• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3c514c1e9ffbda14d057209cf85a67f2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">1. ความหมาย ประวัติไวรัสคอมพิวเตอร์</span>   <strong>  </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong> ไวรัสคอมพิวเตอร์</strong> (computer virus) หรือเรียกสั้นว่า <b>ไวรัส</b> คือ </span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"โปรแกรมคอมพิวเตอร์\"><u><span style=\"color: #ff6600\">โปรแกรมคอมพิวเตอร์</span></u></a><span style=\"color: #ff6600\">ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่อง</span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"คอมพิวเตอร์\"><u><span style=\"color: #ff6600\">คอมพิวเตอร์</span></u></a><span style=\"color: #ff6600\">โดยไม่ได้รับความยินยอมจาก ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">  ประวัติ              ในปี </span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2505\" title=\"พ.ศ. 2505\"><u><span style=\"color: #ff6600\">พ.ศ. 2505</span></u></a><span style=\"color: #ff6600\"> (ค.ศ. 1962) ทีมวิศวกรของ Bell Telephone Laboratories ได้สร้างเกมชื่อว่า &quot;Darwin&quot; ถือเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวแรกที่มีรูปแบบของไวรัส โดยฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำ เกมนี้ใช้คำศัพท์บางอย่างที่มีคำว่า &quot;supervisor&quot; มีลักษณะที่กำหนดกฎเกณฑ์การต่อสู้ระหว่างผู้เข้าแข่งขัน โปรแกรม Darwin นี้มีความสามารถที่จะวิจัยสภาพแวดล้อมของมัน ทำสำเนา และทำลายตัวเองได้ จุดประสงค์หลักของเกมนี้ก็คือลบโปรแกรมทั้งหมดที่คู่แข่งเขียนและครอบครองสนามรบ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ต้นปี </span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2513\" title=\"พ.ศ. 2513\"><u><span style=\"color: #ff6600\">พ.ศ. 2513</span></u></a><span style=\"color: #ff6600\"> (ค.ศ. 1970) มีการตรวจพบไวรัส Creeper ในเครือข่าย APRAnet ของทหารอเมริกา ถือเป็นต้นแบบไวรัสคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โปรแกรม Creeper สามารถเข้าครอบครองเครือข่ายผ่านโมเด็มและส่งสำเนาตัวเองไปที่ฝั่ง remote ไวรัสนี้ทำให้คนรู้ว่าติดไวรัสด้วยการ broadcast ข้อความ &quot;I\'M THE CREEPER ... CATCH ME IF YOU CAN&quot;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ปี </span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2517\" title=\"พ.ศ. 2517\"><u><span style=\"color: #ff6600\">พ.ศ. 2517</span></u></a><span style=\"color: #ff6600\"> (ค.ศ. 1974) โปรแกรมชื่อ &quot;Rabbit&quot; โผล่ขึ้นมาบนเครื่องเมนเฟรมที่เรียกชื่อนี้เพราะมันไม่ได้ทำอะไรนอกจากสำเนาตัวเองอย่างรวดเร็วไปในระบบเก็บข้อมูลชนิดต่างๆ Rabbit นี้ได้ดึงทรัพยากรของระบบมาใช้อย่างมาก ทำให้การทำงานกระทบอย่างรุนแรงจนอาจทำให้ระบบทำงานผิดพลาดได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ปี </span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2525\" title=\"พ.ศ. 2525\"><u><span style=\"color: #ff6600\">พ.ศ. 2525</span></u></a><span style=\"color: #ff6600\"> (ค.ศ. 1982) มีการตรวจพบไวรัสชื่อ &quot;Elk Cloner&quot; นั้นเป็นคอมพิวเตอร์ไวรัสบนเครื่อง</span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B8%A5\" title=\"คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล\"><u><span style=\"color: #ff6600\">คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล</span></u></a><span style=\"color: #ff6600\">ตัวแรก ซึ่งแพร่กระจาย คือในวงที่กว้างออกไปกว่าภายในห้องทดลองที่สร้างโปรแกรม โปรแกรมนี้ถูกเขียนขึ้นโดย Rich Skrenta โดยไวรัสนี้จะติดไปกับระบบปฏิบัติการ Apple DOS 3.3 ผ่านทาง boot sector ของฟล็อปปี้ดิสก์ ณ เวลานั้นผลของมันทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางคนนึกว่าไวรัสคอมพิวเตอร์เกิดจากมนุษย์ต่างดาว เพราะทำให้การแสดงภาพที่จอกลับหัว, ทำตัวอักษรกระพริบ, ขึ้นข้อความต่างๆออกมา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ปี </span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2526\" title=\"พ.ศ. 2526\"><u><span style=\"color: #ff6600\">พ.ศ. 2526</span></u></a><span style=\"color: #ff6600\"> (ค.ศ. 1983) Len Adleman แห่งมหาวิทยาลัย Lehigh ตั้งคำว่า &quot;Virus&quot; ว่าเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำสำเนาตัวเองได้ และในปีถัดมาใน Information security conference ครั้งที่ 7 Fred Cohen ได้ให้คำจำกัดความของคำ &quot;computer virus&quot; ว่าเป็นโปรแกรมที่สามารถติดต่อไปยังโปรแกรมอื่นโดยการแก้ไขโปรแกรมเดิมเพื่อแพร่ขยายตัวเอง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) Fred Cohen บิดาแห่งไวรัสศาสตร์ (Virology) ได้ใช้คอมพิวเตอร์ VAX 11/750 สาธิตว่าโปรแกรมไวรัสสามารถฝังตัวเข้าไปใน object อื่นได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ปี </span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2529\" title=\"พ.ศ. 2529\"><u><span style=\"color: #ff6600\">พ.ศ. 2529</span></u></a><span style=\"color: #ff6600\"> (ค.ศ. 1986) ไวรัสตัวคอมพิวเตอร์รุ่นแรกๆ สร้างโดยโปรแกรมเมอร์อายุ 19 ปี ชาวปากีสถาน ชื่อ Basit Farooq และพี่ชายชื่อ Amjad เรียกชื่อ &quot;Brain&quot; ที่มีเป้าไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ IBM Compatible ด้วยเหตุผลที่ว่าต้องการรู้ระดับของซอฟต์แวร์เถื่อนในประเทศตัวเอง แต่โชคไม่ดีที่การทดลองนี้หลุดออกมานอกประเทศ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) โปรแกรมเมอร์ชาวเยอรมันชื่อ Ralf Burger พบวิธีตรวจจับโปรแกรมที่ copy ตัวเองโดยการเพิ่ม code บางตัวเข้าไปใน ไฟล์ COM version ที่ใช้ทดลองชื่อ Virdem ถูกนำมาแสดงในเดือนธันวาคม ที่ Hamburg เป็น forum ที่เหล่า hacker ที่ชำนาญในการ crack ระบบ VAX/VMS มารวมตัวกันชื่อ &quot;Chaos Computer Club&quot;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ปี </span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2530\" title=\"พ.ศ. 2530\"><u><span style=\"color: #ff6600\">พ.ศ. 2530</span></u></a><span style=\"color: #ff6600\"> (ค.ศ. 1987) เกิดไวรัสระบาดที่ เวียนนา เป็นไวรัสที่ทำลายคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตัวแรกที่ทำงานเต็มระบบ ส่งผลกระทบไปเกือบทั่วโลก ที่มาของไวรัสนี้เป็นประเด็นถกเถียงกันมาก เพราะคนที่อ้างว่าเป็นคนเขียนคือ Franz Svoboda แต่เมื่อสืบไปจึงพบว่าเขารับมาจาก Ralf Burger ซึ่งก็อ้างว่ารับมาจาก Svoboda เดิมชื่อไวรัสคือ &quot;lovechild&quot; แต่เพราะไม่สามารถหาคนให้กำเนิดได้จึงถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า &quot;orphan&quot; (ลูกกำพร้า)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ปี พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เดือนธันวาคม เกิดการระบาดใต้ดินครั้งแรกในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชื่อ &quot;Christmas Three&quot; วันที่ 9 ไวรัสหลุดมาจาก เครือข่าย Bitnet ของมหาวิทยาลัย Western University ประเทศเยอรมนี ทะลุเข้าไปใน European Acadamic Research Network (EARN) และเข้าไป เครือข่าย IBM-Vnet เป็นเวลา 4 วัน เครื่องที่ติดไวรัสจะแสดงผลที่หน้าจอเป็นรูปต้นคริสต์มาสต์ และส่งไปให้ผู้ใช้อื่นๆในเครือข่าย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ปี </span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2531\" title=\"พ.ศ. 2531\"><u><span style=\"color: #ff6600\">พ.ศ. 2531</span></u></a><span style=\"color: #ff6600\"> (ค.ศ. 1988) Peter Norton programmer ที่มีชื่อเสียง ผู้ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท Symantec ได้ออกมาประกาศว่าไวรัสคอมพิวเตอร์เป็นเรื่องไร้สาระ โดยเปรียบว่าเป็นแค่จระเข้ที่อยู่ในท่อระบายน้ำเสียในนิวยอร์ก แต่ในที่สุดเขาเป็นผู้ที่ได้เริ่มต้น project Norton-AntiVirus</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) วันที่ 22 เดือนเมษายน เกิด forum ที่ถกกันเรื่อง security threat เป็นครั้งแรก ชื่อ Virus-L host ไว้ที่ Usebet สร้างโดย Ken Van Wyk เพื่อร่วมงานของ Fred Cohen ที่มหาวิทยาลัย Lehigh</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) เดือนตุลาคม มีการแพร่ข่าวไวรัสชื่อ Mr. &quot;Rochenle&quot; อย่างมากเป็นไวรัสประเภทหลอกลวง (HOAX) เป็นตัวแรก อ้างถึงชื่อบุคคลที่ไม่มีตัวตนชื่อ Mike RoChenle (&quot;Microchannel&quot;) อ้างว่าไวรัสนี้สามารถส่งตัวเองไประหว่างโมเด็มด้วยความเร็ว 2400 bps ทำให้ความเร็วโมเด็มลดลงเหลือ 1200 bps และได้อธิบายวิธีการแก้ไขที่ไม่ได้มีผลอะไร แต่มีคนหลงเชื่อทำตามกันอย่างมากมาย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) เดือนพฤศจิกายน มีหนอนเครือข่ายชื่อ &quot;Morris&quot; ระบาดอย่างหนักทำให้คอมพิวเตอร์กว่า 6000 เครื่องในอเมริการวมทั้งใน ศูนย์วิจัยของ NASA ติดไปด้วย ส่งผลกระทบให้การปฏิบัติงานหยุดโดยสิ้นเชิง เหตุเนื่องจากมี error ใน code ของ Morris ทำให้มัน copy ตัวเองไปที่เครือข่ายอื่นอย่างไม่จำกัดทำให้เครือข่ายรับไม่ไหว การระบาดครั้งนั้นทำให้สูญเสียเป็นมูลค่ากว่า 96 ล้านเหรียญสหรัฐ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">2. ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์</span>      \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00ffff\"><b>บูตไวรัส</b> (boot virus) คือ<b>ไวรัสคอมพิวเตอร์</b>ที่แพร่เข้าสู่เป้าหมายในระหว่างเริ่มทำการบูตเครื่อง ส่วนมาก มันจะติดต่อเข้าสู่แผ่นฟลอปปี้ดิสก์ระหว่างกำลังสั่งปิดเครื่อง เมื่อนำแผ่นที่ติดไวรัสนี้ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ไวรัสก็จะเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ตอนเริ่มทำงานทันที</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00ffff\">บูตไวรัสจะติดต่อเข้าไปอยู่ส่วนหัวสุดของฮาร์ดดิสก์ ที่มาสเตอร์บูตเรคคอร์ด (master boot record) และก็จะโหลดตัวเองเข้าไปสู่หน่วยความจำก่อนที่ระบบปฏิบัติการจะเริ่มทำงาน ทำให้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น</span>\n</p>\n<h3><span style=\"color: #00ffff\"> <span id=\".E0.B9.84.E0.B8.9F.E0.B8.A5.E0.B9.8C.E0.B9.84.E0.B8.A7.E0.B8.A3.E0.B8.B1.E0.B8.AA\" class=\"mw-headline\">ไฟล์ไวรัส</span></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #00ffff\"><b>ไฟล์ไวรัส</b> (file virus) ใช้เรียกไวรัสที่ติดไฟล์โปรแกรม เช่นโปรแกรมที่ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต นามสกุล.exe โปรแกรมประเภทแชร์แวร์เป็นต้น</span>\n</p>\n<h3><span style=\"color: #00ffff\"> <span id=\".E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B9.82.E0.B8.84.E0.B8.A3.E0.B9.84.E0.B8.A7.E0.B8.A3.E0.B8.B1.E0.B8.AA\" class=\"mw-headline\">มาโครไวรัส</span></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #00ffff\"><b>มาโครไวรัส</b> (macro virus) คือไวรัสที่ติดไฟล์เอกสารชนิดต่างๆ ซึ่งมีความสามารถในการใส่คำสั่งมาโครสำหรับทำงานอัตโนมัติในไฟล์เอกสารด้วย ตัวอย่างเอกสารที่สามารถติดไวรัสได้ เช่น ไฟล์ไมโครซอฟท์เวิร์ด ไมโครซอฟท์เอ็กเซล เป็นต้น</span>\n</p>\n<h3><span style=\"color: #00ffff\"> <span id=\".E0.B8.AD.E0.B8.B7.E0.B9.88.E0.B8.99.E0.B9.86\" class=\"mw-headline\">อื่นๆ</span></span></h3>\n<h4><span style=\"color: #00ffff\"> <span id=\".E0.B9.82.E0.B8.97.E0.B8.A3.E0.B8.88.E0.B8.B1.E0.B8.99\" class=\"mw-headline\">โทรจัน</span></span></h4>\n<p>\n<span style=\"color: #00ffff\"><b>ม้าโทรจัน</b> (Trojan) คือโปรแกรมจำพวกหนึ่งที่ถูกออกแบบขึ้นมาเพื่อแอบแฝง กระทำการบางอย่าง ในเครื่องของเรา จากผู้ที่ไม่หวังดี ชื่อเรียกของโปรแกรมจำพวกนี้ มาจากตำนานของม้าไม้แห่งเมืองทรอยนั่นเอง ซึ่งการติดนั้น ไม่เหมือนกับไวรัส และหนอน ที่จะกระจายตัวได้ด้วยตัวมันเอง แต่</span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%99_(%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C)\" title=\"โทรจัน (คอมพิวเตอร์)\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #00ffff\">โทรจัน (คอมพิวเตอร์)</span></u></a><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #00ffff\">จะถูกแนบมากับ อีการ์ด อีเมล์ หรือโปรแกรมที่มีให้ดาวน์โหลดตามอินเทอร์เน็ตในเว็บไซต์ใต้ดิน และสุดท้ายที่มันต่างกับไวรัสและเวิร์ม คือ มันจะสามารถเข้ามาในเครื่องของเรา โดยที่เราเป็นผู้รับมันมาโดยไม่รู้ตัวนั่น</span>เอง</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #cc99ff\">3. วิธีป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">แม้ว่าจะมีไวรัสหลายพันชนิด แต่ไวรัสส่วนใหญ่อยู่ในห้องทดลองคอมพิวเตอร์ มีไวรัสเพียงประมาณ 500 กว่าชนิดที่ยังอาละวาดอยู่ และส่วนใหญ่ไวรัสเหล่านี้แทบจะไม่มีอันตรายต่อคอมพิวเตอร์และข้อมูล เพียงแต่อาจจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานช้าลงด้วยการแย่งใช้หน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม มีวิธีง่ายๆที่จะช่วยป้องกันเครื่องคอมพิวเตอร์และข้อมูลจากไวรัส </span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">ใช้โปรแกรมตรวจจับและกำจัดไวรัส (anti-virus) อย่างไรก็ตามไม่มีโปรแกรมตรวจจับและกำจัดไวรัส โปรแกรมใดสมบูรณ์แบบ การเตือนที่ผิดพลาดว่ามีไวรัสก่อให้เกิดความรำคาญพอๆกับตัวไวรัสเอง อย่าลืมว่าจะต้อง update โปรแกรมที่ใช้ตรวจจับและกำจัดไวรัสอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ครอบคลุมถึงไวรัสชนิดใหม่ๆ </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">scan ทุกไฟล์บนดิสเกตต์และ CD-ROM ก่อน นำลง hard disk </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">scan ทุกไฟล์ที่ download มาจาก internet </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">scan ไฟล์หรือโปรแกรมที่ติดมากับ e-mail ก่อนที่จะเปิดอ่านหรือเก็บลงบน hard disk </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">เก็บเอกสารในรูปของ ASCII Text Mode หรือ Rich Text Format (RTF) โดยเฉพาะเอกสารที่ใช้ ร่วมกันบน network ทั้งสอง format จะไม่ save ส่วนที่เป็น macro ลงพร้อมกับเอกสารด้วยซึ่งทำให้ ปลอดภัยจาก macro viruses </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">back up ข้อมูลและโปรแกรมบนเครื่องคอมพิวเตอร์ อย่างสม่ำเสมอ และที่สำคัญอย่าเก็บ back up ไว้ใน hard disk อันเดียวกันกับข้อมูลและโปรแกรมจริง </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์ </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์ </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">สาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #008000; font-family: MS Sans Serif\">เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้ </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #008000\">เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น</span> </span></li>\n<p><span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n <strong>4. ยกตัวอย่างโปรแกรมที่ป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์</strong>\n </p>\n<p> \n</p></ul>\n<ul>\n<li> <br />\n<ul type=\"disc\">\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ClamWin&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ClamWin (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>ClamWin</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/Kaspersky\" title=\"Kaspersky\"><span style=\"color: blue\"><u>Kaspersky</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=F-Secure_Anti-Virus&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"F-Secure Anti-Virus (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>F-Secure Anti-Virus</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=PC-cillin&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"PC-cillin (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>PC-cillin</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ESET_Nod32&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ESET Nod32 (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>ESET Nod32</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=McAfee_VirusScan&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"McAfee VirusScan (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>McAfee VirusScan</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Norton_AntiVirus&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Norton AntiVirus (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>Norton AntiVirus</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=AVG_AntiVirus&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"AVG AntiVirus (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>AVG AntiVirus</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ETrust_EZ_Antivirus&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ETrust EZ Antivirus (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>eTrust EZ Antivirus</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Norman_Virus_Control&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Norman Virus Control (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>Norman Virus Control</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=AntiVirusKit&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"AntiVirusKit (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>AntiVirusKit</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/AVAST!\" title=\"AVAST!\"><span style=\"color: blue\"><u>AVAST!</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Panda_Titanium&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Panda Titanium (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>Panda Titanium</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=F-Prot&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"F-Prot (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>F-Prot</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=PCTools_AntiVirus&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"PCTools AntiVirus (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>PCTools AntiVirus</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ViRobot_Expert&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ViRobot Expert (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>ViRobot Expert</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=CyberScrub_AntiVirus&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"CyberScrub AntiVirus (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>CyberScrub AntiVirus</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=The_Shield_AntiVirus&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"The Shield AntiVirus (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>The Shield AntiVirus</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Windows_Live_OneCare&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Windows Live OneCare (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>Windows Live OneCare</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Spy_Sweeper&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Spy Sweeper (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>Spy Sweeper</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Aluria_Anti-Spyware&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Aluria Anti-Spyware (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>Aluria Anti-Spyware</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><br />\n<ul type=\"disc\">\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=CounterSpy&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"CounterSpy (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>CounterSpy</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ThreatFire&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ThreatFire (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>ThreatFire</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Trend_Micro_Anti-Spyware&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Trend Micro Anti-Spyware (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>Trend Micro Anti-Spyware</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Spyware_Doctor_With_AntiVirus&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Spyware Doctor With AntiVirus (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>Spyware Doctor With AntiVirus</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=SUPERAntiSpyware_%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%B5_%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"SUPERAntiSpyware โปรแกรมฟรี ใช้ได้ตลอด (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>SUPERAntiSpyware <span lang=\"TH\">โปรแกรมฟรี ใช้ได้ตลอด</span></u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=PestPatrol&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"PestPatrol (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>PestPatrol</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Ad-aware_SE_Pro&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Ad-aware SE Pro (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>Ad-aware SE Pro</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=MalwareBytes_Anti-Malware&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"MalwareBytes Anti-Malware (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>MalwareBytes Anti-Malware</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=McAfee_AntiSpyware&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"McAfee AntiSpyware (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>McAfee AntiSpyware</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Maxion_Spy_Killer&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Maxion Spy Killer (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>Maxion Spy Killer</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=SpyHunter&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"SpyHunter (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>SpyHunter</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=SpyRemover&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"SpyRemover (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>SpyRemover</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=XoftSpy&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"XoftSpy (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>XoftSpy</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></li>\n<li style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Polskie_Antywirusowy&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Polskie Antywirusowy (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>Polskie Antywirusowy</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <span lang=\"TH\">เดิมชื่อว่า </span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=AntivirusPL&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"AntivirusPL (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>AntivirusPL</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <span lang=\"TH\">เป็นของประเทศโปแลนด์ </span></span><o:p></o:p></span></li>\n</ul>\n</li>\n</ul>\n</li>\n<p> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=BitDefender&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"BitDefender (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #cc2200\"><u>BitDefender</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span>\n</p></ul>\n', created = 1727472745, expire = 1727559145, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3c514c1e9ffbda14d057209cf85a67f2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไวรัสคอมพิวเตอร์

รูปภาพของ skk05813

1. ความหมาย ประวัติไวรัสคอมพิวเตอร์     

 ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) หรือเรียกสั้นว่า ไวรัส คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจาก ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ

  

  ประวัติ              ในปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) ทีมวิศวกรของ Bell Telephone Laboratories ได้สร้างเกมชื่อว่า "Darwin" ถือเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวแรกที่มีรูปแบบของไวรัส โดยฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำ เกมนี้ใช้คำศัพท์บางอย่างที่มีคำว่า "supervisor" มีลักษณะที่กำหนดกฎเกณฑ์การต่อสู้ระหว่างผู้เข้าแข่งขัน โปรแกรม Darwin นี้มีความสามารถที่จะวิจัยสภาพแวดล้อมของมัน ทำสำเนา และทำลายตัวเองได้ จุดประสงค์หลักของเกมนี้ก็คือลบโปรแกรมทั้งหมดที่คู่แข่งเขียนและครอบครองสนามรบ

ต้นปี พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) มีการตรวจพบไวรัส Creeper ในเครือข่าย APRAnet ของทหารอเมริกา ถือเป็นต้นแบบไวรัสคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โปรแกรม Creeper สามารถเข้าครอบครองเครือข่ายผ่านโมเด็มและส่งสำเนาตัวเองไปที่ฝั่ง remote ไวรัสนี้ทำให้คนรู้ว่าติดไวรัสด้วยการ broadcast ข้อความ "I'M THE CREEPER ... CATCH ME IF YOU CAN"

ปี พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) โปรแกรมชื่อ "Rabbit" โผล่ขึ้นมาบนเครื่องเมนเฟรมที่เรียกชื่อนี้เพราะมันไม่ได้ทำอะไรนอกจากสำเนาตัวเองอย่างรวดเร็วไปในระบบเก็บข้อมูลชนิดต่างๆ Rabbit นี้ได้ดึงทรัพยากรของระบบมาใช้อย่างมาก ทำให้การทำงานกระทบอย่างรุนแรงจนอาจทำให้ระบบทำงานผิดพลาดได้

ปี พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) มีการตรวจพบไวรัสชื่อ "Elk Cloner" นั้นเป็นคอมพิวเตอร์ไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตัวแรก ซึ่งแพร่กระจาย คือในวงที่กว้างออกไปกว่าภายในห้องทดลองที่สร้างโปรแกรม โปรแกรมนี้ถูกเขียนขึ้นโดย Rich Skrenta โดยไวรัสนี้จะติดไปกับระบบปฏิบัติการ Apple DOS 3.3 ผ่านทาง boot sector ของฟล็อปปี้ดิสก์ ณ เวลานั้นผลของมันทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางคนนึกว่าไวรัสคอมพิวเตอร์เกิดจากมนุษย์ต่างดาว เพราะทำให้การแสดงภาพที่จอกลับหัว, ทำตัวอักษรกระพริบ, ขึ้นข้อความต่างๆออกมา

ปี พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) Len Adleman แห่งมหาวิทยาลัย Lehigh ตั้งคำว่า "Virus" ว่าเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำสำเนาตัวเองได้ และในปีถัดมาใน Information security conference ครั้งที่ 7 Fred Cohen ได้ให้คำจำกัดความของคำ "computer virus" ว่าเป็นโปรแกรมที่สามารถติดต่อไปยังโปรแกรมอื่นโดยการแก้ไขโปรแกรมเดิมเพื่อแพร่ขยายตัวเอง

เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) Fred Cohen บิดาแห่งไวรัสศาสตร์ (Virology) ได้ใช้คอมพิวเตอร์ VAX 11/750 สาธิตว่าโปรแกรมไวรัสสามารถฝังตัวเข้าไปใน object อื่นได้

ปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) ไวรัสตัวคอมพิวเตอร์รุ่นแรกๆ สร้างโดยโปรแกรมเมอร์อายุ 19 ปี ชาวปากีสถาน ชื่อ Basit Farooq และพี่ชายชื่อ Amjad เรียกชื่อ "Brain" ที่มีเป้าไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ IBM Compatible ด้วยเหตุผลที่ว่าต้องการรู้ระดับของซอฟต์แวร์เถื่อนในประเทศตัวเอง แต่โชคไม่ดีที่การทดลองนี้หลุดออกมานอกประเทศ

ปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) โปรแกรมเมอร์ชาวเยอรมันชื่อ Ralf Burger พบวิธีตรวจจับโปรแกรมที่ copy ตัวเองโดยการเพิ่ม code บางตัวเข้าไปใน ไฟล์ COM version ที่ใช้ทดลองชื่อ Virdem ถูกนำมาแสดงในเดือนธันวาคม ที่ Hamburg เป็น forum ที่เหล่า hacker ที่ชำนาญในการ crack ระบบ VAX/VMS มารวมตัวกันชื่อ "Chaos Computer Club"

ปี พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เกิดไวรัสระบาดที่ เวียนนา เป็นไวรัสที่ทำลายคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตัวแรกที่ทำงานเต็มระบบ ส่งผลกระทบไปเกือบทั่วโลก ที่มาของไวรัสนี้เป็นประเด็นถกเถียงกันมาก เพราะคนที่อ้างว่าเป็นคนเขียนคือ Franz Svoboda แต่เมื่อสืบไปจึงพบว่าเขารับมาจาก Ralf Burger ซึ่งก็อ้างว่ารับมาจาก Svoboda เดิมชื่อไวรัสคือ "lovechild" แต่เพราะไม่สามารถหาคนให้กำเนิดได้จึงถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "orphan" (ลูกกำพร้า)

ปี พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เดือนธันวาคม เกิดการระบาดใต้ดินครั้งแรกในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชื่อ "Christmas Three" วันที่ 9 ไวรัสหลุดมาจาก เครือข่าย Bitnet ของมหาวิทยาลัย Western University ประเทศเยอรมนี ทะลุเข้าไปใน European Acadamic Research Network (EARN) และเข้าไป เครือข่าย IBM-Vnet เป็นเวลา 4 วัน เครื่องที่ติดไวรัสจะแสดงผลที่หน้าจอเป็นรูปต้นคริสต์มาสต์ และส่งไปให้ผู้ใช้อื่นๆในเครือข่าย

ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) Peter Norton programmer ที่มีชื่อเสียง ผู้ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท Symantec ได้ออกมาประกาศว่าไวรัสคอมพิวเตอร์เป็นเรื่องไร้สาระ โดยเปรียบว่าเป็นแค่จระเข้ที่อยู่ในท่อระบายน้ำเสียในนิวยอร์ก แต่ในที่สุดเขาเป็นผู้ที่ได้เริ่มต้น project Norton-AntiVirus

ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) วันที่ 22 เดือนเมษายน เกิด forum ที่ถกกันเรื่อง security threat เป็นครั้งแรก ชื่อ Virus-L host ไว้ที่ Usebet สร้างโดย Ken Van Wyk เพื่อร่วมงานของ Fred Cohen ที่มหาวิทยาลัย Lehigh

ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) เดือนตุลาคม มีการแพร่ข่าวไวรัสชื่อ Mr. "Rochenle" อย่างมากเป็นไวรัสประเภทหลอกลวง (HOAX) เป็นตัวแรก อ้างถึงชื่อบุคคลที่ไม่มีตัวตนชื่อ Mike RoChenle ("Microchannel") อ้างว่าไวรัสนี้สามารถส่งตัวเองไประหว่างโมเด็มด้วยความเร็ว 2400 bps ทำให้ความเร็วโมเด็มลดลงเหลือ 1200 bps และได้อธิบายวิธีการแก้ไขที่ไม่ได้มีผลอะไร แต่มีคนหลงเชื่อทำตามกันอย่างมากมาย

ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) เดือนพฤศจิกายน มีหนอนเครือข่ายชื่อ "Morris" ระบาดอย่างหนักทำให้คอมพิวเตอร์กว่า 6000 เครื่องในอเมริการวมทั้งใน ศูนย์วิจัยของ NASA ติดไปด้วย ส่งผลกระทบให้การปฏิบัติงานหยุดโดยสิ้นเชิง เหตุเนื่องจากมี error ใน code ของ Morris ทำให้มัน copy ตัวเองไปที่เครือข่ายอื่นอย่างไม่จำกัดทำให้เครือข่ายรับไม่ไหว การระบาดครั้งนั้นทำให้สูญเสียเป็นมูลค่ากว่า 96 ล้านเหรียญสหรัฐ

2. ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์      

บูตไวรัส (boot virus) คือไวรัสคอมพิวเตอร์ที่แพร่เข้าสู่เป้าหมายในระหว่างเริ่มทำการบูตเครื่อง ส่วนมาก มันจะติดต่อเข้าสู่แผ่นฟลอปปี้ดิสก์ระหว่างกำลังสั่งปิดเครื่อง เมื่อนำแผ่นที่ติดไวรัสนี้ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ไวรัสก็จะเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ตอนเริ่มทำงานทันที

บูตไวรัสจะติดต่อเข้าไปอยู่ส่วนหัวสุดของฮาร์ดดิสก์ ที่มาสเตอร์บูตเรคคอร์ด (master boot record) และก็จะโหลดตัวเองเข้าไปสู่หน่วยความจำก่อนที่ระบบปฏิบัติการจะเริ่มทำงาน ทำให้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น

 ไฟล์ไวรัส

ไฟล์ไวรัส (file virus) ใช้เรียกไวรัสที่ติดไฟล์โปรแกรม เช่นโปรแกรมที่ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต นามสกุล.exe โปรแกรมประเภทแชร์แวร์เป็นต้น

 มาโครไวรัส

มาโครไวรัส (macro virus) คือไวรัสที่ติดไฟล์เอกสารชนิดต่างๆ ซึ่งมีความสามารถในการใส่คำสั่งมาโครสำหรับทำงานอัตโนมัติในไฟล์เอกสารด้วย ตัวอย่างเอกสารที่สามารถติดไวรัสได้ เช่น ไฟล์ไมโครซอฟท์เวิร์ด ไมโครซอฟท์เอ็กเซล เป็นต้น

 อื่นๆ

 โทรจัน

ม้าโทรจัน (Trojan) คือโปรแกรมจำพวกหนึ่งที่ถูกออกแบบขึ้นมาเพื่อแอบแฝง กระทำการบางอย่าง ในเครื่องของเรา จากผู้ที่ไม่หวังดี ชื่อเรียกของโปรแกรมจำพวกนี้ มาจากตำนานของม้าไม้แห่งเมืองทรอยนั่นเอง ซึ่งการติดนั้น ไม่เหมือนกับไวรัส และหนอน ที่จะกระจายตัวได้ด้วยตัวมันเอง แต่โทรจัน (คอมพิวเตอร์)จะถูกแนบมากับ อีการ์ด อีเมล์ หรือโปรแกรมที่มีให้ดาวน์โหลดตามอินเทอร์เน็ตในเว็บไซต์ใต้ดิน และสุดท้ายที่มันต่างกับไวรัสและเวิร์ม คือ มันจะสามารถเข้ามาในเครื่องของเรา โดยที่เราเป็นผู้รับมันมาโดยไม่รู้ตัวนั่นเอง

3. วิธีป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์

แม้ว่าจะมีไวรัสหลายพันชนิด แต่ไวรัสส่วนใหญ่อยู่ในห้องทดลองคอมพิวเตอร์ มีไวรัสเพียงประมาณ 500 กว่าชนิดที่ยังอาละวาดอยู่ และส่วนใหญ่ไวรัสเหล่านี้แทบจะไม่มีอันตรายต่อคอมพิวเตอร์และข้อมูล เพียงแต่อาจจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานช้าลงด้วยการแย่งใช้หน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม มีวิธีง่ายๆที่จะช่วยป้องกันเครื่องคอมพิวเตอร์และข้อมูลจากไวรัส

  • ใช้โปรแกรมตรวจจับและกำจัดไวรัส (anti-virus) อย่างไรก็ตามไม่มีโปรแกรมตรวจจับและกำจัดไวรัส โปรแกรมใดสมบูรณ์แบบ การเตือนที่ผิดพลาดว่ามีไวรัสก่อให้เกิดความรำคาญพอๆกับตัวไวรัสเอง อย่าลืมว่าจะต้อง update โปรแกรมที่ใช้ตรวจจับและกำจัดไวรัสอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ครอบคลุมถึงไวรัสชนิดใหม่ๆ
  • scan ทุกไฟล์บนดิสเกตต์และ CD-ROM ก่อน นำลง hard disk
  • scan ทุกไฟล์ที่ download มาจาก internet
  • scan ไฟล์หรือโปรแกรมที่ติดมากับ e-mail ก่อนที่จะเปิดอ่านหรือเก็บลงบน hard disk
  • เก็บเอกสารในรูปของ ASCII Text Mode หรือ Rich Text Format (RTF) โดยเฉพาะเอกสารที่ใช้ ร่วมกันบน network ทั้งสอง format จะไม่ save ส่วนที่เป็น macro ลงพร้อมกับเอกสารด้วยซึ่งทำให้ ปลอดภัยจาก macro viruses
  • back up ข้อมูลและโปรแกรมบนเครื่องคอมพิวเตอร์ อย่างสม่ำเสมอ และที่สำคัญอย่าเก็บ back up ไว้ใน hard disk อันเดียวกันกับข้อมูลและโปรแกรมจริง
  • สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
  • ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
  • อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
  • สาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
  • เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
  • เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
  • เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
  • เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
  • เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น
  • 4. ยกตัวอย่างโปรแกรมที่ป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 427 คน กำลังออนไลน์