ประเพณีคนตายตีฆ้อง

 

 

ประเพณีสงกรานต์ประเพณีงานแห่พระบรมสารีริกธาตุวัดนางชีประเพณีถือศีลกินเจประเพณีถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้าประเพณีการแข่งเรือประเพณีก่อพระเจดีย์ทรายข้าวเปลือกประเพณีวิ่งควายประเพณีตราดรำลึกประเพณีสู่ขวัญข้าวประเพณีแห่ธงสงกรานต์ประเพณีทำบุญโคนไม้ประเพณีกวนข้าวทิพย์ประเพณีแห่ธงตะขาบประเพณีทอดผ้าป่าน้ำเพ็งประเพณีเทศกาลนมัสการหลวงพ่อโสธรประเพณีแห่ผ้าห่มองค์พระสมุทรเจดีย์ประเพณีตักบาตรน้ำผึ้งประเพณีถวายสลากภัตประเพณีสรงน้ำเจ้าพ่อพระปรงประเพณีพิธีรำโรงประเพณีกำฟ้าประเพณีตักบาตรดอกไม้ประเพณีตักบาตรเทโวประเพณีกองข้าวประเพณีคนตายตีฆ้องประเพณีทำบุญกลางบ้านประเพณีวันไหลประเพณีกวนข้าวทิพย์

 

 

 

ผู้จัดทำ 
ภาคเหนือ 
ภาคกลาง 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
ภาคใต้ 
ผู้จัดทำ 

 

     ในสมัยก่อนเมื่อมีคนตายที่บ้านใด บ้านนั้นจะต้องตีฆ้องเป็นสัญญาณบอกให้เพื่อนบ้านทราบ เรียนกกันว่าตีฆ้องคนตาย ดังนั้นเมื่อมีเสียงดังกังวานขึ้นในหมู่บ้านใดไม่ว่าจะเป็นกลางวันหรือกลางคืน ก็จะเป็นสัญญาณบอกให้ชาวบ้านทราบว่ามีคนนตายชึ้นแลั้นตำบลนั้น ภราดรภาพ (คามเป็นพี่น้องกัน) จขะเกิดขึ้นทันที ทุกคนจะสลัดงานที่ทำมายังบ้านเจ้าของเสียงฆ้องทันที่ ใครถนัดและมีความสามารถทางใดก็จะช่วยกันทางนั้น ใครเป้นช่างก็ช่วยไสไม้ต่อหีบ ผู้หญิงทำอาหารเลี้ยงพระ ใครมีข้าวของเครื่องใช้เงินทาองก็นำช่วยกันด้วยความ
เต็มใจ โดยไม่ต้องเชิญหรือใช้บัตรเชิญฉะนั้น เมื่อมีคนตายขึ้นทุกครั้ง จึงมีประเพณีตคีฆ้องในบ้านศพ เพื่อเป็นสัญญาณแจ้งข่าวให้ชาวบ้านใกล้เคียงทราบ และถือเป็นประเพณีประจำถิ่นของเมืองชลบุรี แต่ปัจจุบันประเพณีคนตายตีฆ้องไม่มีปรากฏให้เห็นแล้ว

จัดทำโดย

นางสาววิยะดา แก้วประเสริฐศรี นางสาวกิ่งดาว แก้วนารี นางสาววิมลนุช กิตติดำรงชัย

โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

Copyright(c) 2006 Ms.Wiyada Kaewprasertsri Ms.Kingdao Kaewnaree Ms.Wimonnuch Kittidumrongchai. All rights reserved.

จำนวนผู้เข้าใช้งาน
ตั้งแต่วันศุกร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2549

thaigoodview.com Version 13.0
บริหารและจัดการโดยทีมงานชาวมัธยมศึกษาและประถมศึกษา
e-mail: webmaster@thaigoodview.com