• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:aa365a7ad238854b76de388babca07ea' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n <img height=\"345\" width=\"600\" src=\"/files/u40997/1112.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 734px; height: 345px\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"250\" width=\"500\" src=\"/files/u40997/4.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"318\" width=\"500\" src=\"/files/u40997/pinealcolors2.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.crystalinks.com/pinealcolors2.jpg\">http://www.crystalinks.com/pinealcolors2.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ต่อมใต้สมอง</span> <span style=\"color: #ffcc00\">( pituitary gland )</span> มีขนาดประมาณ 1 - 1.5 เซนติเมตร เป็นต่อมที่อยู่ติดกับส่วนล่างของสมองส่วนไฮโปทาลามัส แบ่งได้ 3 ส่วนคือ  ต่อมใต้สมองส่วนหน้า <span style=\"color: #ffcc00\">( anterior pituitary )</span> , ต่อมใต้สมองส่วนกลาง <span style=\"color: #ffcc00\">( interior pituitary )</span> และ ต่อมใต้สมอง ส่วนหลัง <span style=\"color: #ffcc00\">( posteriorpituitary )<br />\n</span>•ต่อมใต้สมองส่วนหน้าและส่วนกลาง : มีต้นกำเนิดมาจากเนื้อเยื่อชนิดเดียวกันที่เรียกว่า Adenohypophysis ซึ่งสามารถสร้าง ฮอร์โมนได้เองดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าเป็นหน่วยเดียวกันซึ่งถือได้ว่าเป็นต่อมไร้ท่อแท้จริง <br />\n•ต่อมใต้สมองส่วนหลัง : เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อเยื่อประสาท ที่เรียกว่า<span style=\"color: #ffcc00\">Neurohypophysis </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\">การหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง</span><br />\n•ต่อมใต้สมองส่วนหน้า : เซลล์ของต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะสร้างฮอร์โมนได้ต้องถูกกระตุ้นจากฮอร์โมนประสาทหรือ<br />\nรีลีสซิ่งฮอร์โมน <span style=\"color: #ffcc00\">( releasing hormone )</span> ที่สร้างจากนิวโรซีครีทอรีเซลล์ <span style=\"color: #ffcc00\">( neurosecretory cell )</span> ที่มีตัวเซลล์อยู่ที่สมองส่วนไฮโพทาลามัสเสียก่อน<br />\n•ต่อมใต้สมองส่วนหลัง : ไม่ได้สร้างฮอร์โมนได้เอง แต่มีปลายแอกซอนของนิวโรซีครีทอรีเซลล์ จากสมองส่วนไฮโปทาลามัสมาสิ้นสุด <br />\nและหลั่งฮอร์โมนประสาทออกมาสู่กระแสเลือดเข้าสู่เส้นเลือดที่มาเลี้ยงต่อมใต้สมองส่วนหลังดังนั้นฮอร์โมนที่หลั่งออกมาจากต่อมใต้สมอง<br />\nส่วนหลังก็คือ ฮอร์โมนประสาทนั่นเอง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <img height=\"250\" width=\"500\" src=\"/files/u40997/12_0.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 402px; height: 178px\" />\n</p>\n<p>\n <span style=\"color: #ff6600\">ฮอร์โมนที่จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า<br />\n</span>      •ฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย<br />\n      •ฮอร์โมนที่กระตุ้นต่อมไทรอยด์<br />\n      •ฮอร์โมนที่กระตุ้นต่อมหมวกไตส่วนนอก<br />\n      •ฮอร์โมนเพศ<br />\n      •ฮอร์โมนที่กระตุ้นการเจริญเติบโตของเต้านมและต่อมน้ำนม\n</p>\n<p>\n<img height=\"250\" width=\"500\" src=\"/files/u40997/14.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 410px; height: 200px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง<br />\n</span>         จะมีความสำคัญและหน้าที่เด่นชัดเฉพาะในสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังบางชนิดเท่านั้น โดยทำหน้าที่ผลิตและหลั่งเมลาโนไซต์สติมิวเลติงฮอร์โมนจะทำหน้าที่กระตุ้นเซลล์เมลาโนไซต์ <span style=\"color: #ffcc00\">(</span><span style=\"color: #ffcc00\">melanocyte)</span> ซึ่งเป็นเซลล์ที่แทรกอยู่ระหว่าง<br />\nหนังกำพร้า <span style=\"color: #ffcc00\">(epidermis) </span>และหนังแท้ (dermis) ให้สังเคราะห์รงควัตถุสีน้ำตาล-ดำที่เรียกว่า เมลานิน <span style=\"color: #ffcc00\">(melanin)</span> นอกจากนั้น MSH ยังทำหน้าที่กระตุ้นให้เมลานินภายในเมลาโนไซต์กระจายตัวออกไปทั่วเซลล์ เป็นให้สีผิวเข้มขึ้น\n</p>\n<p>\n<img height=\"250\" width=\"500\" src=\"/files/u40997/13.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 412px; height: 188px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง</span><br />\n        ต่อมใต้สมองส่วนหลัง : เจริญมาจากเนื้อเยื่อประสาท ต่อมใต้สมองส่วนหลังเป็นที่เก็บฮอร์โมนสองชนิดที่หลั่งจากของใยประสาทแอกซอน (axon)ของนิวโรซีครีทอรีเซลล์ที่ตัวเซลล์อยู่ที่สมองส่วนไฮโพทาลามัสฮอร์โมนจะเคลื่อนที่ตามเส้นประสาทแอกซอนและมาเก็บไว้ที่ต่อมใต้สมองส่วนหลัง<br />\nเมื่อเซลล์ประสาทได้รับการกระตุ้น ฮอร์โมนที่เก็บไว้จะถูกหลั่งเข้าสู่กระแสเลือดไปยังอวัยวะเป้าหมายเป็นพวกโปรตีนฮอร์โมน ฮอร์โมนสองชนิดที่สร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหลังคือ<br />\n     • วาโซเพรสซินหรือแอนตี้ไดยูเรติกฮอร์โมน<span style=\"color: #ffcc00\"> ( vasopressin หรือ antidiuretic hormone) ADH</span> <br />\n     • ออกซิโทซิน <span style=\"color: #ffcc00\">( oxytocin ) <br />\n</span>วาโซเพรสซินหรือแอนตี้ไดยูเรติกฮอร์โมน<br />\nอวัยวะเป้าหมาย : ท่อหน่วยไตและหลอดเลือดแดง<br />\nหน้าที่ : กระตุ้นการดูดน้ำกลับเข้าสู่ท่อหน่วยไตเมื่อปริมาณน้ำในเลือดลดลงจึงควบคุมการเกิดน้ำปัสสาวะ<br />\nความผิดปกติ : ถ้าขาดจะเป็นโรคเบาจืด จะปัสสาวะบ่อยเนื่องจาก ท่อหน่วยไตดูดน้ำกลับเข้าสู่ท่อได้น้อย<br />\nออกซิโทซิน <span style=\"color: #ffcc00\">( oxytocin )<br />\n</span>อวัยวะเป้าหมาย : กล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้ำนม<br />\nหน้าที่ : กระตุ้นกล้ามเนื้อมดลูกให้บีบหรือหดตัวเป็นระยะๆเพื่อให้ทารกคลอด<br />\nกระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้ำนมทำให้มีการหลั่งน้ำนมเพื่อเลี้ยงทารก การดูดนมของทารกช่วย<br />\nกระตุ้นให้มีการหลั่งออกซิโทซิน มากขึ้นทำใหกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้ำนมมีการบีบตัวขับน้ำนมออกมามากขึ้น\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/82053\"><img height=\"188\" width=\"300\" src=\"/files/u40997/16.gif\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727400596, expire = 1727486996, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:aa365a7ad238854b76de388babca07ea' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ต่อมใต้สมอง

 

 

http://www.crystalinks.com/pinealcolors2.jpg

ต่อมใต้สมอง ( pituitary gland ) มีขนาดประมาณ 1 - 1.5 เซนติเมตร เป็นต่อมที่อยู่ติดกับส่วนล่างของสมองส่วนไฮโปทาลามัส แบ่งได้ 3 ส่วนคือ  ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ( anterior pituitary ) , ต่อมใต้สมองส่วนกลาง ( interior pituitary ) และ ต่อมใต้สมอง ส่วนหลัง ( posteriorpituitary )
•ต่อมใต้สมองส่วนหน้าและส่วนกลาง : มีต้นกำเนิดมาจากเนื้อเยื่อชนิดเดียวกันที่เรียกว่า Adenohypophysis ซึ่งสามารถสร้าง ฮอร์โมนได้เองดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าเป็นหน่วยเดียวกันซึ่งถือได้ว่าเป็นต่อมไร้ท่อแท้จริง
•ต่อมใต้สมองส่วนหลัง : เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อเยื่อประสาท ที่เรียกว่าNeurohypophysis

การหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
•ต่อมใต้สมองส่วนหน้า : เซลล์ของต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะสร้างฮอร์โมนได้ต้องถูกกระตุ้นจากฮอร์โมนประสาทหรือ
รีลีสซิ่งฮอร์โมน ( releasing hormone ) ที่สร้างจากนิวโรซีครีทอรีเซลล์ ( neurosecretory cell ) ที่มีตัวเซลล์อยู่ที่สมองส่วนไฮโพทาลามัสเสียก่อน
•ต่อมใต้สมองส่วนหลัง : ไม่ได้สร้างฮอร์โมนได้เอง แต่มีปลายแอกซอนของนิวโรซีครีทอรีเซลล์ จากสมองส่วนไฮโปทาลามัสมาสิ้นสุด
และหลั่งฮอร์โมนประสาทออกมาสู่กระแสเลือดเข้าสู่เส้นเลือดที่มาเลี้ยงต่อมใต้สมองส่วนหลังดังนั้นฮอร์โมนที่หลั่งออกมาจากต่อมใต้สมอง
ส่วนหลังก็คือ ฮอร์โมนประสาทนั่นเอง

 

 

 ฮอร์โมนที่จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
      •ฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย
      •ฮอร์โมนที่กระตุ้นต่อมไทรอยด์
      •ฮอร์โมนที่กระตุ้นต่อมหมวกไตส่วนนอก
      •ฮอร์โมนเพศ
      •ฮอร์โมนที่กระตุ้นการเจริญเติบโตของเต้านมและต่อมน้ำนม

ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนกลาง
         จะมีความสำคัญและหน้าที่เด่นชัดเฉพาะในสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังบางชนิดเท่านั้น โดยทำหน้าที่ผลิตและหลั่งเมลาโนไซต์สติมิวเลติงฮอร์โมนจะทำหน้าที่กระตุ้นเซลล์เมลาโนไซต์ (melanocyte) ซึ่งเป็นเซลล์ที่แทรกอยู่ระหว่าง
หนังกำพร้า (epidermis) และหนังแท้ (dermis) ให้สังเคราะห์รงควัตถุสีน้ำตาล-ดำที่เรียกว่า เมลานิน (melanin) นอกจากนั้น MSH ยังทำหน้าที่กระตุ้นให้เมลานินภายในเมลาโนไซต์กระจายตัวออกไปทั่วเซลล์ เป็นให้สีผิวเข้มขึ้น

ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง
        ต่อมใต้สมองส่วนหลัง : เจริญมาจากเนื้อเยื่อประสาท ต่อมใต้สมองส่วนหลังเป็นที่เก็บฮอร์โมนสองชนิดที่หลั่งจากของใยประสาทแอกซอน (axon)ของนิวโรซีครีทอรีเซลล์ที่ตัวเซลล์อยู่ที่สมองส่วนไฮโพทาลามัสฮอร์โมนจะเคลื่อนที่ตามเส้นประสาทแอกซอนและมาเก็บไว้ที่ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
เมื่อเซลล์ประสาทได้รับการกระตุ้น ฮอร์โมนที่เก็บไว้จะถูกหลั่งเข้าสู่กระแสเลือดไปยังอวัยวะเป้าหมายเป็นพวกโปรตีนฮอร์โมน ฮอร์โมนสองชนิดที่สร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหลังคือ
     • วาโซเพรสซินหรือแอนตี้ไดยูเรติกฮอร์โมน ( vasopressin หรือ antidiuretic hormone) ADH
     • ออกซิโทซิน ( oxytocin )
วาโซเพรสซินหรือแอนตี้ไดยูเรติกฮอร์โมน
อวัยวะเป้าหมาย : ท่อหน่วยไตและหลอดเลือดแดง
หน้าที่ : กระตุ้นการดูดน้ำกลับเข้าสู่ท่อหน่วยไตเมื่อปริมาณน้ำในเลือดลดลงจึงควบคุมการเกิดน้ำปัสสาวะ
ความผิดปกติ : ถ้าขาดจะเป็นโรคเบาจืด จะปัสสาวะบ่อยเนื่องจาก ท่อหน่วยไตดูดน้ำกลับเข้าสู่ท่อได้น้อย
ออกซิโทซิน ( oxytocin )
อวัยวะเป้าหมาย : กล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้ำนม
หน้าที่ : กระตุ้นกล้ามเนื้อมดลูกให้บีบหรือหดตัวเป็นระยะๆเพื่อให้ทารกคลอด
กระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้ำนมทำให้มีการหลั่งน้ำนมเพื่อเลี้ยงทารก การดูดนมของทารกช่วย
กระตุ้นให้มีการหลั่งออกซิโทซิน มากขึ้นทำใหกล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้ำนมมีการบีบตัวขับน้ำนมออกมามากขึ้น

 

 

 

 

 

สร้างโดย: 
นางสาวกัลยารัตน์ เมธีวีรวงศ์ และ นางสาวอารยา คณิตรุ่งเรืองสิน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 335 คน กำลังออนไลน์