• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:84d2bfa0e76cbb6076913f45657a1434' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nการรักษา\n</p>\n<p>\nถ้าแพทย์สงสัยว่า เป็นไข้ทัยฟอยด์ มักจะให้การรักษาไปก่อนพร้อมกับให้ตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จำเป็น เมื่อปรากฏว่าเป็นโรคอื่น จึงจะเปลี่ยนการรักษาเสียใหม่ ทั้งนี้เพื่อไม่ให้เสียเวลา เนื่องจากการวินิจฉัยที่แน่นอนเสียเวลาหลายวัน และยาที่ใช้รักษาไข้ทัยฟอยด์ยังมีฤทธิ์ทำลายเชื้อแบคทีเรียอย่างอื่นได้ด้วย\n</p>\n<p>\nการรักษาแบ่งออกได้เป็น 2 อย่าง\n</p>\n<p>\n1. การรักษาเฉพาะโรค คือ การใช้ยาเพื่อทำลายเชื้อทำลายทัยฟอยด์ ยาที่ใช้กันมีหลายอย่าง ที่นิยมและได้ผลดี คือ ยาโคไตรม็อกซาโซล ซึ่งมีชื่อเรียกทางการค้าหลายอย่าง เช่น แบคทริน เซปทริม (ราคาเม็ดละ 2 บาท) พวกนี้เป็นยาผลิตในประเทศไทยก็มีหลายบริษัท คุณภาพพอใช้ได้และราคาถูกเกือบครึ่ง สำหรับผู้ใหญ่ให้กินยานี้วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ครั้งละ 3 เม็ด นาน 2-3 สัปดาห์ หรือจนไข้ลดลงประมาณหนึ่งสัปดาห์ ขนาดยาสำหรับเด็กลดลงตามส่วนของยา ขนาดเด็ก 1 เม็ด หรือยาน้ำ 1 ช้อนชา เท่ากับตัวยาเม็ดสำหรับผู้ใหญ่หนึ่งเสี้ยว หรือหนึ่งในสี่เม็ด ยาโคไตรม็อกซาโซล มียาพวกซัลฟาผสมอยู่ ผู้ที่แพ้ซัลฟา ควรแจ้งให้แพทย์ผู้รักษาทราบ เพื่อจะให้ได้ยาอย่างอื่นแทน เช่น ยาคลอแรมนิคอล (ผู้ใหญ่ให้ครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 4 ครั้ง เป็นต้น ทางที่ดีควรจะใช้ยาพวกนี้โดยการกิน อย่าไปพยายามขอฉีดยา เป็นการสิ้นเปลืองและเจ็บตัวโดยใช่เหตุ\n</p>\n<p>\n2. การรักษาทั่วไป เป็นการรักษาตามอาการและการบำรุงดูแลผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยสบายขึ้น ถ้าผู้ป่วยมีแต่อาการใช้ ใช้ผ้าชุบผ้าน้ำอุ่นหรือน้ำเย็นเช็ดตามหน้า คอ และตามตัว จะทำให้ผู้ป่วยสบายขึ้น สำหรับผู้ใหญ่และเด็กโตไข้ไม่มีโทษอะไร เพียงแต่แสดงว่า โรคยังไม่หาย ยังดำเนินอยู่ เฉพาะเด็กเล็กที่ชักเวลามีไข้ เท่านั้น ที่ต้องระวังเรื่องไข้ ถ้ามีปวดศีรษะ กระสับกระส่าย อาจต้องให้ยาลดไข้ร่วมด้วย เช่น ยาพาราเซตาม่อล ขนาด 300-500 มิลลิกรัม ราคาเม็ดละ 20 สตางค์) สำหรับผู้ใหญ่ให้กินครั้งละ 1-2 เม็ด ได้ทุก 6 ชั่วโมง ผู้ป่วยควรดื่มน้ำบ่อยๆ เพราะเสียน้ำไปทางผิวหนัง และลมหายใจมาก ทำให้ผิวหนังและคอแห้ง ควรกินอาหารอ่อนและย่อยง่าย ถ้าผู้ป่วยท้องผูกหลายวัน ไม่ควรกินยาถ่ายหรือยาระบาย โดยเฉพาะอาทิตย์ที่สองและที่สามของการมีไข้ อาจทำให้แผลในลำไส้มีเลือดออก หรือทะลุได้ ควรใช้น้ำอุ่นสวน หรือสวนด้วยน้ำยาสำเร็จรูป ที่มีขายตามร้านขายยาทั่วไป\n</p>\n', created = 1727458076, expire = 1727544476, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:84d2bfa0e76cbb6076913f45657a1434' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การรักษา

รูปภาพของ sss27590

การรักษา

ถ้าแพทย์สงสัยว่า เป็นไข้ทัยฟอยด์ มักจะให้การรักษาไปก่อนพร้อมกับให้ตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จำเป็น เมื่อปรากฏว่าเป็นโรคอื่น จึงจะเปลี่ยนการรักษาเสียใหม่ ทั้งนี้เพื่อไม่ให้เสียเวลา เนื่องจากการวินิจฉัยที่แน่นอนเสียเวลาหลายวัน และยาที่ใช้รักษาไข้ทัยฟอยด์ยังมีฤทธิ์ทำลายเชื้อแบคทีเรียอย่างอื่นได้ด้วย

การรักษาแบ่งออกได้เป็น 2 อย่าง

1. การรักษาเฉพาะโรค คือ การใช้ยาเพื่อทำลายเชื้อทำลายทัยฟอยด์ ยาที่ใช้กันมีหลายอย่าง ที่นิยมและได้ผลดี คือ ยาโคไตรม็อกซาโซล ซึ่งมีชื่อเรียกทางการค้าหลายอย่าง เช่น แบคทริน เซปทริม (ราคาเม็ดละ 2 บาท) พวกนี้เป็นยาผลิตในประเทศไทยก็มีหลายบริษัท คุณภาพพอใช้ได้และราคาถูกเกือบครึ่ง สำหรับผู้ใหญ่ให้กินยานี้วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ครั้งละ 3 เม็ด นาน 2-3 สัปดาห์ หรือจนไข้ลดลงประมาณหนึ่งสัปดาห์ ขนาดยาสำหรับเด็กลดลงตามส่วนของยา ขนาดเด็ก 1 เม็ด หรือยาน้ำ 1 ช้อนชา เท่ากับตัวยาเม็ดสำหรับผู้ใหญ่หนึ่งเสี้ยว หรือหนึ่งในสี่เม็ด ยาโคไตรม็อกซาโซล มียาพวกซัลฟาผสมอยู่ ผู้ที่แพ้ซัลฟา ควรแจ้งให้แพทย์ผู้รักษาทราบ เพื่อจะให้ได้ยาอย่างอื่นแทน เช่น ยาคลอแรมนิคอล (ผู้ใหญ่ให้ครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 4 ครั้ง เป็นต้น ทางที่ดีควรจะใช้ยาพวกนี้โดยการกิน อย่าไปพยายามขอฉีดยา เป็นการสิ้นเปลืองและเจ็บตัวโดยใช่เหตุ

2. การรักษาทั่วไป เป็นการรักษาตามอาการและการบำรุงดูแลผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยสบายขึ้น ถ้าผู้ป่วยมีแต่อาการใช้ ใช้ผ้าชุบผ้าน้ำอุ่นหรือน้ำเย็นเช็ดตามหน้า คอ และตามตัว จะทำให้ผู้ป่วยสบายขึ้น สำหรับผู้ใหญ่และเด็กโตไข้ไม่มีโทษอะไร เพียงแต่แสดงว่า โรคยังไม่หาย ยังดำเนินอยู่ เฉพาะเด็กเล็กที่ชักเวลามีไข้ เท่านั้น ที่ต้องระวังเรื่องไข้ ถ้ามีปวดศีรษะ กระสับกระส่าย อาจต้องให้ยาลดไข้ร่วมด้วย เช่น ยาพาราเซตาม่อล ขนาด 300-500 มิลลิกรัม ราคาเม็ดละ 20 สตางค์) สำหรับผู้ใหญ่ให้กินครั้งละ 1-2 เม็ด ได้ทุก 6 ชั่วโมง ผู้ป่วยควรดื่มน้ำบ่อยๆ เพราะเสียน้ำไปทางผิวหนัง และลมหายใจมาก ทำให้ผิวหนังและคอแห้ง ควรกินอาหารอ่อนและย่อยง่าย ถ้าผู้ป่วยท้องผูกหลายวัน ไม่ควรกินยาถ่ายหรือยาระบาย โดยเฉพาะอาทิตย์ที่สองและที่สามของการมีไข้ อาจทำให้แผลในลำไส้มีเลือดออก หรือทะลุได้ ควรใช้น้ำอุ่นสวน หรือสวนด้วยน้ำยาสำเร็จรูป ที่มีขายตามร้านขายยาทั่วไป

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 329 คน กำลังออนไลน์