นี่คือสื่อการเรียนรู้อีกขั้นหนึ่งของวิชาฟิสิกส์  ที่จะทำให้คุณไม่รู้สึกเบื่อ  กับการเรียนวิชาฟิสิกส์อีกต่อไป  เพราะเรามีสื่อดี ๆ ให้คุณเรียนรู้นอกห้องเรียน ทั้งเนื้อหา แบบทดสอบ และข้อสอบในแบบต่าง ๆ มาให้ศึกษาและทดสอบกัน... เรียนสนุก ฉลาดคิด พร้อมเทคนิคไปกับ  SHINE...

 

     กระแสไฟฟ้า

     แหล่งกำเนิดไฟฟ้า
     การนำไฟฟ้า
     กระแสไฟฟ้าในตัวนำ
     กฎของโอห์มและความต้านทาน
     สภาพต้านทานและสภาพนำไฟฟ้า
     ไดโอด
     แรงเคลื่อนไฟฟ้าและความต่างศักย์
     วงจรและเทคนิคการวิเคราะห์วงจร
     เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
     พลังงานไฟฟ้าและกำลัง
     วงจรไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
















 

   Homepage  » เนื้อหา » วงจรและวิธีการวิเคราะห์วงจร

  การต่อความต้านทานแบบอนุกรม

    
การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมหรืออันดับ (series)   เป็นการต่อที่นำตัวต้านทานหลายๆ ตัว มาต่อเรียงกันให้อยู่ในสายเดียวกัน     โดยใช้ปลายหนึ่งของตัวต้านทานตัวที่ 1   ต่อกับปลายหนึ่งของตัวต้านทานตัวที่ 2   นำปลายที่เหลือของตัวต้านทานตัวที่ ต่อกับปลายอีกข้างหนึ่งของตัวต้านทานตัวที่ 3   เรียงลำดับไปเรื่อยๆ 

     กำหนดให้มีตัวต้านทานอยู่  3  ตัว    คือ   R1 ,  R2  และ   R3   ต่อกันแบบอนุกรมกับเซลล์ไฟฟ้า  และมีกระแสไหลในวงจรเท่ากับ  I   ต้องการหาความต้านทานรวมของ  R1 , R2  และ  R3    

ผลของการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม

          1.   กระแสไฟฟ้า (Iผ่านตัวต้านทานทุกตัวเท่ากัน

                                   
S    =     I1     =     I2     =     I3

           2.   ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมเท่ากับผลรวมของความต่างศักย์ไฟฟ้าย่อย

                                   
SV    =     V1  +   V2  +   V3         

การหาความต้านทานรวม

                                                      SR    =     R1  +  R2  +  R3 

    

 

จำนวนผู้เข้าใช้งาน
ตั้งแต่วันที่ 08 พฤศจิกายน 2549

thaigoodview.com Version 13.0
บริหารและจัดการโดยทีมงานชาวมัธยมศึกษาและประถมศึกษา
e-mail: webmaster@thaigoodview.com
Copyright(c) 2006 www.thaigoodview.com. All rights reserved.