• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:57291edd4836ce0e63407a6c305dc399' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"148\" width=\"457\" src=\"/files/u30446/pic3.gif\" border=\"0\" style=\"width: 439px; height: 131px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><a href=\"/node/88444\">ดาราศาสตร์</a>   <a href=\"/node/88446\">ดาราศาสตร์สมัยปัจจุบัน</a>   <a href=\"/node/88445\">ดาราศาสตร์สมัยกลาง</a>   <a href=\"/node/88448\">ระบบสุริยะจักรวาล</a>   <a href=\"/node/88449\">การกำเนิดระบบสุริยะจักรวาล</a>   <a href=\"/node/88450\">ดาวเคราะห์</a></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"30\" width=\"243\" src=\"/files/u30446/39.gif\" border=\"0\" style=\"width: 671px; height: 30px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"234\" width=\"200\" src=\"/files/u30446/4y546pz.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://i16.tinypic.com/4y546pz.jpg\">http://i16.tinypic.com/4y546pz.jpg</a>\n</div>\n<p>\nนักดาราศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในสมัยโบราณก่อนคริสต์กาลก็คือ ฮิปปาร์คัส เขามีชีวิตอยู่ระหว่างปีใดไม่ปรากฏชัด แต่ที่ทราบก็คือ เขาได้ดำเนินงานทางด้านดาราศาสตร์ของเขาที่เมืองโรดส์ (Rhodes) ในระหว่าง 160-127 ปีก่อนค.ศ. ฮิปปาร์คัสได้สังเกตพบปรากฏการณ์บางอย่าง และได้ตรวจวัดเรื่องต่างๆ ที่ยากแก่การกระทำได้ด้วยตาเปล่าไว้มากมายหลายเรื่อง ดังนี้\n</p>\n<p>\n1. แคตตาล็อกดาว ฮิปปาร์คัสเขาได้ตั้งหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ขึ้นที่เกาะโรดส์ และสร้างเครื่องมือหลายอย่างขึ้นเพื่อใช้ในการวัดตำแหน่งและทิศทางของเทหวัตถุบนท้องฟ้า และวัดได้อย่างถูกต้องแม่นยำ เขาได้รวบรวมเรื่องราวของดาวไว้เป็นแคตตาล็อกถึง 850 รายการ โดยบอกตำแหน่งของดาวแต่ละดวงบน<br />\nท้องฟ้าไว้ด้วยระบบโคออร์ดิเนตคล้ายๆ กับละติจูด ทั้งยังได้แบ่งดาวเป็นพวกๆ ตามขนาดของความสว่างเป็น 6 พวก พร้อมกับบอกขนาดความสว่างของดาวแต่ละดวงไว้ด้วย เมื่อตัวเขาได้สังเกตดูดาวด้วยตนเอง แล้วเปรียบเทียบข้อมูลของเขากับรายละเอียดที่มีผู้สังเกตบันทึกไว้แต่ก่อนๆ แล้วเขาก็ได้ค้นพบเหตุการณ์สำคัญที่สุดอย่างหนึ่ง คือ ตำแหน่งของขั้วฟ้าเหนือในท้องฟ้าได้เปลี่ยนที่ไปในระยะเวลาศตวรรษครึ่งที่ผ่านมา เขาจึงสรุปข้อสังเกตนี้ได้อย่างถูกต้องว่า แนวแกนที่ท้องฟ้าหมุนอยู่รอบๆ นี้ค่อยๆ เปลี่ยนทิศทางไปตลอดเวลา คำอธิบายที่แท้จริงของเรื่องนี้ก็คือทิศทางของแกนหมุนของโลกเปลี่ยนไปช้าๆ เนื่องจากความโน้มถ่วงของดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ คล้ายกับแกนหมุนของลูกข่างแกว่งไกวไปมาเป็นรูปกรวย เนื่องจากความโน้มถ่วงของโลกพยายามดึงดูดให้ลูกข่างล้มลงนั่นเอง การแปรปรวนของแกนหมุนของโลกอย่างนี้เรียกว่า การแกว่งส่าย หรือ precession ซึ่งใช้เวลาประมาณ 26,000 ปี จึงจะแกว่งส่ายไปได้ครบรอบหนึ่ง\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/82161\"><img height=\"136\" width=\"364\" src=\"/files/u30446/iconhome.gif\" border=\"0\" style=\"width: 142px; height: 59px\" /></a> <a href=\"/node/88447\"><img height=\"136\" width=\"364\" src=\"/files/u30446/iconback_0.gif\" border=\"0\" style=\"width: 135px; height: 60px\" /></a>\n</p>\n', created = 1727465462, expire = 1727551862, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:57291edd4836ce0e63407a6c305dc399' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฮิปปาร์คัส

 

นักดาราศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในสมัยโบราณก่อนคริสต์กาลก็คือ ฮิปปาร์คัส เขามีชีวิตอยู่ระหว่างปีใดไม่ปรากฏชัด แต่ที่ทราบก็คือ เขาได้ดำเนินงานทางด้านดาราศาสตร์ของเขาที่เมืองโรดส์ (Rhodes) ในระหว่าง 160-127 ปีก่อนค.ศ. ฮิปปาร์คัสได้สังเกตพบปรากฏการณ์บางอย่าง และได้ตรวจวัดเรื่องต่างๆ ที่ยากแก่การกระทำได้ด้วยตาเปล่าไว้มากมายหลายเรื่อง ดังนี้

1. แคตตาล็อกดาว ฮิปปาร์คัสเขาได้ตั้งหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ขึ้นที่เกาะโรดส์ และสร้างเครื่องมือหลายอย่างขึ้นเพื่อใช้ในการวัดตำแหน่งและทิศทางของเทหวัตถุบนท้องฟ้า และวัดได้อย่างถูกต้องแม่นยำ เขาได้รวบรวมเรื่องราวของดาวไว้เป็นแคตตาล็อกถึง 850 รายการ โดยบอกตำแหน่งของดาวแต่ละดวงบน
ท้องฟ้าไว้ด้วยระบบโคออร์ดิเนตคล้ายๆ กับละติจูด ทั้งยังได้แบ่งดาวเป็นพวกๆ ตามขนาดของความสว่างเป็น 6 พวก พร้อมกับบอกขนาดความสว่างของดาวแต่ละดวงไว้ด้วย เมื่อตัวเขาได้สังเกตดูดาวด้วยตนเอง แล้วเปรียบเทียบข้อมูลของเขากับรายละเอียดที่มีผู้สังเกตบันทึกไว้แต่ก่อนๆ แล้วเขาก็ได้ค้นพบเหตุการณ์สำคัญที่สุดอย่างหนึ่ง คือ ตำแหน่งของขั้วฟ้าเหนือในท้องฟ้าได้เปลี่ยนที่ไปในระยะเวลาศตวรรษครึ่งที่ผ่านมา เขาจึงสรุปข้อสังเกตนี้ได้อย่างถูกต้องว่า แนวแกนที่ท้องฟ้าหมุนอยู่รอบๆ นี้ค่อยๆ เปลี่ยนทิศทางไปตลอดเวลา คำอธิบายที่แท้จริงของเรื่องนี้ก็คือทิศทางของแกนหมุนของโลกเปลี่ยนไปช้าๆ เนื่องจากความโน้มถ่วงของดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ คล้ายกับแกนหมุนของลูกข่างแกว่งไกวไปมาเป็นรูปกรวย เนื่องจากความโน้มถ่วงของโลกพยายามดึงดูดให้ลูกข่างล้มลงนั่นเอง การแปรปรวนของแกนหมุนของโลกอย่างนี้เรียกว่า การแกว่งส่าย หรือ precession ซึ่งใช้เวลาประมาณ 26,000 ปี จึงจะแกว่งส่ายไปได้ครบรอบหนึ่ง

สร้างโดย: 
พัชราภรณ์ ปิยะนันทสมดี / อาจารย์ กุลนี อารีมิตร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 373 คน กำลังออนไลน์