก
          -วิศวกรรมไฟฟ้า
          -อิเล็กทรอนิกส์
          -เทคโนโลยีการอาหาร
          -คณิตศาสตร์ประยุกต์ว่าด้วยเรื่องการวัดรูปทรงและพื้นที่ของแผ่นดิน
          -วิศวกรรมอุตสาหการ
          -วิศวกรรมเครื่องกล
          -สาขาวิชาผสมโลหะ
          -เหมืองแร่
          -วิศวกรรมการต่อเรือ
          -ปิโตรเคมี
          -วิศวกรรมกำลัง
          -วิศวกรรมกระบวนการ
          -วิศวกรรมการผลิต
          -วิศวกรรมระบบ
          -โทรคมนาคม
          -เทคโนโลยีสารสนเทศ
          -วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
          -เทคโนโลยีสิ่งทอ
          -วิศวกรรมการจราจร
          -ช่างเครื่องจักรกลและงานไม้
          ศิลปศาสตร์ประยุกต์
          -สถาปัตยกรรม
          -การจัดรูปแบบและการพิมพ์
          เกษตรกรรม
          -เกษตรกรรม
          -เทคโนโลยีการหมัก
          -เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์นม
          -วนศาสตร์
          -พืชสวน
          วิทยาศาสตร์
          -ชีวเคมี
          -เภสัชศาสตร์ชีวภาพ
          -ชีววิทยา
          -เคมี
          -ธรณีวิทยา
          -ธรณีฟิสิกส์
          -วัสดุศาสตร์
          -คณิตศาสตร์
          -จุลชีววิทยา
          -เภสัชศาสตร์
          -ฟิสิกส์
          -สัตวศาสตร์
          สาขาวิชาอื่น ๆ
          -พาณิชยกรรมศาสตร์
          -เศรษฐศาสตร์
          -การโรงแรมและการจัดการ
          -ภาษาศาสตร์

          คุณสมบัติผู้สมัคร
          -มีสถานภาพเป็นนักศึกษาในวันที่สมัครสอบ
          -กำลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 3 ขึ้นไป ทุกสถาบัน เกรดเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.00
          -กำลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาโท เอก ทุกสถาบัน เกรดเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00
          -สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้ดี หรือภาษาต่างประเทศอื่น ๆ
          -อายุ 18-30 ปี
          -แต่งกายสุภาพ เรียบร้อย และมีความประพฤติดีในวันสมัครสอบ
          หลักฐานการสมัคร
          -ใบสมัคร ดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ http://www.iaeste-thailand.org
          -รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว หรือ 2 นิ้ว จำนวน 3 ใบ
          -ค่าสมัคร 450 บาท
          -ค่าหนังสือคู่มือนักศึกษา 100 บาท
          -สำเนาบัตรประจำตัวนักศึกษา (นำตัวจริงมาแสดงในวันสมัครด้วย)
          -หนังสือรับรองการเป็นนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเป็นภาษาอังกฤษ (ตัวจริง) ต้องออกไม่เกิน 30 วันนับจากวันที่สมัคร
          -ใบแสดงผลการศึกษาเป็นภาษาอังกฤษ (ตัวจริง) ต้องออกไม่เกิน 30 วัน นับจากวันที่สมัคร
          สถานที่สมัคร
          นักศึกษาจากสถาน ศึกษาในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ต้องสมัครสอบด้วยตนเอง  จันทร์-ศุกร์ เวลา 08.30-16.30 น. และวันเสาร์ 09.00-16.00 น. (พักเที่ยง 12.00-13.00 น.) ที่สำนักงาน IAESTE Thailand ห้อง 1003 ชั้น 10 อาคารอเนกประสงค์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เลขที่ 1518 ถนนพิบูลสงคราม เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 โทร.0-2913-2500-24 ต่อ 1025, 1193, 1194 http://www.iaeste-thailand.org (รถประจำทางที่ผ่าน 32, 33, 64, 90, 97, 117, 203, ปอ.6, ปอ.23, ปอ.49)
          สำหรับนักศึกษาต่างจังหวัด ติดต่อสอบถามและสมัครได้ที่สถานศึกษาของตน ที่ฝ่ายผู้รับผิดชอบดำเนินการแทน IAESTE Thailand
          ค่าใช้จ่าย
          -ค่าสมัครสอบ 450 บาท และค่าหนังสือคู่มือนักศึกษา 100 บาท
          -ค่าธรรมเนียม 3,500 บาท (ชำระในวันรับทุนฝึกงาน)
          -ค่าประกันทุน 3,500 บาท (ชำระในวันรับทุนฝึกงาน)
          -ค่าประกันชีวิตและสุขภาพ 1,200-1,300 บาท (ขึ้นอยู่กับระยะเวลาฝึกงาน)
          -ค่าใช้จ่ายในการเดินทางระหว่างประเทศ อาทิ ค่าธรรมเนียมวีซ่า ค่าตั๋วเครื่องบิน
          *ข้อมูล ณ ปี 2551

          วิธีการคัดเลือก
          -สอบวิชาภาษาอังกฤษข้อเขียน (Written English Test) เดือนตุลาคม
          -สอบสัมภาษณ์ทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Spoken English Test) เดือนพฤศจิกายน
          -สอบสัมภาษณ์วิชาชีพเฉพาะทางตามสาขาวิชาเอกของนักศึกษา (Interview Test of Specific Fields) เดือนพฤศจิกายน
          -ประกาศผลสอบคัดเลือกเดือนธันวาคม

          จำนวนทุนที่แลกเปลี่ยนปี 2551
          ปี 2551 นักศึกษาไทยมีโอกาสเดินทางไปฝึกงานในสาขาต่าง ๆ จำนวน 83 คน ที่ Spain, Brazil, Korea, Romania, Switzerland, Norway, Germany, Mongolia, Turkey, Columbia, Serbia, Iran, Egypt, China, Denmark, Hong Kong, Portugal, U.K., U.S.A., Greece, Japan, Belgium, Hungary, Finland, Kazakhstan, Tajikistan, Macedonia, Bosnia and Herzegovina, India, Poland, Vietnam, Iceland

          ผู้ ช่วยศาสตราจารย์ทองดี ชีวพฤกษ์ เลขาธิการ IAESTE Thailand แสดงความกังวลกับทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาที่รับทุนฝึกงาน IAESTE แนวทางที่ดำเนินการคือ สร้างความมั่นใจก่อนเดินทาง ด้วยการเรียนภาษาอังกฤษเพิ่มเติม และยังอดเสียดายไม่ได้ที่จำนวนทุนในโครงการมีมาก แต่มีนักศึกษาสนใจสมัครน้อยเกินไป แม้จะมีความพยายามในการประชาสัมพันธ์โครงการดังกล่าว แต่ข้อจำกัดเรื่องงบประมาณ กลายเป็นอุปสรรค จึงมีความคาดหวังจากผู้ได้รับทุนในรุ่นพี่ ๆ ที่จะร่วมเป็นแรงสำคัญ ทำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในเชิงเผยแพร่ข้อมูล และช่วยกันสร้างเครือข่ายสถานประกอบการที่ต้องการสนับสนุนทุนฝึกงานนักศึกษา ต่างชาติ  ตามกรอบของโครงการที่กำหนดจำนวนทุนแลกเปลี่ยนระหว่างนักศึกษาภายในประเทศที่ เดินทางไปฝึกงานต่างประเทศ 1 คน ต่อนักศึกษาต่างชาติที่เดินทางเข้ามาฝึกงานในประเทศ 1 คน 
          อาจารย์ทองดี ทำงานเหน็ดเหนื่อยด้วยใจรักจน IAESTE Thailand เป็นที่ยอมรับระดับโลก โดยได้รับกำลังใจจากผู้ปกครอง และเชื่อว่าองค์กรเล็ก ๆ แห่งนี้ มีคุณค่าในการให้โอกาสเด็ก สร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้น แม้จะมาจากต่างสถาบัน ซึ่งจะเป็นการดีหากได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
          “IAESTE Thailand มีกระบวนการคัดเลือกคนที่ดี เราพิจารณาเด็กได้เป็นรายบุคคล สอบกับผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในหรือภายนอก และ Native Speaker ชี้วัดความรู้ความสามารถด้าน Technical Knowledge และสอบวัดภาษาอังกฤษในระดับที่พึงพอใจ นอกจากเป็นคนดี ต้องสอนให้คิดเป็น  มีความคิดสร้างสรรค์ รู้จักการแก้ปัญหา มีจิตใต้สำนึกว่าไปในฐานะตัวแทนระหว่างประเทศ  นอกจากความรู้ความสามารถที่ใช้งาน ต้องบำเพ็ญประโยชน์ให้กับสังคม”
          ปัจจุบัน IAESTE มีประเทศสมาชิกเกือบ 100 ประเทศ ไทยอยู่ในกลุ่ม Full Members 54 ประเทศ มีสิทธิ์ออกเสียงได้อย่างเต็มที่ (Associate Members-ประเทศสมาชิกในกลุ่มทดลองแลกเปลี่ยนนักศึกษา)  ในช่วงที่อาจารย์ทองดีเข้ามารับตำแหน่งเลขาธิการ IAESTE Thailand จนถึงวันนี้มีนักศึกษาแลกเปลี่ยนในโครงการประมาณ 1,000 คน 
          น้อง ๆ ส่วนใหญ่อาจสนใจประเทศใหญ่ น่าเที่ยว อย่าง U.S.A., U.K., Switzerland, Germany แต่มีอีกหลายประเทศที่น่าสนใจ พร้อมเปิดรับนักศึกษาไทยไปฝึกงาน เช่น Serbia and Montenegro, Iran, Mongolia, India, Latvia
          ใครมีเพื่อน ๆ ที่มีความสามารถ อย่าเก็บความสามารถไว้คนเดียว
          อาจารย์ทองดีมีความคิด ที่จะรวมตัวอดีตนักศึกษา IAESTE ร่วมกันทำประโยชน์ สร้างความดี เป็นทุนให้กับรุ่นน้องที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อให้มีโอกาสไปเปิดตาเปิดโลกที่ไม่ได้หากันง่าย ๆ
          รู้ข่าวนี้รีบยกมืออาสาร่วมด้วยช่วยด่วน!

          หม่อน-พีช
          โลดแล่นเยอรมนี-นอร์เวย์
          หม่อน-พีช ไปไกลถึงยุโรป ไปอย่างคนมีไฟหรือเปล่าไม่รู้ รู้แต่ว่าเป็นคนรุ่นใหม่ที่เห็นประโยชน์จากการเข้าร่วมโครงการนี้ และใช้ความพยายามพอสมควรกว่าจะผ่านการคัดเลือกและได้เดินทางไปฝึกงานใน ประเทศที่ตั้งใจเลือก
          ใครเป็นใคร
          พิสัย คลังกูล (หม่อน) จบคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ฝึกงานตอนปี 4 ที่ Department of Computer Science, Otto-von-Guericke Universitat Magdeburg, Magdeburg Germany
          สุธาสินี มีทอง (พีช) ปี 4 คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์
ฝึกงานตอนปี 3 ที่ Department of Earth Science, University of Bergen, Norway
          พีช : อาจารย์เคยพูดถึงโครงการนี้ว่าเป็นโครงการดี ถ้ามีความรู้ภาษาอังกฤษจะมีโอกาสมากกว่าคนอื่น พอขึ้นปี 3 มีคุณสมบัติสมัครได้ ก็สมัครตามขั้นตอน หลังสอบเสร็จ โอกาสเลือกประเทศเป็นไปตามลำดับคะแนนที่สอบ พีชได้อันดับ 4 ในสาขา Computer Science ในรุ่นพีชมีคนไปนอร์เวย์ 2 คน อีกคนเรียนอยู่ที่มหิดลอินเตอร์ พีชไปประมาณปลายเดือนสิงหาคม และเริ่มทำงานต้นเดือนกันยายน รวม 8 สัปดาห์
          หม่อน : ตอนเรียนปี 2-3 มีพี่สาวที่รู้จักกัน เป็นลูกสาวของเพื่อนคุณแม่ สนิทกันมาก ให้คำแนะนำว่าเคยไปโครงการนี้เมื่อ 5-6 ปีที่ผ่านมา ในสาขาเคมี ซึ่งเป็นโครงการที่ดี ให้โอกาสฝึกงานด้านเทคนิคที่ต่างประเทศ ผมได้อันดับ 6 วิศวะคอมพ์ ใช้เวลาฝึกงาน 3 เดือน
          คัดยากไหม
          พีช : ภาษาอังกฤษก่อนไปก็ได้ระดับหนึ่ง แต่ยังไม่มีโอกาสไปเมืองนอก ถ้าได้ทุนนี้คงจะดี
          หม่อน : สมัครครั้งแรกตอนปี 3 ไม่ผ่าน เพราะไม่ยอมเขียนเรียงความ ไปดูน้ำหนักคะแนน เรียงความคะแนนน้อย เลือกทำข้อสอบ choice ดีกว่า ทั้งที่จริงแล้วเรียงความสำคัญมาก แม้มีน้ำหนักคะแนนน้อย แต่สะท้อนบุคลิกของเรา ครั้งที่สองลองใหม่ตอนปี 4  แบ่งเวลาทำข้อสอบในส่วนไวยากรณ์ สนทนา เรียงความ ในหัวข้อเปรียบเทียบหอพักในและนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งคำตอบที่เขียนต้องแสดงจุดยืนของผู้เขียน
          พีช :  การเขียนเรียงความเป็นการแสดงความคิดเห็นของเราออกมา จากข้อเขียนสู่การสัมภาษณ์ภาษาอังกฤษกับอาจารย์ต่างชาติ และอาจารย์ทองดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทองดี ชีวพฤกษ์ เลขาธิการ IAESTE Thailand) ถามว่าเรียนอะไรมาบ้าง สามารถทำอะไรให้เขาได้บ้าง
          การปรับตัว
          พีช :  ไปนอร์เวย์เป็นครั้งแรกด้วย ภาษาอังกฤษได้ในระดับหนึ่ง แต่ไม่รู้ว่าพอไปพูดจริง ๆ เขาจะฟังเข้าใจไหม ไปถึงวันแรกมีเจ้าหน้าที่ IAESTE มารับ วันรุ่งขึ้นเริ่มรู้จักเพื่อนชาติอื่น และเริ่มสำรวจเมืองคนเดียว ในวันทำงานวันแรกเจ้าหน้าที่ส่งต่อให้อาจารย์คอมพ์เลย
          หม่อน : เมืองเงียบมาก ผมไปล่วงหน้าก่อนเริ่มงาน 4-5 วัน พักอยู่ที่ Hostel ใช้เวลาทำความรู้จักสถานที่ซื้อตั๋วรถไฟ ห้องสมุด มีเจ้าหน้าที่ IAESTE เยอรมนี พาไปทำความรู้จัก ในเรื่องงาน กลัวงานวิชาการไม่แน่นพอที่จะช่วยเขา สำคัญคือภาษา คนอายุมากหน่อยไม่พูดภาษาอังกฤษ แต่ระบบการศึกษาแนวใหม่ เด็กรุ่นใหม่ต้องเรียนภาษาอังกฤษ ก็ไม่มีปัญหาอะไร
          พีช :  คนนอร์เวย์ ส่วนใหญ่พูดภาษาอังกฤษ แม้ไม่ใช่ภาษาแม่ แต่ทุกคนเรียนมาตั้งแต่เด็ก ส่วนเรื่องงาน ก็คิดว่าเราเป็นแค่นักศึกษามหาวิทยาลัย จะทำงานให้เขาตามที่ต้องการได้หรือไม่ เพราะไม่รู้มาตรฐานมหาวิทยาลัยต่างประเทศ หรือสิ่งที่โปรเฟสเซอร์ต้องการให้ทำ
          งานหลักทำอะไรกันบ้าง
          พีช :  ไปอยู่ Department of Earth Science โปรเฟสเซอร์เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหว เขาไม่ค่อยอยู่ แต่มอบหมายให้นักศึกษาอีกคนคอยดูแล เขาจะกำหนดมาว่าต้องการรูปแบบอย่างไร เราต้องเขียนคำสั่งโปรแกรมนั้นออกมา พื้นฐานความรู้ที่มีอยู่เพียงพอในระดับหนึ่ง เพราะรับผิดชอบคนเดียว ถ้าสงสัยปรึกษานักศึกษาที่ได้รับมอบหมายจากโปรเฟสเซอร์ได้
          หม่อน : ฝึกงานภาควิชาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ แบ่งเป็นแผนกย่อย 4-5 แผนก ภารกิจที่รับผิดชอบเป็นการวิเคราะห์เอกสาร มุ่งพัฒนาโปรแกรม พันธกิจที่วางไว้ มองล่วงหน้าไปไกลมาก คือวิเคราะห์สื่อให้ได้ทุกรูปแบบทั้งอีเมล์ ไฟล์ภาพ ไฟล์เสียง แต่ที่ทำอยู่คือวิเคราะห์เอกสาร เช่น เอกสารเกี่ยวกับการชันสูตรพลิกศพ
          รายได้ตอนฝึกงาน
          หม่อน : ทำงานวันละ 8 ชั่วโมง 5 วันต่อสัปดาห์ มีรายได้ 615-630 ยูโรต่อเดือน (ตอนไปยูโรละ 48 บาท)
          พีช :  เรตที่ได้เป็นเรตนักศึกษาฝึกงาน รายได้ประมาณ 7,000 โครนต่อเดือน (โครนละ 6 บาท)
ชื่นชมอะไรเป็นพิเศษ
          พีช :  นอร์เวย์เป็นประเทศที่ไม่คิดค่าหน่วยกิต สำหรับคนที่จะไปเรียนต่อปริญญาโท ทำวิจัย หรือดอกเตอร์ เป็นโอกาสที่ดีมาก คุณภาพชีวิตมีมาตรฐานค่อนข้างสูง ไม่ว่าด้านภาษา เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตประชาชนดี อาชญากรรมจากสถิติน้อยมาก ยกตัวอย่างตัวพีชเอง ทำพาสปอร์ตหล่นบนรถเมล์ ลองโทร.ไปสถานีตำรวจไม่เจอ ดึกแล้วก็โทร.ไปหาสถานทูต แจ้งให้มาทำเอกสารวันรุ่งขึ้น เพื่อกลับไปประเทศ (กำลังจะเดินทางกลับ) พอดีเปิดไปเว็บไซต์รถเมล์ มีแผนก lost & found แล้วก็ได้พาสปอร์ตคืน
          หม่อน : งานวิชาการเยอรมนีมีมาตรฐานสูง ยากที่จะตามให้ทัน เขามีระเบียบมาก ตรงเวลา เราอาจมองว่าจุกจิก แต่การที่เขามีระเบียบ  ทำให้มีประสิทธิภาพสูง ทำงานเร็ว เราได้เรียนรู้ตรงนี้ ก่อนไปฝึกงาน ชอบหนีปัญหา พอไปบ่นไม่อยากทำแล้ว หัวหน้างานที่เป็นนักศึกษาปริญญาเอก รับหน้าที่ดูแลนักศึกษาฝึกงานจากโปรเฟสเซอร์ คอยให้กำลังใจตลอด สู้หรือเปล่า ไม่รู้อะไรมาถามกันก่อน เพราะเขารู้ว่าพื้นฐานแต่ละคนมาไม่เท่ากัน ได้กำลังใจตรงนี้มากขึ้น เปลี่ยนจากคนหนีปัญหา ค่อย ๆ ดู ติดอะไรก็ถาม เขาบอกว่ากว่าเขามาถึงตรงนี้ ทำมาเป็นปี ๆ ยังมีอุปสรรค เรามาแค่ไม่กี่เดือน ควรเปิดรับในสิ่งที่สอนดีกว่า ได้ข้อคิดตรงนี้ ทำให้เปลี่ยนการมองโลกว่าไม่ได้แย่เสมอไป
          พีช :  มีคนถามเหมือนกันว่าภาควิชาแผ่นดินไหวที่เรียน นอร์เวย์มีแผ่นดินไหวด้วยหรือ พอคุยกับโปรเฟสเซอร์ เขาบอกว่าการจะศึกษาอะไร ไม่จำเป็นต้องเกิดขึ้นที่นั่น แต่เป็นการศึกษาทั่วโลก เพราะมีผลกระทบหมด ก็น่าสนใจ และตอนเลือกทุนสาขานี้เพราะสนใจ เนื่องจากตอนนั้นไทยเกิดแผ่นดินไหวด้วย
          หม่อน : การศึกษาในประเทศเยอรมนีเข้าถึงง่าย ฟรี เปลืองงบประมาณอาจใช่ แต่เขาได้ประโยชน์ในการพัฒนาคนทีหลัง เห็นได้ชัดในระยะยาวต่อไป คนหนุ่มสาวที่นั่นรักการศึกษามาก ๆ ศึกษาด้านที่ตัวเองสนใจลึกขึ้น โดยไม่รู้สึกว่าเป็นหน้าที่ แต่เป็นสิ่งที่เขารัก เหมือนหัวหน้างานที่ผมไปอยู่ด้วย ทำไมทำเรื่องเดิม ๆ เป็นปี ๆ เพราะเป็นสิ่งที่เขารัก ถ้าประเทศไทยปรับการศึกษาให้ถูกลง เข้าถึงง่าย น่าเอาเป็นตัวอย่าง อีกเรื่องคือความเป็นมืออาชีพ นอกห้องเรียน เล่น หยอกล้อ เข้าห้องหลุดเป็นอีกคน ตั้งใจเรียนได้ขนาดนี้ ไม่แปลกใจเลยว่าทำไมถึงเก่ง เป็นความเอาจริงเอาจัง ไม่ใช่แค่ในห้องเรียน กลับมาบ้านทำงานต่อ ก็เต็มที่
          พีช :  ถ้าเราให้ความสำคัญกับการศึกษา จะส่งผลให้คนพัฒนา งานวิจัยมีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับ
          ได้เที่ยว+ช็อปปิ้งกันบ้างไหม
          หม่อน : ไปเที่ยวเมืองใกล้ ๆ  ประทับใจตรงที่เป็นเมืองโบราณ และงานสถาปัตยกรรมสวยงาม
          พีช :  มีเพื่อนทั้งชาวอเมริกัน ไนจีเรีย เบลเยียม โปรตุเกส มอลตา แคนาดา วันเสาร์อาทิตย์จะไปเที่ยวกันเอง ที่นั่นดังเรื่องปีนเขา นั่งเรือ มีโอกาสแบ็กแพ็ก มีตติ้งกับกลุ่ม IAESTE ทุกอาทิตย์ ที่นอร์เวย์ขายแซนด์วิชเยอะ ราคาถูกกว่ากินข้าวนอกบ้าน
          หม่อน : ตอนไปบ้านของเพื่อนชาวเยอรมัน กินไส้กรอก มันบด ผักดอง อร่อยดี ประทับใจตรงที่เจอความเป็นเขา กินอยู่อย่างนี้ อร่อยทุกอย่าง กินไม่เบื่อ และประทับใจความอบอุ่นของครอบครัว ของที่นั่นแพงทุกอย่าง พยายามมองหาของฝากที่หาซื้อในเมืองไทยไม่ได้ เช่น ช็อกโกแลตแปลก ๆ หรือแอลกอฮอล์หมักพิเศษ
          พีช :  ซื้อปลาแซลมอนกลับเมืองไทย ที่นั่นดังมาก เสียค่าปลาไปประมาณ 105 โครน
          แนะรุ่นน้องเรื่องการเตรียมตัว
          พีช :  ไม่ต้องเอาเสื้อผ้าไปเยอะ เช็กอากาศเป็นยังไง ถ้าเอาของกินไปจะช่วยประหยัดได้เยอะ พ่อให้บัตรเครดิตการ์ด แต่ไปถึงที่นั่นใช้ไม่ได้ ไปแรก ๆ ไม่มีอารมณ์ใช้เงิน เพราะแพงไปหมด
          หม่อน : ไม่เอาของกินไปเลย กินและใช้ชีวิตตามที่เขาอยู่ แพ็กกระเป๋าเท่าที่จำเป็น ถามลักษณะอากาศ และเช็กการใช้งานเครื่องใช้บางประเภท เช่น ปลั๊กไฟ ส่วนการโอนเงินไม่สะดวกเท่ากับเปิดบัญชีที่นี่ แล้วไปกดเงินจากบัตรวีซ่าที่นั่น เสียค่าธรรมเนียมแค่ 100 บาทต่อครั้ง
          ความประทับใจของคุณแม่ “หม่อน”
          คุณแม่สมคิด คลังกูล เป็นคุณแม่ที่ประทับใจ IAESTE และเตรียมตัวให้หม่อนตั้งแต่อยู่ปี 2 เห็นความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ “หม่อน” สู้ขึ้น คุ้มกับที่ไป
          “ไม่ต้องซื้อกลับมาฝากแม่ เอาเงินกลับมาดีกว่า” คุณแม่ช่วยปิดท้ายเมื่อถูกถามว่า หม่อนซื้ออะไรมาฝาก เงินที่ได้กลับมาเท่าไหร่ แต่ขออุบไว้ ถ้าอยากรู้ต้องลองไปสมัครโครงการนี้

ข้อมูลจาก นิตยสารการศึกษาวันนี้ ฉบับ 384 โดย ป.วรัตม์ watta.ryo@gmail.com

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 556 คน กำลังออนไลน์