• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2adf3fd6dae0bb2a4915c765bc96ad1f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"136\" width=\"463\" src=\"/files/u30446/pic4.gif\" border=\"0\" style=\"width: 438px; height: 118px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><a href=\"/node/88444\">ดาราศาสตร์</a>   <a href=\"/node/88446\">ดาราศาสตร์สมัยปัจจุบัน</a>   <a href=\"/node/88445\">ดาราศาสตร์สมัยกลาง</a>   <a href=\"/node/88448\">ระบบสุริยะจักรวาล</a>   <a href=\"/node/88449\">การกำเนิดระบบสุริยะจักรวาล</a>   <a href=\"/node/88450\">ดาวเคราะห์</a></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"15\" width=\"430\" src=\"/files/u30446/s6.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"379\" width=\"300\" src=\"/files/u30446/Plato-Aristotle.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 206px; height: 240px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://pirun.ku.ac.th/~b4944164/Plato-Aristotle.jpg\">http://pirun.ku.ac.th/~b4944164/Plato-Aristotle.jpg</a>\n</div>\n<p>\nเขาได้ลองใช้ค่าต่างๆ ดูระยะเปรียบเทียบระหว่างดวงจันทร์กับของดวงอาทิตย์จะเป็นเท่าไร รวมทั้งได้ลองใช้ค่า 20 เท่าที่อาริสตาร์คัสหาได้ด้วย แต่ก็หาระยะทางของดวงอาทิตย์ได้ไม่มากกว่าระยะของดวงจันทร์มากมายนัก ซึ่งเขาหาระยะทางถึงดวงจันทร์ได้ว่าเป็น 29 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของโลก ซึ่งค่าที่ถูกต้องคือเป็น 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางโลก ซึ่งถือได้ว่าเขาหาค่าได้ใกล้เคียงมาก นอกจากนี้ฮิปปาร์คัสยังสามารถกำหนดความยาวนานของปีหนึ่งผิดพลาดไปไม่เกิน 6 นาที ทั้งยังได้วิเคราะห์ข้อผิดพลาดของเขาเองไว้ด้วยว่า จะผิดพลาดไม่เกิน 15 นาที และเขายังได้สังเกตการณ์เคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ต่างๆ อย่างละเอียดแม่นยำ จนสามารถหาวิธีคำนวณตำแหน่งของดวงอาทิตย์ในปีต่างๆ ได้อย่างแม่นยำ ซึ่งผลงานของเขาช่วยให้สามารถพยากรณ์การเกิดอุปราคาต่างๆ ได้แม่นยำขึ้น และยังช่วยให้นักดาราศาสตร์รุ่นหลังคำนวณการเกิดจันทรุปราคาได้แม่นยำขึ้น และผิดพลาดได้ไม่เกินหนึ่งชั่วโมง\n</p>\n<p>\nนอกจากนี้เขายังเป็นคนแรกที่คิดแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับสุริยุปราคาในเรื่องของพาราลแลกซ์ระหว่างการเกิดจันทรุปราคานั้น ดวงจันทร์โคจรเข้าไปในเงาของโลกและมืดไป คนที่อยู่บนพื้นโลกที่สามารถมองเห็นดวงจันทร์ได้ ก็จะเห็นจันทรุปราคาได้พร้อมกัน ส่วนสุริยุปราคาเกิดเมื่อดวงจันทร์โคจรผ่านเข้ามาบังดวงอาทิตย์ได้มืดดวงพอดี คนที่จะเห็นสุริยุปราคาได้จะต้องอยู่ที่หนึ่งบนโลกซึ่งอยู่ในเดียวเดียวกันกับดวงอาทิตย์และดวงจันทร์เท่านั้น ซึ่งปรากฏการณ์อันนี้เกิดขึ้นเพราะพาราลแลกซ์ ที่ฮิปปาร์คัสได้แสดงวิธีการแก้ไขเกี่ยวกับพาราลแลกซ์นี้ เพื่อจะให้สามารถบอกได้ว่าจะเห็นสุริยุปราคาได้จากที่ใดบ้างบนผิวโลก\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/82161\"><img height=\"136\" width=\"364\" src=\"/files/u30446/iconhome.gif\" border=\"0\" style=\"width: 136px; height: 56px\" /></a> <a href=\"/node/88447\"><img height=\"136\" width=\"364\" src=\"/files/u30446/iconback_0.gif\" border=\"0\" style=\"width: 125px; height: 55px\" /></a>\n</p>\n', created = 1727465299, expire = 1727551699, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2adf3fd6dae0bb2a4915c765bc96ad1f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อริสตาร์คัส

 

เขาได้ลองใช้ค่าต่างๆ ดูระยะเปรียบเทียบระหว่างดวงจันทร์กับของดวงอาทิตย์จะเป็นเท่าไร รวมทั้งได้ลองใช้ค่า 20 เท่าที่อาริสตาร์คัสหาได้ด้วย แต่ก็หาระยะทางของดวงอาทิตย์ได้ไม่มากกว่าระยะของดวงจันทร์มากมายนัก ซึ่งเขาหาระยะทางถึงดวงจันทร์ได้ว่าเป็น 29 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของโลก ซึ่งค่าที่ถูกต้องคือเป็น 30 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางโลก ซึ่งถือได้ว่าเขาหาค่าได้ใกล้เคียงมาก นอกจากนี้ฮิปปาร์คัสยังสามารถกำหนดความยาวนานของปีหนึ่งผิดพลาดไปไม่เกิน 6 นาที ทั้งยังได้วิเคราะห์ข้อผิดพลาดของเขาเองไว้ด้วยว่า จะผิดพลาดไม่เกิน 15 นาที และเขายังได้สังเกตการณ์เคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ต่างๆ อย่างละเอียดแม่นยำ จนสามารถหาวิธีคำนวณตำแหน่งของดวงอาทิตย์ในปีต่างๆ ได้อย่างแม่นยำ ซึ่งผลงานของเขาช่วยให้สามารถพยากรณ์การเกิดอุปราคาต่างๆ ได้แม่นยำขึ้น และยังช่วยให้นักดาราศาสตร์รุ่นหลังคำนวณการเกิดจันทรุปราคาได้แม่นยำขึ้น และผิดพลาดได้ไม่เกินหนึ่งชั่วโมง

นอกจากนี้เขายังเป็นคนแรกที่คิดแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับสุริยุปราคาในเรื่องของพาราลแลกซ์ระหว่างการเกิดจันทรุปราคานั้น ดวงจันทร์โคจรเข้าไปในเงาของโลกและมืดไป คนที่อยู่บนพื้นโลกที่สามารถมองเห็นดวงจันทร์ได้ ก็จะเห็นจันทรุปราคาได้พร้อมกัน ส่วนสุริยุปราคาเกิดเมื่อดวงจันทร์โคจรผ่านเข้ามาบังดวงอาทิตย์ได้มืดดวงพอดี คนที่จะเห็นสุริยุปราคาได้จะต้องอยู่ที่หนึ่งบนโลกซึ่งอยู่ในเดียวเดียวกันกับดวงอาทิตย์และดวงจันทร์เท่านั้น ซึ่งปรากฏการณ์อันนี้เกิดขึ้นเพราะพาราลแลกซ์ ที่ฮิปปาร์คัสได้แสดงวิธีการแก้ไขเกี่ยวกับพาราลแลกซ์นี้ เพื่อจะให้สามารถบอกได้ว่าจะเห็นสุริยุปราคาได้จากที่ใดบ้างบนผิวโลก

สร้างโดย: 
พัชราภรณ์ ปิยะนันทสมดี / อาจารย์ กุลนี อารีมิตร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 376 คน กำลังออนไลน์