• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e053a7acd0f0abb0479d2c6633cd291a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>2.หน่วยประมวนผลกลางหรือซีพียู ติดตั้งในแผงหลักเรียกว่าไมโครชิป ทำหน้าที่ประมวลผล เรียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์<br />ประกอบไปด้วย2.หน่วย คือ หน่วยคำนวนและตรรกะทำหน้าที่คำนวนและเปรียบเทียบการคำนวน และหน่วยควบคุมทำหน้าที่<br />ควบคุมการทำงานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วย รีจีเตอร์ ใช้เก็บข้อมูลที่อ่านมาจากหน่วยความจำ<br />2.1.หน่วยความจำแคช เป็นหน่วยความจำขนาดเล็กอยู่ในซีพียู เรียกว่าหน่วยความจำระดับ2</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>3.หน่วยความจำหลักมี 3 ชนิด 1.หน่วยความจำแรม 2.หน่วยความจำรอม 3.หน่วยความจำรองเ้ช่น แผ่นบันทึกฮาร์ดดิสก์ ทำด้วยอะลูมิเนียม<br />หรือวุสดุแข็งโครงสร้างของแผ่นบันทึก จะถูกแบ่งตามแนวหมุนออกเป็นวงๆ เรียกว่าแทรค แต่ละแทรคแบ่งเป็นส่วนๆ เรียกว่าเซ็นเตอร์เป็นหน่วย<br />ที่เล็กที่สุดที่อ่านและบันทึกได้<br />4.หน่วยส่งออกเช่จอภาพเครื่องพิมพ์ 4.1จอภาพชนิด SVGA หน่วยแสดงผลของคอมพิวเตอร์มีส่วนประกอบ2ส่วน คือ จอภาพทำหน้าที่แปลงสัญญาณไฟฟ้าเป็นแสงที่มองเห็นได้และวงจรกราฟฟิกทำหน้าที่สร้างสัญญาณที่เหมาะสมในการขับจอภาพมี2ชนิด คือ1.จอภาพชนิดซีอาร์ที <br />เป็นจอ<br />แก้วหมดความนิยม2.จอภาพชนิดผลึกเหลวใช้กับเครื่องคิกเลขและนาฬิกา เครื่องคอมพิวเตอร์แลปท็อบ โน็ตบุ็ก 4.2 เครื่องพิมพ์แบบจุด <br />เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึก เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ 5.บัส การเชื่อมโยงอุปกรณ์ในแผงหลักใ้ช้เครื่องเครื่องมือ2 ชนิดคือ เส้นทางของระบบและ<br />การขักดจังหวะระบบ หน่วยที่1 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ หน่วยที่2 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ หน่วยที่3 ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หน่วยที่4 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง<br />เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4 <br /><span style=\"color: #ff0000\" class=\"Apple-style-span\">หน่วยที่1 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ</span>\n<div>บุคลากร เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ เพราะบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ และเข้าใจวิธีการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ จะเป็นผู้ดำเนินการ ในการทำงานทั้งหมด บุคลากรจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บุคลากรภายในองค์กรเป็นส่วนประกอบที่จะทำให้เกิด ระบบสารสนเทศด้วยกันทุกคน เช่น ร้านขายสินค้าแห่งหนึ่ง บุคลากรที่ดำเนินการในร้านค้าทุกคน ตั้งแต่ผู้จัดการถึงพนักงานขาย เป็นส่วนประกอบที่จะทำให้เกิดสารสนเทศได้ </div>\n<div></div>\n<div>ขั้นตอนการปฏิบัติ เป็นระเบียบวิธีการปฏิบัติงานในการจัดเก็บรักษาข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่จะทำให้เป็นสารสนเทศได้ เช่น กำหนดให้ มีการป้อนข้อมูลทุกวัน ป้อนข้อมูลให้ทันตามกำหนดเวลา มีการแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องอยู่เสมอ กำหนดเวลาในการประมวลผล การทำรายงาน การดำเนินการ ต่าง ๆ ต้องมีขั้นตอน หากขั้นตอนใดมีปัญหาระบบก็จะมีปัญหาด้วย เพราะทุกขั้นตอนมีผลต่อระบบสารสนเทศ </div>\n<div></div>\n<div>เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ช่วยประมวลผล คัดเลือก คำนวณ หรือพิมพ์รายงาน ผลตามที่ต้องการ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานได้รวดเร็ว มีความแม่นยำในการทำงาน และทำงานได้ต่อเนื่อง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ จึงเป็นองค์ประกอบหนึ่งของระบบสารสนเทศ </div>\n<div></div>\n<div>ซอฟต์แวร์ คือลำดับขั้นตอนคำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทำงานตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ซอฟต์แวร์ จึงหมายถึงชุดคำสั่งที่เรียง เป็นลำดับขั้นตอนสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องการ และประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ </div>\n<div></div>\n<div></div>\n<div>ข้อมูล เป็นวัตถุดิบที่ทำให้เกิดสารสนเทศ ข้อมูลที่เป็นวัตถุดิบจะต่างกัน ขึ้นกับสารสนเทศที่ต้องการ เช่น ในสถานศึกษามักจะต้องการ สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลนักเรียน ข้อมูลผลการเรียน ข้อมูลอาจารย์ ข้อมูลการใช้จ่ายต่าง ๆ ข้อมูลเป็นสิ่งที่สำคัญประการหนึ่งที่มีบทบาทต่อการให้เกิด สารสนเทศ </div>\n<div>1. ฮาร์ดแวร์</div>\n<div>ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สนับสนุนการทำงาน อุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องอ่านบาร์โค้ด เครื่องสแกนรายนิ้วมือ</div>\n<div>2. ซอฟต์แวร์</div>\n<div>ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งก็คือชุดคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์ที่จะสั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงาน เพื่อประมวลผลข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการของการใช้งาน ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกัน เช่น ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ ซอฟต์แวร์สำเร็จ และซอฟต์แวร์ประยุกต์สำหรับงานต่างๆ ในปัจจุบันซอฟตแวร์มีลักษณะการใช้งานที่ง่ายขึ้น โดยมีรูปแบบการติดต่อที่สื่อความหมายให้เข้าใจง่าย อย่างไรก็ตามระบบงานในองค์กรบางองค์กร จะมีการพัฒนาระบบตามความต้องการโดยการว่าจ้าง หรือโดยนักคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในฝ่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กรนั้นๆ ทั้งนี้เพื่อให้ได้การประมวลผลสารสนเทศตามที่องค์กรนั้นๆต้องการ</div>\n<div>3. ข้อมูล</div>\n<div>ข้อมูล เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอีกประการหนึ่งของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศที่ดี ต้องมีการจัดระบบของข้อมูลให้เป็นระเบียบ ใช้งานได้ง่าย และต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลทั้งนี้เพื่อให้สารสนเทศที่ได้มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด ดังนั้นข้อมูลที่ดีจะต้องมีความถูกต้อง มีการกลั่นกรองและตรวจสอบ สิ่งที่ระบบสารสนเทศต้องมีในการดำเนินการเกี่ยวกับข้อมูล คือ ต้องมีโครงสร้างในการจัดเก็บที่เป็นระบบระเบียบเพื่อการสืบค้นที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ</div>\n<div></div>\n<div></div>\n<div>4. บุคลากร</div>\n<div>บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศจะประกอบไปด้วย ผู้ใช้ ผู้บริหาร ผู้พัฒนาระบบ นักวิเคราะห์ระบบ และนักเขียนโปรแกรม บุคลากรเหล่านี้ต้องมีความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับดี เพื่อให้ระบบสารสนเทศมีประสิทธิภาพตรงตามความต้องการรวมทั้งบุคลากรต้องพัฒนาความสามารถของตนเองและพัฒนาระบบงานอยู่อย่างสม่ำเสมอ</div>\n<div></div>\n<div>5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน</div>\n<div>การกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนของบุคลากรที่เกี่ยวข้องก็เป็นเรื่องสำคัญ ในการพัฒนาระบบงานสารสนเทศจำเป็นต้องปฏิบัติงานตามลำดับขั้นตอน ต่างๆรวมทั้งแนวทางในการแก้ปัญหาไว้ ทั้งในกรณีปกติและกรณีฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการประมวลผล ขั้นตอนปฏิบัติงานเมื่อเครื่องชำรุดหรือข้อมูลสูญหาย และขั้นตอนการทำสำเนาข้อมูลสำรองเพื่อความปลอดภัย เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะต้องมีการซักซ้อม มีการเตรียมการ และการทำเอกสารคู่มือการใช้งานที่ชัดเจน</div>\n</p><p><span style=\"color: #ff0000\" class=\"Apple-style-span\">หน่วยที่2 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์<br /></span>\n<div>1. ทำงานโดยอัตโนมัติ ถ้าสังเกตการทำงานของคอมพิวเตอร์ จะพบว่า อุปกรณ์ทุกอย่างของคอมพิวเตอร์ทำงานได้เองโดยอัตโนมัติ โดยที่คนไม่ได้เข้าไปควบคุม ไม่ว่าจะเป็นการอ่านข้อมูล การคำนวณ หรือการพิมพ์ผลลัพธ์ </div>\n<div></div>\n<div>2. ทำงานได้อเนกประสงค์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้อเนกประสงค์ เพราะทำงานได้หลายชนิดขึ้นอยู่กับโปรแกรมที่ใช้ เช่น โปรแกรมเงินเดือน โปรแกรมคิดคะแนนสอบของนักเรียน เป็นต้น</div>\n<div></div>\n<div>3. เป็นอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ประกอบกันเข้าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ล้วนแล้วแต่เป็นอุปกรณ์ทางด้าน</div>\n<div>อิเล็คทรอนิคส์ทั้งสิ้น เช่น ทรานซิสเตอร์ วงจรไอซี ดังนั้นจึงทำงานด้วยความเร็วสูงมาก </div>\n<div></div>\n<div>4. เป็นระบบดิจิตอล คำว่า ดิจิตอล (Digital) มาจากคำว่า Digit หมายถึง ตัวเลข เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ ทำงานโดยใช้ระบบตัวเลข ข้อมูลทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวหนังสือ หรือเครื่องหมายในทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เมื่อส่งเข้าเครื่องรับข้อมูลของคอมพิวเตอร์แล้ว </div>\n<div>จะถูกเปลี่ยนเป็นตัวเลขหมด</div>\n<div></div>\n<div></div>\n<div></div>\n<div>การทำงานของคอมพิวเตอร์ </div>\n<div>เครื่องคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนการทำงาน 3 ขั้นตอน คือ </div>\n<div>1. รับโปรแกรมและข้อมูล โปรแกรมในที่นี้ หมายถึง ชุดของคำสั่งที่จะให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ส่วนข้อมูล อาจเป็นตัวเลขหรือตัวหนังสือก็ได้ ที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล </div>\n<div></div>\n<div>2. การประมวลผล หมายถึง การจัดระเบียบแบบแผนของข้อมูล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งทำได้โดยการคำนวณ </div>\n<div>เปรียบเทียบ วิเคราะห์โดยใช้สูตรทางวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ โดยอาศัยคำสั่งหรือโปรแกรมที่เขียนขึ้น </div>\n<div></div>\n<div>3. แสดงผลลัพธ์ คือ การนำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลเสร็จเรียบร้อย แสดงออกในรูปแบบต่าง ๆ ที่ผู้ใช้เข้าใจ และนำไปใช้ประโยชน์ได้ </div>\n<div>ขั้นตอนทั้ง 3 แสดงได้ด้วยแผนภาพดังนี้ </div>\n<div><span style=\"color: #ff0000\" class=\"Apple-style-span\">หน่วยที่3 ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์</span>\n<div>การติดต่อสื่อสารข้อมูลสมัยใหม่นี้ มีรากฐานมาจากความพยายามในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยระบบสื่อสารที่มีอยู่แล้ว เช่น โทรศัพท์ ดังนั้นการสื่อสารข้อมูลจึงอยู่ในขอบเขตที่จำกัด ต่อมาเมื่อมีการใช้คอมพิวเตอร์มากขึ้น ความต้องการในการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์หลายเครื่องในเวลาเดียวกัน ที่เรียกว่า ระบบเครื่อข่าย (Network) ได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้นเป็นลำดับ</div>\n<div>ตอนเริ่มต้นของยุคสื่อสาร เมื่อประมาณ พ.ศ. 2513-2515 ความต้องการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกันมีมากขึ้น แต่คอมพิวเตอร์ยังมีราคาสูงมาก เมื่อเทียบกับอุปกรณ์สื่อสารที่มีอยู่แล้วบางอย่าง การสื่อสารด้วยระบบเครือข่ายในระยะนั้นจึงเน้นการใช้คอมพิวเตอร์ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์เป็นผู้ให้บริการแก่ผู้ใช้ปลายทางหลายคน เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายของระบบ</div>\n<div>ต่อมาเมื่อถึงยุคสมัยของไมโครคอมพิวเตอร์ พบว่าขีดความสามารถในด้านความเร็วของการทำงานของเมนเฟรม มีความเร็วมากกว่า 10 เท่า เมื่อเทียบกับไมโครคอมพิวเตอร์ตัวที่ดีที่สุด แต่ราคาของเมนเฟรมแพงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์หลายพันเท่า การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์จึงแพร่หลายและกระจายออกไป การสื่อสารจึงกลายเป็นระบบเครือข่ายแบบกระจาย กล่าวคือ แทนที่จะออกแบบให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางต่อกับเมนเฟรม ก็เปลี่ยนเป็นระบบเครือข่ายที่ใช้คอมพิวเตอร์ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์แทน</div>\n<div>ลักษณะของเครือข่ายจึงเริ่มจากจุดเล็ก ๆ อาจจะอยู่บนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์เดียวกัน ขยายตัวใหญ่ขึ้นเป็นระบบที่ทำงานร่วมกันในห้องทำงาน ในตึก ระหว่างตึก ระหว่างสถาบัน ระหว่างเมือง ระหว่างประเทศ การจัดแบ่งรูปแบบของเครือข่ายคอม</div>\n<div style=\"color: #ff0000\"></div>\n</div>\n</p><p><span style=\"color: #ff0000\" class=\"Apple-style-span\">หน่วยที่4 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง</span><br />คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง (super computer)เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วในการประมวลผลสูงสุดมีขนาดใหญ่และราคาแพงกว่าคอมพิวเตอร์ชนิดอี่นออกแบบมาเพื่อใช้แก่ปํญหาทางวิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมศาสตร์ เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็นระยะเวลาหลายวัน เป็นต้น 2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะการทำงานสูง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผู้ใช้ได้หลายร้อยคน คอมพิวเตอร์ชนิดนี้มักใช้ในองค์กรใหญ่ๆ เช่น ธนาคาร เป็นต้น 3. มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับองค์กรขนาดกลางที่ใช้บริการแก่เครื่องลูกข่าย เช่น โรงแรม เป็นต้น 4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer)มีประสิทธิภาพสูงราคาไม่แพงมีความนิยมสูงเหมาะสำหรับใช้ส่วนตัวที่บ้าน และยังได้รับความนิยมสูงสุดด้วย 5.คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก (handheld computer)สามารถจัดการกับข้อมูลประจำวันได้ สร้างปฏิทิน บันทึกเตือนความจำ เล่นเกม ชมภาพยนตร์ ฟังเพลง และรับ-ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้ เป็นคอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น พีอีเอ ไอโฟน เป็นต้น อุปกรณ์ต่อพ่วง อุปกรณ์ต่อพ่วง หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆที่สามารถต่อเข้ากับอุปกรณ์ของหน่วยประมวลผลกลางและประกอบเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้ อุปกรณ์ต่อพ่วงแต่ละชนิดมีคุณลักษณะที่สำคัญ ดังนี้ 1.แผงพิมพ์อักขระ เป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลจากการกดแป้นจากนั้นก็เปลี่ยนรหัสแล้วส่งไปยังประมวลผลกลาง แป้นพิมพ์โดยทั่วไปมี 50 แป้นขึ้นไปแบ่งเป็นแป้นตัวเลขและแป้นอักขระ 2.เมาส์ เป็นอุปกรณ์ประเภทตัวชี้ที่ได้รับข้อมูลจากการกดปุ่มข้างบนเมาส์ ทำหน้าที่คลิกปุ่มคำสั่งที่ต้องการ แบ่งเป็น 2 ประเภท 2.1 เมาส์ทางกล 2.2 เมาส์แบบใช้แสง 3.อุปกรณ์ชี้ตำแหน่งสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่สามารถติดกับตัวโน๊ตบุ๊ค สะดวกในการพกพา ซึ่งมี 3ประเภท 3.1ลูกกลมควบคุม 3.2แท่งชี้ควบคุม 3.3แผ่นรองสัมผัส 4.ก้านควบคุม เป็นอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนที่ของตัวชี้บนหน้าจอ มีลักษณะเป็นก้านโผล่ออกมาจากกล่อง 5.จอสัมผัส เป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลจากการสัมผัสโดยเมื่อมีการเลือกตำแหน่งที่ถูกเลือกจะแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปยังซอฟต์แวร์ที่แปลคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน 6.อุปกรณ์รับเข้าแบบกราดตรวจ ที่นิยมใช้มีอยู่ 3ประเภท 6.1 เครื่องอ่านรหัสแท่ง อุปกรณ์รับเข้าที่ทำงานโดยหลักการของการสะท้อนแสง เครื่องจะส่องลำเสียงไปยังรหัสบนสินค้าจากนั้นจะเปลี่ยนรหัสเป็นสัญญาณไฟฟ้าผ่านสายที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ 6.2 เครื่องกราดตรวจหรือสแกนเนอร์ เป็นอุปกรณ์รับเข้าประเภทรูปภาพและข้อความที่อยู่บนสิ่งพิมพ์โดยใช้หลักสะท้อนแสง ข้อมูลจะถูกแปลงในแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและเก็บไว้ในหน่วยความจำ 6.2กล้องดิจิทัล ทำงานเหมือนกล้องถ่ายรูปทั่วไปแต่ไม่ต้องมีฟิล์มและมีคอมแพ็กแฟลช 7.เว็บแคม เป็นอุปกรณ์รับเข้าประเภทกล้องวีดีโอที่สามารถบันทึกภาพเคลื่อนไหวผ่านเว็บไซค์แล้วปรากฎบนหน้าจอได้ 8.จอภาพ มี2 ชนิด 1.จอภาพแบบซีอาร์ที มีลักษณะเหมือนจอโทรทัศน์ ทำงานโดยเทคโนโลยีหลอดรังสีอิเล็กตรอน โดยยิงอิเล็กตรอนไปยังผิวด้านในจอเมื่อลำแสงวิ่งมาชนจะเกิดแสงสว่างขึ้น 2.จอภาพแบบแอลซีดี ทำงานโดยอาศัยการเบี่ยงเบนแสงตามการควบคุมทิศทางของโพราไลเซชั่นของวัตถุที่กั้นระหว่างแหล่งกำเนิดแสงและแผ่นเคลือบสารเรืองแสง ป้องแรงดันเข้าไปยังแผ่นเพลตเมื่อได้รับแรงดันไฟฟ้า มีผลให้แสดงจากแหล่งกำเนิดสามารถผ่านทะลุกระทบกับสารเรืองแสงจนเกิดแสงสีที่ต้องการ 9. ลำโพง เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผลเป็นเสียงโดยใช้งานคู่กับการด์เสียงซึ่งเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นอะนาล็อกแล้วส่งไปยังลำโพง 10.หูฟัง เป็นอุปกรณ์ส่งออกใช้ฟังเพลงจากคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณจากไฟฟ้าเป็นเสียง มีทั้งชนิดไร้สายและมีสาย บางรุ่นก็จะมีไมโครโฟนสำหรับสนทนาผ่านอินเตอร์เน็ตอีกด้วย 11. เครื่องพิมพ์ เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่แสดงผลงานพิมพ์ลงบนกระดาษ แบบเครื่องพิมพ์ 11.1เครื่องพิมพ์แบบจุด 11.2เครื่องพิมพ์เลเซอร์ 11.3เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึก 11.4พล็อตเคอร์ 12. โมเด็ม เป็นการแปลงสัญญาณเพื่อให้ติดต่อกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้โดยเชื่อมต่อคอมเข้ากับคู่สายของโทรศัพท์ แล้วโมเด็มก็จะแปลงจากสัญญาณดิจิทัลให้เป็นสัญญาณอะนาล็อก<span style=\"color: #ff0000\" class=\"Apple-style-span\"> </span></p>\n', created = 1714406374, expire = 1714492774, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e053a7acd0f0abb0479d2c6633cd291a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เทคโนโลยีสารสนเทศ 1 ง31101 นาย พริษฐ์ บุญสม ชั้น 4/4 เลขที่10 ครูผู้สอนครู เดือนฉาย หนูแสนดี

รูปภาพของ pncparit

2.หน่วยประมวนผลกลางหรือซีพียู ติดตั้งในแผงหลักเรียกว่าไมโครชิป ทำหน้าที่ประมวลผล เรียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์
ประกอบไปด้วย2.หน่วย คือ หน่วยคำนวนและตรรกะทำหน้าที่คำนวนและเปรียบเทียบการคำนวน และหน่วยควบคุมทำหน้าที่
ควบคุมการทำงานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วย รีจีเตอร์ ใช้เก็บข้อมูลที่อ่านมาจากหน่วยความจำ
2.1.หน่วยความจำแคช เป็นหน่วยความจำขนาดเล็กอยู่ในซีพียู เรียกว่าหน่วยความจำระดับ2

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 581 คน กำลังออนไลน์