• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a2b55d3881ac9003f0d3c60f156eea24' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"298\" src=\"/files/u20640/3_B3_EC_20__BB__CD__20_BB_C2_D8_B5_DA_E2_B5_.jpg\" alt=\"พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)\" height=\"394\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nแหล่งอ้างอิงรูปภาพ : <a href=\"http://www.dhammajak.net/gallery/albums/userpics/%BE%C3%D0%BE%C3%CB%C1%A4%D8%B3%\">http://www.dhammajak.net/gallery/albums/userpics/%BE%C3%D0%BE%C3%CB%C1%A4%D8%B3%</a>\n</p>\n<p>\n   พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) นามเดิม ประยุทธ์ นามสกุล อารยางกูร เกิดเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2481 ที่อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี บรรพชาเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2494 สอบเปรียญธรรม 9 ประโยคได้ขณะยังเป็นสามเณร จึงได้รับการอุปสมบทในพระบรมราชานุเคราะห์เป็นนาคหลวง ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2504 สอบได้ปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1) จากมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2505 และสอบได้วิชาชุดครูพิเศษมัธยม (พ.ม.) เมื่อปี พ.ศ. 2506\n</p>\n<p>\n<u>สมณศักดิ์</u>\n</p>\n<p>\n - พ.ศ. 2512 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระศรีวิสุทธิโมลี<br />\n - พ.ศ. 2516 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชวรมุนี<br />\n - พ.ศ. 2530 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ที่ พระเทพเวที<br />\n - พ.ศ. 2536 ได้รับพระราชาทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ที่ พระธรรมปิฎก อดุลญาณนายก ปาพจนดิลกนิวิฐ ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี\n</p>\n<p>\n   ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตตมศักดิ์ จากสถาบันการศึกษา 10 สถาบัน ดังนี้\n</p>\n<p>\n   1. พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2525<br />\n   2. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาปรัชญา) จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2529<br />\n   3. ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ (สาขาหลักสูตรและการสอน) จากมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2529<br />\n   4. ศิลปศาตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ศึกษาศาสตร์-การสอน) จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2530<br />\n   5. อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2531<br />\n   6. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาภาษาศาสตร์) จากมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2531<br />\n   7. การศึกษาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาปรัชญาการศึกษา) จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2533<br />\n   8. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาศึกษาศาสตร์) จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง พ.ศ. 2536<br />\n   9. ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตตกิตติมศักด์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2537<br />\n   10.ตรีปิฎกาจารย์กิตติมศักดิ์ จากนวนาลันทามหาวิหาร รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย พ.ศ. 2538<br />\n   11.อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (จริยศาสตร์ศึกษา) จากมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2538<br />\n  - เคยดำรงตำแหน่งรองเลขาธิการมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตั้งแต่ พ.ศ. 2507-2517 และเป็นเจ้าอาวาสวัดพระพิเรนทร์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2515-2519<br />\n  - ปัจจุบันเป็นเจ้าอาวาสวัดญาณเวศกวัน ตำบลบางกระทึก อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ตั้งแต่ พ.ศ. 2537\n</p>\n<p>\n<u>ประกาศเกียรติคุณและรางวัล</u>\n</p>\n<p>\n  - พ.ศ. 2525 ได้รับการประกาศเกียรติคุณในฐานะผู้ทำคุณประโยชน์แก่พระพุทธศาสนา ในการฉลอง 200 ปี กรุงรัตนโกสินทร์<br />\n  - พ.ศ. 2525 ได้รับรางวัลวรรณกรรมชั้นที่ 1 ประเภทร้อยแก้ว สำหรับงานนิพนธ์พุทธธรรม จากมูลนิธิธนาคารกรุงเทพฯ<br />\n  - พ.ศ. 2532 ได้รับพระราชทานโล่รางวัล “มหิดลวรานุสรณ์”<br />\n  - พ.ศ. 2532 ได้รับโล่ผู้ทำคุณประโยชน์ต่อการศึกษา ในวาระครบรอบ 20 ปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />\n  - พ.ศ. 2533 ได้รับรางวัลกิตติคุณสัมพันธ์ “สังข์เงิน” สาขาเผยแผ่พระพุทธศาสนา<br />\n  - พ.ศ. 2537 ได้รับรางวัลการศึกษาเพื่อสันติภาพ จากองค์การยูเนสโก (UNESCO Prize for Peace Dducation)<br />\n  - พ.ศ. 2538 คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ประกาศเชิดชูเกียรติเป็น “ผู้ทรงคุณวุฒิทางวัฒนธรรม)\n</p>\n<p>\n<u>ผลงาน</u>\n</p>\n<p>\n   พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) มีผลงานที่มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานเผยแพร่พระพุทธศาสนา ปรากฏในหลายลักษณะ ทั้งในด้านการสอน การบรรยาย การปาฐกถา การอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการแสดงพระธรรมเทศนา ท่านได้รับอาราธนาไปสอนวิชาการทางพระพุทธศาสนา ณ มหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศหลายครั้ง อาทิ University Museum, University of Pennsylvania ใน พ.ศ. 2515 Swarthmore College, Pennsylvania ใน พ.ศ. 2519 และ Harvard University ใน พ.ศ. 2524\n</p>\n<p>\n   พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ยังเป็นพระสงฆ์ไทยที่ได้รับการระบุอาราธนาแสดงปาฐกถาในที่ประชุมนานาชาติ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศหลายครั้ง เช่น ปาฐกถาในการประชุม The International Conference on Higher Education and the Promotion of Peace เรื่อง Buddhism and Peace ซึ่งจัดขึ้นที่โรงแรมเอเชีย กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2529 บรรยายในการประชุม Buddhistic Knowledge Exchange Programme in Honour of His Majesty the King of Thailand เรื่อง Identity of Buddhism ซึ่งจัดโดยองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พสล.) เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม\n</p>\n<p>\n   นอกจากนั้น ท่านยังได้ปาฐกถาในการประชุม The Sixth Asian Workshop on Child and Adolescent Development เรื่อง Influence of Western &amp; Asian Thought on Human Culture Development เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2533 และได้รับนิมนต์ให้จัดทำสารบรรยายสำคัญ เรื่อง A Buddhist Solution for the Twenty3first Century ในการประชุมสภาศาสนาโลก (Parliament of the World’s Religions) ณ นครชิคาโก สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2536\n</p>\n<p>\n   ในส่วนงานนิพนธ์นั้น พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) จะนิพนธ์ในลักษณะตำรา เอกสารทางวิชาการ และหนังสืออธิบายธรรมทั่วๆ ไป เป็นที่รู้จักแพร่หลายในวงวิชาการ มีจำนวนมากกว่า 230 เรื่อง เช่น พุทธธรรม, พจนานุกรมพุทธศาสตร์ : ฉบับประมวลธรรม, พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์, ธรรมนูญชีวิต, การศึกษาของคณะสงฆ์ : ปัญหาที่รอทางออก, การศึกษาที่สากลบนรากฐานแห่งภูมิปัญญาไทย, Thai Buddhism in the Buddhist Economics, พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์, นิติศาสตร์แนวพุทธ เป็นต้น\n</p>\n<p>\n   ท่านยังได้รับนิมนต์เป็นที่ปรึกษาของ มหาวิทยาลัยมหิดล ในการสร้างพระไตรปิฎกฉบับคอมพิวเตอร์สำเร็จสมบูรณ์เป็นฉบับแรกของโลก ทำให้การศึกษาค้นคว้าหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาเป็นไปได้อย่างสะดวกรวดเร็วและถูกต้องแม่นยำ และยังได้เขียนบทความใหม่ๆ เพื่อนำลงในนิตยสารพุทธจักรทุกเดือน ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยอีกด้วย\n</p>\n<p>\n<u>คุณธรรมที่เป็นแบบอย่าง</u>\n</p>\n<p>\n 1. เป็นปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา ท่านเป็นผู้ศึกษาพระพุทธศาสนาอย่างรู้แจ้ง จนเข้าใจหลักธรรมพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง ท่านจึงสามารถบรรยายธรรมทางพระพุทธศาสนาให้บุคคลเข้าใจได้อย่างชัดเจน\n</p>\n<p>\n 2. เป็นแบบอย่างของพระภิกษุผู้ใฝ่การศึกษาธรรม ท่านมีวัตรปฏิบัติที่ประกอบไปด้วยเมตตา วัตรปฏิบัติที่เรียบร้อยทั้งทางกาย วาจา และใจ จึงเป็นแบบอย่างของพระภิกษุและพุทธศาสนิกชนทั้งหลายถึงยึดถือเป็นแนวปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้\n</p>\n<p>\n 3. แต่งตำราพุทธศาสนา ท่านได้แต่งตำราทางพระพุทธศาสนามากมาย ที่สำคัญที่สุดได้แก่ หนังสือพุทธธรรม หนังสือพจนานุกรมพุทศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ และฉบับประมวลธรรม ซึ่งเป็นหนังสือที่มีการนำมาอ้างอิงในงานเขียนเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาอยู่ตลอดเวลา\n</p>\n', created = 1727463873, expire = 1727550273, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a2b55d3881ac9003f0d3c60f156eea24' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ชาวพุทธตัวอย่าง

รูปภาพของ pnp31471

พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)

พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต)

แหล่งอ้างอิงรูปภาพ : http://www.dhammajak.net/gallery/albums/userpics/%BE%C3%D0%BE%C3%CB%C1%A4%D8%B3%

   พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) นามเดิม ประยุทธ์ นามสกุล อารยางกูร เกิดเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2481 ที่อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี บรรพชาเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2494 สอบเปรียญธรรม 9 ประโยคได้ขณะยังเป็นสามเณร จึงได้รับการอุปสมบทในพระบรมราชานุเคราะห์เป็นนาคหลวง ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2504 สอบได้ปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1) จากมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมื่อปี พ.ศ. 2505 และสอบได้วิชาชุดครูพิเศษมัธยม (พ.ม.) เมื่อปี พ.ศ. 2506

สมณศักดิ์

 - พ.ศ. 2512 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระศรีวิสุทธิโมลี
 - พ.ศ. 2516 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชวรมุนี
 - พ.ศ. 2530 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ที่ พระเทพเวที
 - พ.ศ. 2536 ได้รับพระราชาทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ที่ พระธรรมปิฎก อดุลญาณนายก ปาพจนดิลกนิวิฐ ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

   ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตตมศักดิ์ จากสถาบันการศึกษา 10 สถาบัน ดังนี้

   1. พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2525
   2. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาปรัชญา) จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2529
   3. ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ (สาขาหลักสูตรและการสอน) จากมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2529
   4. ศิลปศาตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ศึกษาศาสตร์-การสอน) จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2530
   5. อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2531
   6. ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาภาษาศาสตร์) จากมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2531
   7. การศึกษาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาปรัชญาการศึกษา) จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2533
   8. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาศึกษาศาสตร์) จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง พ.ศ. 2536
   9. ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตตกิตติมศักด์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2537
   10.ตรีปิฎกาจารย์กิตติมศักดิ์ จากนวนาลันทามหาวิหาร รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย พ.ศ. 2538
   11.อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (จริยศาสตร์ศึกษา) จากมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2538
  - เคยดำรงตำแหน่งรองเลขาธิการมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตั้งแต่ พ.ศ. 2507-2517 และเป็นเจ้าอาวาสวัดพระพิเรนทร์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2515-2519
  - ปัจจุบันเป็นเจ้าอาวาสวัดญาณเวศกวัน ตำบลบางกระทึก อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ตั้งแต่ พ.ศ. 2537

ประกาศเกียรติคุณและรางวัล

  - พ.ศ. 2525 ได้รับการประกาศเกียรติคุณในฐานะผู้ทำคุณประโยชน์แก่พระพุทธศาสนา ในการฉลอง 200 ปี กรุงรัตนโกสินทร์
  - พ.ศ. 2525 ได้รับรางวัลวรรณกรรมชั้นที่ 1 ประเภทร้อยแก้ว สำหรับงานนิพนธ์พุทธธรรม จากมูลนิธิธนาคารกรุงเทพฯ
  - พ.ศ. 2532 ได้รับพระราชทานโล่รางวัล “มหิดลวรานุสรณ์”
  - พ.ศ. 2532 ได้รับโล่ผู้ทำคุณประโยชน์ต่อการศึกษา ในวาระครบรอบ 20 ปี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  - พ.ศ. 2533 ได้รับรางวัลกิตติคุณสัมพันธ์ “สังข์เงิน” สาขาเผยแผ่พระพุทธศาสนา
  - พ.ศ. 2537 ได้รับรางวัลการศึกษาเพื่อสันติภาพ จากองค์การยูเนสโก (UNESCO Prize for Peace Dducation)
  - พ.ศ. 2538 คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ประกาศเชิดชูเกียรติเป็น “ผู้ทรงคุณวุฒิทางวัฒนธรรม)

ผลงาน

   พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) มีผลงานที่มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานเผยแพร่พระพุทธศาสนา ปรากฏในหลายลักษณะ ทั้งในด้านการสอน การบรรยาย การปาฐกถา การอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการแสดงพระธรรมเทศนา ท่านได้รับอาราธนาไปสอนวิชาการทางพระพุทธศาสนา ณ มหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศหลายครั้ง อาทิ University Museum, University of Pennsylvania ใน พ.ศ. 2515 Swarthmore College, Pennsylvania ใน พ.ศ. 2519 และ Harvard University ใน พ.ศ. 2524

   พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ยังเป็นพระสงฆ์ไทยที่ได้รับการระบุอาราธนาแสดงปาฐกถาในที่ประชุมนานาชาติ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศหลายครั้ง เช่น ปาฐกถาในการประชุม The International Conference on Higher Education and the Promotion of Peace เรื่อง Buddhism and Peace ซึ่งจัดขึ้นที่โรงแรมเอเชีย กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2529 บรรยายในการประชุม Buddhistic Knowledge Exchange Programme in Honour of His Majesty the King of Thailand เรื่อง Identity of Buddhism ซึ่งจัดโดยองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พสล.) เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม

   นอกจากนั้น ท่านยังได้ปาฐกถาในการประชุม The Sixth Asian Workshop on Child and Adolescent Development เรื่อง Influence of Western & Asian Thought on Human Culture Development เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2533 และได้รับนิมนต์ให้จัดทำสารบรรยายสำคัญ เรื่อง A Buddhist Solution for the Twenty3first Century ในการประชุมสภาศาสนาโลก (Parliament of the World’s Religions) ณ นครชิคาโก สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2536

   ในส่วนงานนิพนธ์นั้น พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) จะนิพนธ์ในลักษณะตำรา เอกสารทางวิชาการ และหนังสืออธิบายธรรมทั่วๆ ไป เป็นที่รู้จักแพร่หลายในวงวิชาการ มีจำนวนมากกว่า 230 เรื่อง เช่น พุทธธรรม, พจนานุกรมพุทธศาสตร์ : ฉบับประมวลธรรม, พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์, ธรรมนูญชีวิต, การศึกษาของคณะสงฆ์ : ปัญหาที่รอทางออก, การศึกษาที่สากลบนรากฐานแห่งภูมิปัญญาไทย, Thai Buddhism in the Buddhist Economics, พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์, นิติศาสตร์แนวพุทธ เป็นต้น

   ท่านยังได้รับนิมนต์เป็นที่ปรึกษาของ มหาวิทยาลัยมหิดล ในการสร้างพระไตรปิฎกฉบับคอมพิวเตอร์สำเร็จสมบูรณ์เป็นฉบับแรกของโลก ทำให้การศึกษาค้นคว้าหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาเป็นไปได้อย่างสะดวกรวดเร็วและถูกต้องแม่นยำ และยังได้เขียนบทความใหม่ๆ เพื่อนำลงในนิตยสารพุทธจักรทุกเดือน ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยอีกด้วย

คุณธรรมที่เป็นแบบอย่าง

 1. เป็นปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา ท่านเป็นผู้ศึกษาพระพุทธศาสนาอย่างรู้แจ้ง จนเข้าใจหลักธรรมพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง ท่านจึงสามารถบรรยายธรรมทางพระพุทธศาสนาให้บุคคลเข้าใจได้อย่างชัดเจน

 2. เป็นแบบอย่างของพระภิกษุผู้ใฝ่การศึกษาธรรม ท่านมีวัตรปฏิบัติที่ประกอบไปด้วยเมตตา วัตรปฏิบัติที่เรียบร้อยทั้งทางกาย วาจา และใจ จึงเป็นแบบอย่างของพระภิกษุและพุทธศาสนิกชนทั้งหลายถึงยึดถือเป็นแนวปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้

 3. แต่งตำราพุทธศาสนา ท่านได้แต่งตำราทางพระพุทธศาสนามากมาย ที่สำคัญที่สุดได้แก่ หนังสือพุทธธรรม หนังสือพจนานุกรมพุทศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ และฉบับประมวลธรรม ซึ่งเป็นหนังสือที่มีการนำมาอ้างอิงในงานเขียนเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาอยู่ตลอดเวลา

รูปภาพของ pnp33665

เฮ้ย คุ้นเนอะ

5555+

10จ้ะ เอาไปสอบปลายภาคได้

555+

รูปภาพของ pnp33671

แนนให้ 10 จ้า

ดีมาก มีสาระ

อิอิอิ

รูปภาพของ pnp33662

เยี่ยมครับบบ

 

เอา ไป 10 !

รูปภาพของ pnp33673

สวยนี่น้าส์

 ทามได้ไงเนี้ย

เต็ม 10 ดิ

 

บายๆ ^-^

สวยงามมากคับ

จัดกันไงหว่า

เราพิมแทบตายเน่ามากเลย55

เอาไป10เลยมิ้นท์                                                       

รูปภาพของ pnp33667

น่าสนใจดี

สวยงาม 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp32300

เทพๆ 10 คะแนน

 

อิอิ

 

 

รูปภาพของ pnp33672

เนื้อหาดีน่าสนใจมาก  รูปสวยดี

ทำงานเรียนร้อยให้  10 คะแนน

รูปภาพของ pnp31446

ทำงานถูกต้อง เป็นประโยชน์

 

ส่งตามเวลาอีกนะ

 

เนื้อหาน่าสนใจ  10 สิค่ะ แบบนี้อ่ะ

รูปภาพของ pnp31237

มีสาระครับ

เอาไป 10 เต็มครับ

รูปภาพของ pnp33607

ให้ 10 คะแนนครับ.

น่าสนใจ 

 

S i R i U s Z . b a D z . V i r G i n .

 ______________________________ . L o v e ~ ♡

 L a s t M o M e n t .

รูปภาพของ pnp31144

10 เต็มมมมม

 

น่าสนใจดี

รูปภาพของ pnp33660

มีสาระ ให้10เลยนะ

รูปภาพของ pnp31503

เนื้อหาดีมาก

มีประโยชน์

ให้ 10 คะแนนเต็ม 

รูปภาพของ pnp31585

เหมาะดี

เอาไปเลย 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp31315

เหมาะจ้าๆ

 

 

ให้ 10 คะแนจ้า

รูปภาพของ pnp31269

เนื้อหาดีจ้า

 มีประโยชน์จ้า

 

น้ำหวานให้ 10 จ้า

รูปภาพของ pnp31264

เนื้อหาดีจ้า

มีประโยชน์ๆ

 

10ๆ

รูปภาพของ pnp31311

เนื้อหาดีค่ะ

 

ให้ 10ๆ

รูปภาพของ pnp31501

อือก็ดีนะนำความรู้มาใช้ได้

เนื้อหาดี

 

ครบ

 

10เอ๊งนะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 351 คน กำลังออนไลน์