• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:de45a9d676f43ec94397e0fc581e8fee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><blockquote><h2 align=\"center\">ประวัติของวิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย</h2>\n</blockquote>\n<p align=\"center\"><img style=\"width: 250px; height: 250px;\" src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u1197/M1721391_0.jpg\" alt=\"http://www.thaigoodview.com/files/u1197/M1721391_0.jpg\" width=\"322\" height=\"474\" border=\"0\" /></p>\n<p><br /> &nbsp;&nbsp;<span style=\"color: #ff0000;\" data-mce-mark=\"1\">&nbsp;&nbsp; เมื่อ พ.ศ. 2495 กรมโฆษณาการ หรือ กรมประชาสัมพันธ์ในปัจจุบันได้ออกคำชี้แจงเรื่องการใช้ศัพท์ TELEVISION ในภาษาไทย ความว่า TELE แปลว่า \"ไกล\" หรือ \"โทร\" VISION แปลว่า \"ภาพ\" ดังนั้นจึงควรจะแปล TELEVISION ว่า \"โทรภาพ\" ที่มีผู้ใช้คำว่า \"โทรทรรศน์\" นั้นไม่ถูกต้องเพราะน่าจะตรงกับคำว่า \"TELESCOPE\" หรือกล้องส่องทางไกลมากกว่า<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แต่ประชาชนไทยทั่วไปก็นิยมที่จะเรียกว่า \"โทรทัศน์\" เปลี่ยนจากสะกดจาก \"ทรรศน์\" เป็น \"ทัศน\" เสียใหม่ และคำว่าโทรทัศน์นี้ก็ใช้กันมาจนปัจจุบัน เหตุผลสำคัญประการหนึ่งที่เรียกว่าโทรทัศน์เพราะได้มีวิวัฒนาการของการส่งภาพทางระบบโทรคมนาคมเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า TELEPICTURE ซึ่งตรงกับคำว่า โทรภาพพอดี โทรภาพแบบนี้เป็นการส่งภาพนิ่งจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง และต่อมดาได้มีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษกันต่าง ๆ ตามที่บริษัทเจ้าของระบบอุปกรณ์จะเรียก อาทิ RIDIOPHOTO หรือ TELEPHOTO และแม้แต่ TELEX ก็สามารถส่งภาพได้ ดังนั้นโทรทัศน์ ซึ่งไม่เป็นที่ยอมรับของทางราชการในสมัยแรกเริ่มจึงกลายเป็นคำถูกไปโดยปริยายในระยะต่อมา แต่โทรทัศน์ในระบบกระจายเสียง (BROADCASTING) ควรจะเรียกให้เต็มตามศัพท์ทางราชการว่า \"วิทยุโทรทัศน์\" เหมือนกับที่เราเรียก \"วิทยุ\" ในคำเต็มคือ \"วิทยุกระจายเสียง\"<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; คำว่า \"วิทยุโทรภาพ\" เป็นอีกคำหนึ่งที่มีใช้กันมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2474 โดยพลเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินทรงบัญญัติขึ้น<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประวัติของวิทยุโทรภาพในเมืองไทยมีระบุไว้ในหนังสือที่ระลึกงานพิธีเปิดอาคารที่ทำการใหม่ของกรมไปรษณีย์โทรเลข (ที่ทำการ ป.ณ. กลางในปัจจุบัน) เมื่อ พ.ศ. 2483 ความว่า<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; วิทยุโทรภาพ หรือวิทยุจำลองภาพ ได้เปิดติดต่อกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2474 ใช้เครื่องของบริษัท TELEFUNKEN สามารถรับ - ส่งภาพขนาด 10 x 22 ซม. ได้ 1 ภาพ ในเวลา 15 นาที ภาพนี้จะเป็นเอกสาร ภาพเขียนหรือภาพถ่ายก็ได้ ภาพวิทยุโทรภาพครั้งแรก คือ พระรูปกรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน การใช้วิทยุโทรภาพตามลักษณะดังกล่าวไม่ได้เปิดให้บริการแก่สาธารณะ เข้าใจกันว่าค่าใช้จ่ายในการส่งภาพคงจะสูงมาก และไม่มีความจำเป็นในการใช้บริการดังกล่าวด้วย<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำหรับวิทยุโทรภาพหรือที่เรียกว่า วิทยุโทรทัศน์ในปัจจุบันมีความเป็นมาที่ควรจะทราบดังต่อไปนี้<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; รัฐบาลในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ลงมติเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 เห็นสมควรให้จัดตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์ขึ้นด้วยเล็งเห็นคุณประโยชน์และเพื่อให้เยาวชนได้มีความรู้กว้างไกล จึงได้มองเรื่องให้กรมประชาสัมพันธ์พิจารณาดำเนินการขอตั้งงบประมาณในการตั้งสถานีส่งและจำหน่างเครื่องรับด้วย กรมประชาสัมพันธ์เสนอยอดเงิ นไป 12 ล้านบาทเศษ รัฐบาลจึงนำเรื่องเข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรปรากฎว่าถูกยังยั้งมิให้ดำเนินการ อ้างว่าเปลืองเงินงบประมาณโดยใช่เหตุ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อทางฝ่ายรัฐบาลต้องระงับความดำริไป ได้มีประชาชนบางกลุ่มเห็นคุณค่าของวิทยุโทรทัศน์และก็มีข่าวว่าญี่ปุ่นเป็นประเทศแรกในทวีปเอเซีที่เริ่มดำเนินการติดตั้งสถานีและออกอากาศรายการวิทยุโทรทัศน์ ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ.2494 จึงได้รวมตัวกันจัดตั้งเป็นบริษัทขึ้นเพื่อดำเนินการโดยไม่ต้องใช้เงินงบประมาณแผ่นดิน คือ \"บริษัทไทยโทรทัศน์จำกัด\" มี พล.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจสมัยนั้นเป็นประธานกรรมการ มีพลโท ม.ล.ขาบ กุญชร อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์เป็นรองประธานกรรมการและนายประสงค์ หงสนันท์ เป็นกรรมการผู้จัดการ ดำเนินการตั้งเป็นบริษัททำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2495<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการนำวิทยุโทรทัศน์เข้ามาเป็นครั้งแรกคือ นายประสิทธิ์ ทวีสิน ประธานกรรมการบริษัทวิเชียรวิทยุและโทรภาพ โดยนำเครื่องส่ง 1 เครื่อง เครื่องรับ 4 เครื่องหนักกว่า 2 ตัน ทำการทดลองให้คณะรัฐมนตรีชมเป็นครั้งแรกที่ทำเนียบรัฐบาล และต่อมาเมื่อ 19 กรกฎาคม พ.ศ.2495 เปิดให้ประชาชนที่ศาลาเฉลิมกรุง ได้มีผู้ชมอย่างล้นหลามด้วยเป็นของแปลกใหม่<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การก่อสร้างสถานีวิทยุโทรทัศน์ที่บางขุนพรหม (ที่ตั้งธนาคารแห่งประเทศไทยใหม่ในปัจจุบัน) สำเร็จเรียบร้อยเรียกว่า \"สถานีโทรทัศน์\" ส่งออกอากาศทางช่อง 4 เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2498 ซึ่งเป็นวันชาติ ไทยจึงนับเป็นชาติแรกในเอเชียอาคเนย์ที่มีโทรทัศน์ออกอากาศให้ประชาชนชม<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความนิยมของประชาชนที่มีต่อรายการโทรทัศน์แพร่ขยายอย่างรวดเร็ว ทางราชการทหารจึงให้ตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์ขึ้นอีกแห่งหนึ่งที่สนามเป้า ถนนพหลโยธิน เปิดทำการเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ.2501 ซึ่งตรงกับวันกองทัพบก</span></p>\n<p><span style=\"color: #ff0000;\"></span><br /> &nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1722037820, expire = 1722124220, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:de45a9d676f43ec94397e0fc581e8fee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

0503 ประวัติของวิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย

ประวัติของวิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย

http://www.thaigoodview.com/files/u1197/M1721391_0.jpg


     เมื่อ พ.ศ. 2495 กรมโฆษณาการ หรือ กรมประชาสัมพันธ์ในปัจจุบันได้ออกคำชี้แจงเรื่องการใช้ศัพท์ TELEVISION ในภาษาไทย ความว่า TELE แปลว่า "ไกล" หรือ "โทร" VISION แปลว่า "ภาพ" ดังนั้นจึงควรจะแปล TELEVISION ว่า "โทรภาพ" ที่มีผู้ใช้คำว่า "โทรทรรศน์" นั้นไม่ถูกต้องเพราะน่าจะตรงกับคำว่า "TELESCOPE" หรือกล้องส่องทางไกลมากกว่า
     แต่ประชาชนไทยทั่วไปก็นิยมที่จะเรียกว่า "โทรทัศน์" เปลี่ยนจากสะกดจาก "ทรรศน์" เป็น "ทัศน" เสียใหม่ และคำว่าโทรทัศน์นี้ก็ใช้กันมาจนปัจจุบัน เหตุผลสำคัญประการหนึ่งที่เรียกว่าโทรทัศน์เพราะได้มีวิวัฒนาการของการส่งภาพทางระบบโทรคมนาคมเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า TELEPICTURE ซึ่งตรงกับคำว่า โทรภาพพอดี โทรภาพแบบนี้เป็นการส่งภาพนิ่งจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง และต่อมดาได้มีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษกันต่าง ๆ ตามที่บริษัทเจ้าของระบบอุปกรณ์จะเรียก อาทิ RIDIOPHOTO หรือ TELEPHOTO และแม้แต่ TELEX ก็สามารถส่งภาพได้ ดังนั้นโทรทัศน์ ซึ่งไม่เป็นที่ยอมรับของทางราชการในสมัยแรกเริ่มจึงกลายเป็นคำถูกไปโดยปริยายในระยะต่อมา แต่โทรทัศน์ในระบบกระจายเสียง (BROADCASTING) ควรจะเรียกให้เต็มตามศัพท์ทางราชการว่า "วิทยุโทรทัศน์" เหมือนกับที่เราเรียก "วิทยุ" ในคำเต็มคือ "วิทยุกระจายเสียง"
     คำว่า "วิทยุโทรภาพ" เป็นอีกคำหนึ่งที่มีใช้กันมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2474 โดยพลเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินทรงบัญญัติขึ้น
     ประวัติของวิทยุโทรภาพในเมืองไทยมีระบุไว้ในหนังสือที่ระลึกงานพิธีเปิดอาคารที่ทำการใหม่ของกรมไปรษณีย์โทรเลข (ที่ทำการ ป.ณ. กลางในปัจจุบัน) เมื่อ พ.ศ. 2483 ความว่า
     วิทยุโทรภาพ หรือวิทยุจำลองภาพ ได้เปิดติดต่อกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2474 ใช้เครื่องของบริษัท TELEFUNKEN สามารถรับ - ส่งภาพขนาด 10 x 22 ซม. ได้ 1 ภาพ ในเวลา 15 นาที ภาพนี้จะเป็นเอกสาร ภาพเขียนหรือภาพถ่ายก็ได้ ภาพวิทยุโทรภาพครั้งแรก คือ พระรูปกรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน การใช้วิทยุโทรภาพตามลักษณะดังกล่าวไม่ได้เปิดให้บริการแก่สาธารณะ เข้าใจกันว่าค่าใช้จ่ายในการส่งภาพคงจะสูงมาก และไม่มีความจำเป็นในการใช้บริการดังกล่าวด้วย
     สำหรับวิทยุโทรภาพหรือที่เรียกว่า วิทยุโทรทัศน์ในปัจจุบันมีความเป็นมาที่ควรจะทราบดังต่อไปนี้
     รัฐบาลในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ลงมติเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494 เห็นสมควรให้จัดตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์ขึ้นด้วยเล็งเห็นคุณประโยชน์และเพื่อให้เยาวชนได้มีความรู้กว้างไกล จึงได้มองเรื่องให้กรมประชาสัมพันธ์พิจารณาดำเนินการขอตั้งงบประมาณในการตั้งสถานีส่งและจำหน่างเครื่องรับด้วย กรมประชาสัมพันธ์เสนอยอดเงิ นไป 12 ล้านบาทเศษ รัฐบาลจึงนำเรื่องเข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรปรากฎว่าถูกยังยั้งมิให้ดำเนินการ อ้างว่าเปลืองเงินงบประมาณโดยใช่เหตุ
     เมื่อทางฝ่ายรัฐบาลต้องระงับความดำริไป ได้มีประชาชนบางกลุ่มเห็นคุณค่าของวิทยุโทรทัศน์และก็มีข่าวว่าญี่ปุ่นเป็นประเทศแรกในทวีปเอเซีที่เริ่มดำเนินการติดตั้งสถานีและออกอากาศรายการวิทยุโทรทัศน์ ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ.2494 จึงได้รวมตัวกันจัดตั้งเป็นบริษัทขึ้นเพื่อดำเนินการโดยไม่ต้องใช้เงินงบประมาณแผ่นดิน คือ "บริษัทไทยโทรทัศน์จำกัด" มี พล.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจสมัยนั้นเป็นประธานกรรมการ มีพลโท ม.ล.ขาบ กุญชร อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์เป็นรองประธานกรรมการและนายประสงค์ หงสนันท์ เป็นกรรมการผู้จัดการ ดำเนินการตั้งเป็นบริษัททำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2495
     ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการนำวิทยุโทรทัศน์เข้ามาเป็นครั้งแรกคือ นายประสิทธิ์ ทวีสิน ประธานกรรมการบริษัทวิเชียรวิทยุและโทรภาพ โดยนำเครื่องส่ง 1 เครื่อง เครื่องรับ 4 เครื่องหนักกว่า 2 ตัน ทำการทดลองให้คณะรัฐมนตรีชมเป็นครั้งแรกที่ทำเนียบรัฐบาล และต่อมาเมื่อ 19 กรกฎาคม พ.ศ.2495 เปิดให้ประชาชนที่ศาลาเฉลิมกรุง ได้มีผู้ชมอย่างล้นหลามด้วยเป็นของแปลกใหม่
     การก่อสร้างสถานีวิทยุโทรทัศน์ที่บางขุนพรหม (ที่ตั้งธนาคารแห่งประเทศไทยใหม่ในปัจจุบัน) สำเร็จเรียบร้อยเรียกว่า "สถานีโทรทัศน์" ส่งออกอากาศทางช่อง 4 เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2498 ซึ่งเป็นวันชาติ ไทยจึงนับเป็นชาติแรกในเอเชียอาคเนย์ที่มีโทรทัศน์ออกอากาศให้ประชาชนชม
     ความนิยมของประชาชนที่มีต่อรายการโทรทัศน์แพร่ขยายอย่างรวดเร็ว ทางราชการทหารจึงให้ตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์ขึ้นอีกแห่งหนึ่งที่สนามเป้า ถนนพหลโยธิน เปิดทำการเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ.2501 ซึ่งตรงกับวันกองทัพบก


 

 

สร้างโดย: 
ปราญชลี ศาศวัตเตชะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 286 คน กำลังออนไลน์