• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b6ce9df7b070f494bdfc9670877eb48e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h2>จันทรุปราคา 17 สิงหาคม 2551</h2>\n<div class=\"meta\"><span class=\"date\">3 สิงหาคม 2551</span> <span class=\"reportby\">วรเชษฐ์ บุญปลอด</span></div>\n<p>ปีนี้มีจันทรุปราคาที่สามารถสังเกตเห็นได้ในประเทศไทยเพียงครั้งเดียว เกิดในคืนวันเสาร์ที่ 16 สิงหาคม ถึงเช้ามืดวันอาทิตย์ที่ 17 สิงหาคม 2551 พื้นที่บางส่วนของดวงจันทร์เท่านั้นที่เคลื่อนผ่านเงามืดของโลก เราจึงเรียกว่าจันทรุปราคาบางส่วน</p>\n<p>เงาโลกมีรูปร่างเป็นทรงกรวย ฐานของกรวยอยู่ที่โลก ปลายกรวยทอดยาวออกไปสู่ด้านตรงข้ามดวงอาทิตย์ แบ่งได้เป็นสองส่วนคือเงามืดและเงามัว เงามืดทึบกว่าเงามัวมาก แต่มันไม่มืดสนิทเพราะได้รับแสงอาทิตย์ที่หักเหผ่านบรรยากาศโลก</p>\n<p>จันทรุปราคาครั้งนี้ดวงจันทร์เริ่มสัมผัสเงามัวตั้งแต่เวลา 1.25 น. แต่เราจะยังไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงใด ๆ จนกระทั่งดวงจันทร์เคลื่อนเข้าใกล้เงามืดมากขึ้น เวลาประมาณ 2.20 น. อาจเริ่มเห็นด้านตะวันออกของดวงจันทร์มีลักษณะคล้ำลงเล็กน้อยและมืดมัวลงทุกที (ถ้าเทียบกับขอบฟ้า ตำแหน่งนี้อยู่ทางด้านบนของดวงจันทร์ เฉียงไปทางซ้ายมือ)</p>\n<p>จันทรุปราคาบางส่วนเริ่มต้นในเวลา 2.36 น. เมื่อขอบดวงจันทร์สัมผัสกับขอบเงามืด เวลานั้นดวงจันทร์มีมุมเงยประมาณ 45 องศา หรือกึ่งกลางระหว่างขอบฟ้ากับจุดเหนือศีรษะ ดวงจันทร์เคลื่อนเข้าใกล้ศูนย์กลางเงามากขึ้น เราจึงเห็นดวงจันทร์แหว่งเว้ามากยิ่งขึ้น เวลา 4.10 น. ดวงจันทร์เข้าใกล้ศูนย์กลางเงามากที่สุด เงามืดกินลึกเข้าไปประมาณร้อยละ 81 ของเส้นผ่านศูนย์กลางดวงจันทร์ เราจะเห็นดวงจันทร์มีเสี้ยวสว่างอยู่ทางขวามือและอยู่สูงเหนือขอบฟ้าไม่เกิน 30 องศา</p>\n<p>ช่วงเวลาต่อจากนี้ไป ดวงจันทร์จะเริ่มเคลื่อนตัวออกห่างจากเงาโลก ส่วนมืดคล้ำบนดวงจันทร์จะหดเล็กลงจนกระทั่งสิ้นสุดจันทรุปราคาบางส่วนในเวลา 5.44 น. ที่กรุงเทพฯ ดวงจันทร์มีมุมเงยประมาณ 6 องศา จังหวัดในภาคอีสานเห็นดวงจันทร์อยู่ใกล้ขอบฟ้ามากแล้ว ช่วงเวลาสิ้นสุดจันทรุปราคาบางส่วนนี้ เป็นเวลาที่ท้องฟ้าเริ่มสว่างพอสมควรแล้ว อย่างไรก็ตาม ปรากฏการณ์จะสิ้นสุดอย่างสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อดวงจันทร์ออกจากเงามัวในเวลา 6.55 น. เป็นเวลาที่ดวงจันทร์ตกลับขอบฟ้าไปแล้วสำหรับประเทศไทย</p>\n<p><center><img src=\"/files/u9/L200808D.png\" alt=\"\" width=\"388\" height=\"500\" border=\"0\" /></center></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<table style=\"width: 600px;\" border=\"1\" cellspacing=\"0\" cellpadding=\"3\">\n<tbody>\n<tr>\n<th class=\"tablehead\" colspan=\"4\">ขั้นตอนการเกิดจันทรุปราคาบางส่วน 17 สิงหาคม 2551</th>\n</tr>\n<tr bgcolor=\"#e7e7e7\">\n<td align=\"center\"><strong>เหตุการณ์</strong></td>\n<td align=\"center\"><strong>เวลา</strong></td>\n<td align=\"center\"><strong>มุมเงย</strong><br /> (ที่กรุงเทพฯ)</td>\n<td align=\"center\"><strong>มุมทิศ</strong><br /> (ที่กรุงเทพฯ)</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>1. ดวงจันทร์เริ่มเข้าสู่เงามัวของโลก (ยังไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง)</td>\n<td align=\"center\">01:24:47 น.</td>\n<td align=\"center\">57°</td>\n<td align=\"center\">213°</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>2. เริ่มเกิดจันทรุปราคาบางส่วน (ดวงจันทร์เริ่มแหว่ง)</td>\n<td align=\"center\">02:36:04 น.</td>\n<td align=\"center\">46°</td>\n<td align=\"center\">233°</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>3. กึ่งกลางของปรากฏการณ์ (ดวงจันทร์เข้าไปในเงาลึกที่สุด)</td>\n<td align=\"center\">04:10:06 น.</td>\n<td align=\"center\">27°</td>\n<td align=\"center\">247°</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>4. สิ้นสุดจันทรุปราคาบางส่วน (ดวงจันทร์ทั้งดวงออกจากเงามืด)</td>\n<td align=\"center\">05:44:14 น.</td>\n<td align=\"center\">6°</td>\n<td align=\"center\">255°</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>5. ดวงจันทร์พ้นจากเงามัวของโลก</td>\n<td align=\"center\">06:55:23 น.</td>\n<td align=\"center\">-11°</td>\n<td align=\"center\">260°</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>พื้นที่บนโลกที่เห็นจันทรุปราคาครั้งนี้พร้อมกัน ได้แก่ ประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกา เอเชีย และด้านตะวันตกของออสเตรเลีย ทวีปเอเชียและออสเตรเลียเห็นปรากฏการณ์ในเช้ามืดวันที่ 17 สิงหาคม ส่วนทวีปยุโรปและแอฟริกาเห็นในคืนวันที่ 16 สิงหาคม</p>\n<p>ปี 2552 ประเทศไทยมีโอกาสเห็นจันทรุปราคาเงามัวในคืนวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ซึ่งแม้ว่าดวงจันทร์จะไม่ได้สัมผัสเงามืดเลย แต่อาจสังเกตได้ว่าขอบดวงจันทร์คล้ำลงเล็กน้อย คืนวันส่งท้ายปี 2552 เข้าสู่ปี 2553 จะเกิดจันทรุปราคาบางส่วนขึ้นอีกครั้ง ดวงจันทร์แหว่งเพียงร้อยละ 8</p>\n', created = 1713887892, expire = 1713974292, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b6ce9df7b070f494bdfc9670877eb48e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

จันทรุปราคา 17 สิงหาคม 2551

รูปภาพของ ssspoonsak

จันทรุปราคา 17 สิงหาคม 2551

3 สิงหาคม 2551 วรเชษฐ์ บุญปลอด

ปีนี้มีจันทรุปราคาที่สามารถสังเกตเห็นได้ในประเทศไทยเพียงครั้งเดียว เกิดในคืนวันเสาร์ที่ 16 สิงหาคม ถึงเช้ามืดวันอาทิตย์ที่ 17 สิงหาคม 2551 พื้นที่บางส่วนของดวงจันทร์เท่านั้นที่เคลื่อนผ่านเงามืดของโลก เราจึงเรียกว่าจันทรุปราคาบางส่วน

เงาโลกมีรูปร่างเป็นทรงกรวย ฐานของกรวยอยู่ที่โลก ปลายกรวยทอดยาวออกไปสู่ด้านตรงข้ามดวงอาทิตย์ แบ่งได้เป็นสองส่วนคือเงามืดและเงามัว เงามืดทึบกว่าเงามัวมาก แต่มันไม่มืดสนิทเพราะได้รับแสงอาทิตย์ที่หักเหผ่านบรรยากาศโลก

จันทรุปราคาครั้งนี้ดวงจันทร์เริ่มสัมผัสเงามัวตั้งแต่เวลา 1.25 น. แต่เราจะยังไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงใด ๆ จนกระทั่งดวงจันทร์เคลื่อนเข้าใกล้เงามืดมากขึ้น เวลาประมาณ 2.20 น. อาจเริ่มเห็นด้านตะวันออกของดวงจันทร์มีลักษณะคล้ำลงเล็กน้อยและมืดมัวลงทุกที (ถ้าเทียบกับขอบฟ้า ตำแหน่งนี้อยู่ทางด้านบนของดวงจันทร์ เฉียงไปทางซ้ายมือ)

จันทรุปราคาบางส่วนเริ่มต้นในเวลา 2.36 น. เมื่อขอบดวงจันทร์สัมผัสกับขอบเงามืด เวลานั้นดวงจันทร์มีมุมเงยประมาณ 45 องศา หรือกึ่งกลางระหว่างขอบฟ้ากับจุดเหนือศีรษะ ดวงจันทร์เคลื่อนเข้าใกล้ศูนย์กลางเงามากขึ้น เราจึงเห็นดวงจันทร์แหว่งเว้ามากยิ่งขึ้น เวลา 4.10 น. ดวงจันทร์เข้าใกล้ศูนย์กลางเงามากที่สุด เงามืดกินลึกเข้าไปประมาณร้อยละ 81 ของเส้นผ่านศูนย์กลางดวงจันทร์ เราจะเห็นดวงจันทร์มีเสี้ยวสว่างอยู่ทางขวามือและอยู่สูงเหนือขอบฟ้าไม่เกิน 30 องศา

ช่วงเวลาต่อจากนี้ไป ดวงจันทร์จะเริ่มเคลื่อนตัวออกห่างจากเงาโลก ส่วนมืดคล้ำบนดวงจันทร์จะหดเล็กลงจนกระทั่งสิ้นสุดจันทรุปราคาบางส่วนในเวลา 5.44 น. ที่กรุงเทพฯ ดวงจันทร์มีมุมเงยประมาณ 6 องศา จังหวัดในภาคอีสานเห็นดวงจันทร์อยู่ใกล้ขอบฟ้ามากแล้ว ช่วงเวลาสิ้นสุดจันทรุปราคาบางส่วนนี้ เป็นเวลาที่ท้องฟ้าเริ่มสว่างพอสมควรแล้ว อย่างไรก็ตาม ปรากฏการณ์จะสิ้นสุดอย่างสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อดวงจันทร์ออกจากเงามัวในเวลา 6.55 น. เป็นเวลาที่ดวงจันทร์ตกลับขอบฟ้าไปแล้วสำหรับประเทศไทย

 

ขั้นตอนการเกิดจันทรุปราคาบางส่วน 17 สิงหาคม 2551
เหตุการณ์ เวลา มุมเงย
(ที่กรุงเทพฯ)
มุมทิศ
(ที่กรุงเทพฯ)
1. ดวงจันทร์เริ่มเข้าสู่เงามัวของโลก (ยังไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง) 01:24:47 น. 57° 213°
2. เริ่มเกิดจันทรุปราคาบางส่วน (ดวงจันทร์เริ่มแหว่ง) 02:36:04 น. 46° 233°
3. กึ่งกลางของปรากฏการณ์ (ดวงจันทร์เข้าไปในเงาลึกที่สุด) 04:10:06 น. 27° 247°
4. สิ้นสุดจันทรุปราคาบางส่วน (ดวงจันทร์ทั้งดวงออกจากเงามืด) 05:44:14 น. 255°
5. ดวงจันทร์พ้นจากเงามัวของโลก 06:55:23 น. -11° 260°

พื้นที่บนโลกที่เห็นจันทรุปราคาครั้งนี้พร้อมกัน ได้แก่ ประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกา เอเชีย และด้านตะวันตกของออสเตรเลีย ทวีปเอเชียและออสเตรเลียเห็นปรากฏการณ์ในเช้ามืดวันที่ 17 สิงหาคม ส่วนทวีปยุโรปและแอฟริกาเห็นในคืนวันที่ 16 สิงหาคม

ปี 2552 ประเทศไทยมีโอกาสเห็นจันทรุปราคาเงามัวในคืนวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ซึ่งแม้ว่าดวงจันทร์จะไม่ได้สัมผัสเงามืดเลย แต่อาจสังเกตได้ว่าขอบดวงจันทร์คล้ำลงเล็กน้อย คืนวันส่งท้ายปี 2552 เข้าสู่ปี 2553 จะเกิดจันทรุปราคาบางส่วนขึ้นอีกครั้ง ดวงจันทร์แหว่งเพียงร้อยละ 8

สร้างโดย: 
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 191 คน กำลังออนไลน์