• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6e78fd4084b582596043297e1623d5ec' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table border=\"1\" align=\"center\" width=\"800\" cellPadding=\"4\" cellSpacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr bgColor=\"#6699cc\">\n<td borderColor=\"#cccccc\"><b><span style=\"font-size: small\">ประวัติ วันพ่อแห่งชาติ </span></b></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"37\" borderColorDark=\"#ffffff\" width=\"800\" borderColorLight=\"#ffffff\" borderColor=\"#cccccc\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: small\">\n<p> <center><img border=\"0\" src=\"http://www.thai-school.net/images/2552328-school890-Activities_pic0064673.jpg\" /></center></p>\n<dd> วันพ่อแห่งชาติ มีขึ้นเป็นครั้งแรก\n<p> เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๒๓ โดย คุณหญิงเนื้อทิพย์ เสมรสุต นายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษาเป็นผู้ริเริ่ม ด้วยความจงรักภักดี และมีวัตถุประสงค์ เทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฐานะ “พ่อแห่งชาติ”</p>\n<p> ซึ่งนอกจากพระองค์จะเป็นพระราชบิดาของพระราชโอรสและพระราชธิดา <br />\n ทรงทะนุบำรุงพระราชโอรสธิดาด้วยความรัก และทรงอบรมอนุศาสน์ให้ทรงเจริญวัยสมบูรณ์ และทรงบำเพ็ญคุณานุประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชน เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทแล้ว พระองค์ยังทรงพระมหากรุณาทะนุบำรุงจัดทุกข์ผดุงสุขพสกนิกรถ้วนหน้า พระองค์ทรงเป็น “พ่อแห่งชาติ” ที่อาณาประชาราษฎร์เทิดทูนด้วยความจงรักภักดี สำนักในพระมหากรุณาธิคุณ และยึดมั่นในการเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทในการทะนุบำรุงชาติบ้านเมืองให้วัฒนาถาวรสืบไป</p>\n<p> วัตถุประสงค์ของการจัด วันพ่อแห่งชาติ ที่คณะผู้ริเริ่มกำหนดคือ<br />\n เพื่อเทิดทูนพระเกียรติคุณของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว<br />\n เพื่อเทิดทูนพระคุณของพ่อ และยกย่องบทบาทของพ่อที่มีต่อครอบครัวและสังคม<br />\n เพื่อให้ลูกได้แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อพ่อ<br />\n เพื่อให้ผู้เป็นพ่อ สำนึกในหน้าที่และความรับผิดชอบของตน</p>\n<p> ในการนี้คณะกรรมการได้จัดกิจกรรมประกาศเกียรติคุณ <br />\n พ่อตัวอย่าง หรือพ่อดีเด่น โดยกำหนดคุณสมบัติ คือ มีอายุ ๔๐ ปีขึ้นไป ส่งเสริมการศึกษาของบุตรธิดา นับถือศาสนาโดยเคร่งครัด งดเว้นอบายมุขทุกชนิด อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชน และมีภรรยาเพียงคนเดียว และได้แนะนำกิจกรรมสำหรับลูกในวันพ่อ คือ ประดับธงชาติตามอาคารบ้านเรือน จัดกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ หรือบำเพ็ญกุศล ทำบุญใส่บาตร เพื่ออุทิศส่วนกุศล และระลึกถึงพระคุณของพ่อ ซึ่งยังดำเนินการสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน<br />\n วันที่ ๕ ธันวาคม นอกจากจะเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และเป็นวันพ่อแห่งชาติแล้ว ยังถือว่าว่าวันนี้ เป็น “วันชาติของไทย” อีกด้วย</p>\n<p> โดยทั่วไป “วันชาติ” มักจะหมายถึง <br />\n วันเฉลิมฉลองที่ประเทศนั้นๆได้รับอิสรภาพ เป็นเอกราช หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ รัฐ ราชวงศ์ วันพระราชสมภพของพระมหากษัตริย์ วันเกิดประมุขของรัฐ หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ แต่มักจะถือเป็นวันหยุดประจำของชาติ ซึ่ง “วันชาติ” ของแต่ละประเทศจะเป็นวันใด ก็ขึ้นอยู่กับการกำหนดของประเทศนั้นๆ เช่น ประเทศโมร็อกโก ตรงกับวันที่ ๒ มีนาคม สหรัฐอเมริกา ตรงกับวันที่ ๔ กรกฎาคม ฝรั่งเศสตรงกับวันที่ ๑๔ กรกฎาคม อินโดนีเซียตรงกับวันที่ ๑๗ สิงหาคม บราซิลตรงกับวันที่ ๗ กันยายน และเคนย่าตรงกับวันที่ ๑๒ ธันวาคม เป็นต้น</p>\n<p> “วันชาติ” ของประเทศต่างๆ ส่วนใหญ่จะมีเพียงวันเดียว <br />\n แต่ก็มีบางประเทศเช่นกันที่มี “วันชาติ” มากกว่าหนึ่งวัน ทั้งนี้เพราะประเทศนั้นๆ อาจจะนับวันที่ได้รับเอกราชหรือวันที่ปลดแอกจากการเป็นอาณานิคม และวันที่มีการสถาปนาการปกครองขึ้นใหม่ ซึ่งอาจจะมิใช่วันเดียวกัน แต่เป็นวันสำคัญเสมือนวันชาติเท่าๆกัน เช่น ประเทศปากีสถาน จะมีวันชาติตรงกับวันที่ ๒๓ มีนาคม ที่เขาเรียกว่า “Republic Day” และวันที่ ๑๔ สิงหาคม เป็น “Independence Day” ส่วนฮังการี ก็มีถึง ๓ วันคือ วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๐ สิงหาคม และ ๒๓ ตุลาคม สำหรับจีน นอกจากจะมีวันชาติตรงกับวันที่ ๑ ตุลาคม แล้ว ที่ฮ่องกง อันเป็นเขตปกครองพิเศษของจีน ที่มีขึ้นหลังจากอังกฤษคืนเกาะฮ่องกงให้จีนก็มีการเฉลิมฉลองวันที่ตรงกับวันสถาปนาการปกครองพิเศษนี้ขึ้น ในวันที่ ๑ กรกฎาคม อีกด้วย</p>\n<p> สำหรับประเทศไทย <br />\n เราเคยได้มีการกำหนดให้วันที่ ๒๔ มิถุนายน เป็น “วันชาติ”ของไทย ด้วยถือว่าวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ เป็นวันเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นการปกครองในระบอบรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตย โดยได้มี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง “วันชาติ” ลงวันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ โดย พ.อ.พหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรีสมัยนั้น และได้มีการเฉลิมฉลองวันชาติ ๒๔ มิถุนายน ครั้งแรกในปีพ.ศ. ๒๔๘๒ ในสมัยจอมพลป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี<br />\n วันที่ ๒๔ มิถุนายน เป็น “วันชาติ” ของไทยอยู่นานถึง ๒๑ ปี ครั้น วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๐๓ สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ก็ได้มี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ขึ้นใหม่อีกฉบับหนึ่ง เรื่อง ให้ถือวันพระราชสมภพเป็นวันเฉลิมฉลองของชาติไทย โดยให้เหตุผลว่า</p>\n<p> ด้วยคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาเห็นว่า <br />\n ตามที่ได้กำหนดให้มีการเฉลิมฉลองวันชาติไทยในวันที่ ๒๔ มิถุนายน นั้น ได้ปรากฏในภายหลังว่า มีข้อที่ไม่เหมาะสมหลายประการ ในด้านประชาชนและหนังสือพิมพ์ก็ได้เสนอแนะให้พิจารณาในเรื่องนี้หลายครั้งหลายคราว คณะรัฐมนตรีจึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นพิจารณา โดยมีพลตรีพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ รองนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน</p>\n<p> คณะกรรมการนี้ได้พิจารณาแล้ว <br />\n เสนอความเห็นว่า ประเทศต่างๆได้เลือกถือวันใดวันหนึ่งที่มีความสำคัญเกี่ยวเนื่องกับชนในชาติต่างๆกัน โดยถือเอาวันประกาศเอกราช วันอิสรภาพ วันตั้งถิ่นฐาน วันสาธารณรัฐ วันสถาปนาพระราชวงศ์บ้าง ซึ่งไม่เหมือนกัน แต่ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของชาติ โดยทั่วไปนั้น ได้ถือเอาวันพระราชสมภพของพระมหากษัตริย์เป็นวันเฉลิมฉลองของชาติ เช่น ประเทศอังกฤษ เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน ญี่ปุ่น ฯลฯ เป็นต้น แม้ประเทศไทยเราเองก็ได้ถือเอาวันพระราชสมภพเป็นวันเฉลิมฉลองของชาติไทยมาแล้ว เพิ่งจะมากำหนดเอาวันที่ ๒๔ มิถุนายน เป็นวันชาติ เพิ่มขึ้นอีกวันหนึ่งในระยะหลังนี้เอง</p>\n<p> คณะกรรมการจึงมีความเห็นว่า<br />\n เพื่อให้เป็นไปตามขนบประเพณีของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และเป็นหลักการสมัครสมานสามัคคีรวมจิตใจของบุคคลในชาติโดยทั่วกัน จึงสมควรจะถือเอาวันพระราชสมภพของพระมหากษัตริย์เป็นวันเฉลิมฉลองของชาติไทยต่อไป โดยยกเลิกวันชาติ ในวันที่ ๒๔ มิถุนายนเสีย<br />\n ดังนั้น นับแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ประเทศไทยจึงได้ถือเอาวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม ของทุกปี เป็น “วันชาติ” ของไทย ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา</p>\n<p> ตามปกติ การจัดงาน “วันชาติ” ของประเทศต่างๆ<br />\n ก็จะมีกิจกรรมและรูปแบบแตกต่างกันออกไป ส่วนใหญ่ก็มักจะมีการกล่าวสุนทรพจน์ การจัดขบวนพาเหรดเฉลิมฉลอง การจุดพลุดอกไม้ไฟอย่างเอิกเกริก รวมไปถึงการแสดงมหรสพต่างๆ เป็นต้น แต่ในประเทศไทย เนื่องจากวันชาติ เป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษา และวันพ่อแห่งชาติ ซึ่งมีกิจกรรมเฉลิมฉลองอยู่แล้ว กอปรกับประเทศไทยยังไม่เคยเป็นเมืองขึ้นของใครมาก่อน และคนรุ่นใหม่ส่วนใหญ่ก็คุ้นชินกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอย่างที่เห็นกันอยู่ปัจจุบัน<br />\n ดังนั้น “วันชาติ” ของเราจึงดูเหมือนไม่ค่อยมีความสำคัญเท่าใดนัก เพราะชาวไทยทุกหมู่เหล่าล้วนตัองการจัดกิจกรรมเพื่อถวายความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “พ่อหลวงของแผ่นดิน” มากกว่าประเด็นอื่น อย่างไรก็ดี หากเราจะระลึกว่าวันนี้ ก็เป็น “วันชาติ”ของไทยด้วย แล้วจัดกิจกรรมต่างๆที่จะแสดงให้เห็นว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจเพื่อ “ประเทศชาติ” ด้วยพระวิริยะอุตสาหะ และความเสียสละมาอย่างยาวนานเช่นไร ก็อาจจะทำให้ วันนี้ มีความหมายครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น</p>\n<p> ความเป็นมา</p>\n<p> วันพ่อแห่งชาติ ได้จัดให้มีขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2523 โดยคุณหญิงเนื้อทิพย์ เสมรสุต นายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษาเป็นผู้ริเริ่ม หลักการและเหตุผลที่มีการจัดตั้งวันพ่อ เนื่องจากพ่อ เป็นบุคคลผู้มีพระคุณและมีบทบาทสำคัญต่อครอบครัวและสังคม สมควรที่ผู้เป็นลูกจะเคารพเทิดทูนและตอบ แทนพระคุณด้วยความกตัญญู และสังคมควรที่จะยกย่องให้เกียรติรำลึกถึงผู้เป็นพ่อ จึงถือเอาวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี ซึ่งเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาเป็น &quot;วันพ่อแห่งชาติ&quot; ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวที่ทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทยอย่างนานัปการ อีกทั้งยังทรงเป็นพระราชบิดาของพระราชโอรสและ พระราชธิดาที่ทรงรักใคร่ห่วงใย ตั้งแต่พระเยาว์จนถึงปัจจุบัน และพระเจ้าหลานเธอทุก ๆ พระองค์ต่างซาบซึ้ง ในพระมหากรุณาธิคุณอย่างมิรู้ลืม พระองค์ทรงเป็น &quot;พ่อ&quot; ตัวอย่างของปวงชนชาวไทยที่เปี่ยมล้นด้วยพระ เมตตากรุณา ทรงห่วงใยอย่างหาที่เปรียบมิได้</p>\n<p>\n <span style=\"color: #800080\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\">     วันที่ ๑o <span lang=\"TH\">ธันวาคม เป็นวันรัฐธรรมนูญ ซึ่งจัดให้มีขึ้นทุกๆ ปี เพื่อเป็นการระลึกถึงการอุบัติขึ้นของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ</span></span></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt; text-align: justify\">\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #800080; font-family: Angsana New\" lang=\"TH\">ก่อนหน้านี้ประเทศไทย มีการปกครองแบบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ จนกระทั่งวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ การเปลี่ยนแปลงนี้นำโดยกลุ่มคนรุ่นหนุ่มสาวที่ได้รับการศึกษาจากต่างประเทศ และได้รับอิทธิพลจากแนวความคิดด้านระบอบประชาธิปไตยตะวันตก กลุ่มนี้มีชื่อว่า</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #800080; font-family: Angsana New\"> &quot;<span lang=\"TH\">คระราษฎร์&quot; นำโดยหลวงประดิษฐ์ มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการนองเลือด พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้มีการยกเลิกการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และทรงมอบรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกของประเทศให้กับประชาชน ที่จริงแล้วพระองค์ทรงเตรียมการที่จะมอบอำนาจของพระองค์ให้อาณาประชาราษฎร์ก่อนที่จะมีการเรียกร้องเสียด้วยซ้ำไป</span></span>\n </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify\">\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #800080; font-family: Angsana New\" lang=\"TH\">                อย่างไรก็ตาม รัฐธรรมนูญไทยทุกฉบับ ต่างก็ยอมรับพระมหากษัตริย์ว่าทรงดำรงตำแหน่งเป็นประมุขของประเทศ ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก และทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ อำนาจอธิปไตยของพระองค์มาจาก ปวงชนชาวไทย และพระองค์ทรงใช้อำนาจ ๓ ทาง คือ อำนาจนิติบัญญัติ โดยผ่านรัฐสภา อำนาจบริหาร โดยผ่านคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการ โดยผ่านศาลยุติธรรม</span>\n </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt; text-align: justify\">\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #800080; font-family: Angsana New\" lang=\"TH\">ถึงแม้ว่าการปฏิวัติในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ จะนำมาซึ่งการสิ้นสุดของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อันเป็นระบอบเก่าแก่มาหลายศตวรรษก็ตาม ความเคารพเลื่อมใสศรัทธาของชาวไทยที่มีต่อองค์พระมหากษัตริย์ก็ไม่มีวันเสื่อมคลาย ด้วยการเปลี่ยนแปลงใดๆ ทั้งสิ้น ที่เห็นได้ชัดคือ พระบรมฉายาลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ไทยมีให้เห็นอยู่ทั่วพระราชอาณาจักร ในวันรัฐธรรมนูญจะมีการจัดพิธีฉลองวันนี้กันทั่วประเทศ โดยสถานที่ราชการ อาคารเอกชน และตึกสูงๆ จะประดับด้วยธงชาติ และธงประดับ พร้อมทั้งแสงไฟสว่างไสว ชาวไทยต่างพร้อมใจกันแสดงความจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์ ผู้ทรงพระมหากรุณาธิคุณ เปิดโอกาสให้ปวงชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารประเทศชาติ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #800080; font-family: Angsana New\"> </span>\n </p>\n<p style=\"text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Angsana New\"><a href=\"http://www.tungsong.com/Constitution/Data/Copy%20of%20firstpage.html\" style=\"color: blue; text-decoration: underline; text-underline: single\"><span style=\"color: #800080; text-decoration: none\" lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีทั้งหมด</span><span style=\"color: #800080; text-decoration: none\"> 16 <span lang=\"TH\">ฉบับ ได้แก</span></span></a><span style=\"color: #800080\"><span lang=\"TH\">่</span> <br />\n </span></span></b><span style=\"color: #800080\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: Angsana New\">-  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>1 <span lang=\"TH\">ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม พุทธศักราช </span>2475 <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>2 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช </span>2475 <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>3 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช </span>2489 <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>4 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช </span>2490 (<span lang=\"TH\">ฉบับชั่วคราว)</span> <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>5 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช </span>2492 <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>6 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช </span>2495 <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>7 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช </span>2502 <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>8 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช </span>2511 <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>9 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช </span>2515 <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>10 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช </span>2517 <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>11 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช </span>2519 <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>12 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช </span>2520 <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>13 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช </span>2521 (<span lang=\"TH\">แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช </span>2528) <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>14 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช </span>2534 <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>15 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช </span>2534 <br />\n -  <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>16 <span lang=\"TH\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช </span>2540</span></span>\n </p>\n<p>\n ขอขอบคุณเนื้อหาดีดี โดย:fwmail<br />\n </p></dd>\n<p></p></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1727466821, expire = 1727553221, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6e78fd4084b582596043297e1623d5ec' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติวันพ่อแห่งชาติและวันรัฐธรรมนูญ

รูปภาพของ skk05774
ประวัติ วันพ่อแห่งชาติ

 วันพ่อแห่งชาติ มีขึ้นเป็นครั้งแรก

เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๒๓ โดย คุณหญิงเนื้อทิพย์ เสมรสุต นายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษาเป็นผู้ริเริ่ม ด้วยความจงรักภักดี และมีวัตถุประสงค์ เทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฐานะ “พ่อแห่งชาติ”

ซึ่งนอกจากพระองค์จะเป็นพระราชบิดาของพระราชโอรสและพระราชธิดา
ทรงทะนุบำรุงพระราชโอรสธิดาด้วยความรัก และทรงอบรมอนุศาสน์ให้ทรงเจริญวัยสมบูรณ์ และทรงบำเพ็ญคุณานุประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชน เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทแล้ว พระองค์ยังทรงพระมหากรุณาทะนุบำรุงจัดทุกข์ผดุงสุขพสกนิกรถ้วนหน้า พระองค์ทรงเป็น “พ่อแห่งชาติ” ที่อาณาประชาราษฎร์เทิดทูนด้วยความจงรักภักดี สำนักในพระมหากรุณาธิคุณ และยึดมั่นในการเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทในการทะนุบำรุงชาติบ้านเมืองให้วัฒนาถาวรสืบไป

วัตถุประสงค์ของการจัด วันพ่อแห่งชาติ ที่คณะผู้ริเริ่มกำหนดคือ
เพื่อเทิดทูนพระเกียรติคุณของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เพื่อเทิดทูนพระคุณของพ่อ และยกย่องบทบาทของพ่อที่มีต่อครอบครัวและสังคม
เพื่อให้ลูกได้แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อพ่อ
เพื่อให้ผู้เป็นพ่อ สำนึกในหน้าที่และความรับผิดชอบของตน

ในการนี้คณะกรรมการได้จัดกิจกรรมประกาศเกียรติคุณ
พ่อตัวอย่าง หรือพ่อดีเด่น โดยกำหนดคุณสมบัติ คือ มีอายุ ๔๐ ปีขึ้นไป ส่งเสริมการศึกษาของบุตรธิดา นับถือศาสนาโดยเคร่งครัด งดเว้นอบายมุขทุกชนิด อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชน และมีภรรยาเพียงคนเดียว และได้แนะนำกิจกรรมสำหรับลูกในวันพ่อ คือ ประดับธงชาติตามอาคารบ้านเรือน จัดกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ หรือบำเพ็ญกุศล ทำบุญใส่บาตร เพื่ออุทิศส่วนกุศล และระลึกถึงพระคุณของพ่อ ซึ่งยังดำเนินการสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
วันที่ ๕ ธันวาคม นอกจากจะเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และเป็นวันพ่อแห่งชาติแล้ว ยังถือว่าว่าวันนี้ เป็น “วันชาติของไทย” อีกด้วย

โดยทั่วไป “วันชาติ” มักจะหมายถึง
วันเฉลิมฉลองที่ประเทศนั้นๆได้รับอิสรภาพ เป็นเอกราช หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ รัฐ ราชวงศ์ วันพระราชสมภพของพระมหากษัตริย์ วันเกิดประมุขของรัฐ หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ แต่มักจะถือเป็นวันหยุดประจำของชาติ ซึ่ง “วันชาติ” ของแต่ละประเทศจะเป็นวันใด ก็ขึ้นอยู่กับการกำหนดของประเทศนั้นๆ เช่น ประเทศโมร็อกโก ตรงกับวันที่ ๒ มีนาคม สหรัฐอเมริกา ตรงกับวันที่ ๔ กรกฎาคม ฝรั่งเศสตรงกับวันที่ ๑๔ กรกฎาคม อินโดนีเซียตรงกับวันที่ ๑๗ สิงหาคม บราซิลตรงกับวันที่ ๗ กันยายน และเคนย่าตรงกับวันที่ ๑๒ ธันวาคม เป็นต้น

“วันชาติ” ของประเทศต่างๆ ส่วนใหญ่จะมีเพียงวันเดียว
แต่ก็มีบางประเทศเช่นกันที่มี “วันชาติ” มากกว่าหนึ่งวัน ทั้งนี้เพราะประเทศนั้นๆ อาจจะนับวันที่ได้รับเอกราชหรือวันที่ปลดแอกจากการเป็นอาณานิคม และวันที่มีการสถาปนาการปกครองขึ้นใหม่ ซึ่งอาจจะมิใช่วันเดียวกัน แต่เป็นวันสำคัญเสมือนวันชาติเท่าๆกัน เช่น ประเทศปากีสถาน จะมีวันชาติตรงกับวันที่ ๒๓ มีนาคม ที่เขาเรียกว่า “Republic Day” และวันที่ ๑๔ สิงหาคม เป็น “Independence Day” ส่วนฮังการี ก็มีถึง ๓ วันคือ วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๐ สิงหาคม และ ๒๓ ตุลาคม สำหรับจีน นอกจากจะมีวันชาติตรงกับวันที่ ๑ ตุลาคม แล้ว ที่ฮ่องกง อันเป็นเขตปกครองพิเศษของจีน ที่มีขึ้นหลังจากอังกฤษคืนเกาะฮ่องกงให้จีนก็มีการเฉลิมฉลองวันที่ตรงกับวันสถาปนาการปกครองพิเศษนี้ขึ้น ในวันที่ ๑ กรกฎาคม อีกด้วย

สำหรับประเทศไทย
เราเคยได้มีการกำหนดให้วันที่ ๒๔ มิถุนายน เป็น “วันชาติ”ของไทย ด้วยถือว่าวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ เป็นวันเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นการปกครองในระบอบรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตย โดยได้มี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง “วันชาติ” ลงวันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ โดย พ.อ.พหลพลพยุหเสนา เป็นนายกรัฐมนตรีสมัยนั้น และได้มีการเฉลิมฉลองวันชาติ ๒๔ มิถุนายน ครั้งแรกในปีพ.ศ. ๒๔๘๒ ในสมัยจอมพลป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี
วันที่ ๒๔ มิถุนายน เป็น “วันชาติ” ของไทยอยู่นานถึง ๒๑ ปี ครั้น วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๐๓ สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ก็ได้มี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ขึ้นใหม่อีกฉบับหนึ่ง เรื่อง ให้ถือวันพระราชสมภพเป็นวันเฉลิมฉลองของชาติไทย โดยให้เหตุผลว่า

ด้วยคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาเห็นว่า
ตามที่ได้กำหนดให้มีการเฉลิมฉลองวันชาติไทยในวันที่ ๒๔ มิถุนายน นั้น ได้ปรากฏในภายหลังว่า มีข้อที่ไม่เหมาะสมหลายประการ ในด้านประชาชนและหนังสือพิมพ์ก็ได้เสนอแนะให้พิจารณาในเรื่องนี้หลายครั้งหลายคราว คณะรัฐมนตรีจึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นพิจารณา โดยมีพลตรีพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ รองนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน

คณะกรรมการนี้ได้พิจารณาแล้ว
เสนอความเห็นว่า ประเทศต่างๆได้เลือกถือวันใดวันหนึ่งที่มีความสำคัญเกี่ยวเนื่องกับชนในชาติต่างๆกัน โดยถือเอาวันประกาศเอกราช วันอิสรภาพ วันตั้งถิ่นฐาน วันสาธารณรัฐ วันสถาปนาพระราชวงศ์บ้าง ซึ่งไม่เหมือนกัน แต่ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของชาติ โดยทั่วไปนั้น ได้ถือเอาวันพระราชสมภพของพระมหากษัตริย์เป็นวันเฉลิมฉลองของชาติ เช่น ประเทศอังกฤษ เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวีเดน ญี่ปุ่น ฯลฯ เป็นต้น แม้ประเทศไทยเราเองก็ได้ถือเอาวันพระราชสมภพเป็นวันเฉลิมฉลองของชาติไทยมาแล้ว เพิ่งจะมากำหนดเอาวันที่ ๒๔ มิถุนายน เป็นวันชาติ เพิ่มขึ้นอีกวันหนึ่งในระยะหลังนี้เอง

คณะกรรมการจึงมีความเห็นว่า
เพื่อให้เป็นไปตามขนบประเพณีของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และเป็นหลักการสมัครสมานสามัคคีรวมจิตใจของบุคคลในชาติโดยทั่วกัน จึงสมควรจะถือเอาวันพระราชสมภพของพระมหากษัตริย์เป็นวันเฉลิมฉลองของชาติไทยต่อไป โดยยกเลิกวันชาติ ในวันที่ ๒๔ มิถุนายนเสีย
ดังนั้น นับแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ประเทศไทยจึงได้ถือเอาวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งตรงกับวันที่ ๕ ธันวาคม ของทุกปี เป็น “วันชาติ” ของไทย ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

ตามปกติ การจัดงาน “วันชาติ” ของประเทศต่างๆ
ก็จะมีกิจกรรมและรูปแบบแตกต่างกันออกไป ส่วนใหญ่ก็มักจะมีการกล่าวสุนทรพจน์ การจัดขบวนพาเหรดเฉลิมฉลอง การจุดพลุดอกไม้ไฟอย่างเอิกเกริก รวมไปถึงการแสดงมหรสพต่างๆ เป็นต้น แต่ในประเทศไทย เนื่องจากวันชาติ เป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษา และวันพ่อแห่งชาติ ซึ่งมีกิจกรรมเฉลิมฉลองอยู่แล้ว กอปรกับประเทศไทยยังไม่เคยเป็นเมืองขึ้นของใครมาก่อน และคนรุ่นใหม่ส่วนใหญ่ก็คุ้นชินกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอย่างที่เห็นกันอยู่ปัจจุบัน
ดังนั้น “วันชาติ” ของเราจึงดูเหมือนไม่ค่อยมีความสำคัญเท่าใดนัก เพราะชาวไทยทุกหมู่เหล่าล้วนตัองการจัดกิจกรรมเพื่อถวายความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “พ่อหลวงของแผ่นดิน” มากกว่าประเด็นอื่น อย่างไรก็ดี หากเราจะระลึกว่าวันนี้ ก็เป็น “วันชาติ”ของไทยด้วย แล้วจัดกิจกรรมต่างๆที่จะแสดงให้เห็นว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจเพื่อ “ประเทศชาติ” ด้วยพระวิริยะอุตสาหะ และความเสียสละมาอย่างยาวนานเช่นไร ก็อาจจะทำให้ วันนี้ มีความหมายครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

ความเป็นมา

วันพ่อแห่งชาติ ได้จัดให้มีขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2523 โดยคุณหญิงเนื้อทิพย์ เสมรสุต นายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษาเป็นผู้ริเริ่ม หลักการและเหตุผลที่มีการจัดตั้งวันพ่อ เนื่องจากพ่อ เป็นบุคคลผู้มีพระคุณและมีบทบาทสำคัญต่อครอบครัวและสังคม สมควรที่ผู้เป็นลูกจะเคารพเทิดทูนและตอบ แทนพระคุณด้วยความกตัญญู และสังคมควรที่จะยกย่องให้เกียรติรำลึกถึงผู้เป็นพ่อ จึงถือเอาวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี ซึ่งเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาเป็น "วันพ่อแห่งชาติ" ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวที่ทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทยอย่างนานัปการ อีกทั้งยังทรงเป็นพระราชบิดาของพระราชโอรสและ พระราชธิดาที่ทรงรักใคร่ห่วงใย ตั้งแต่พระเยาว์จนถึงปัจจุบัน และพระเจ้าหลานเธอทุก ๆ พระองค์ต่างซาบซึ้ง ในพระมหากรุณาธิคุณอย่างมิรู้ลืม พระองค์ทรงเป็น "พ่อ" ตัวอย่างของปวงชนชาวไทยที่เปี่ยมล้นด้วยพระ เมตตากรุณา ทรงห่วงใยอย่างหาที่เปรียบมิได้

     วันที่ ๑o ธันวาคม เป็นวันรัฐธรรมนูญ ซึ่งจัดให้มีขึ้นทุกๆ ปี เพื่อเป็นการระลึกถึงการอุบัติขึ้นของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ

ก่อนหน้านี้ประเทศไทย มีการปกครองแบบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ จนกระทั่งวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ การเปลี่ยนแปลงนี้นำโดยกลุ่มคนรุ่นหนุ่มสาวที่ได้รับการศึกษาจากต่างประเทศ และได้รับอิทธิพลจากแนวความคิดด้านระบอบประชาธิปไตยตะวันตก กลุ่มนี้มีชื่อว่า "คระราษฎร์" นำโดยหลวงประดิษฐ์ มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการนองเลือด พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้มีการยกเลิกการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และทรงมอบรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกของประเทศให้กับประชาชน ที่จริงแล้วพระองค์ทรงเตรียมการที่จะมอบอำนาจของพระองค์ให้อาณาประชาราษฎร์ก่อนที่จะมีการเรียกร้องเสียด้วยซ้ำไป

                อย่างไรก็ตาม รัฐธรรมนูญไทยทุกฉบับ ต่างก็ยอมรับพระมหากษัตริย์ว่าทรงดำรงตำแหน่งเป็นประมุขของประเทศ ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก และทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ อำนาจอธิปไตยของพระองค์มาจาก ปวงชนชาวไทย และพระองค์ทรงใช้อำนาจ ๓ ทาง คือ อำนาจนิติบัญญัติ โดยผ่านรัฐสภา อำนาจบริหาร โดยผ่านคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการ โดยผ่านศาลยุติธรรม

ถึงแม้ว่าการปฏิวัติในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ จะนำมาซึ่งการสิ้นสุดของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อันเป็นระบอบเก่าแก่มาหลายศตวรรษก็ตาม ความเคารพเลื่อมใสศรัทธาของชาวไทยที่มีต่อองค์พระมหากษัตริย์ก็ไม่มีวันเสื่อมคลาย ด้วยการเปลี่ยนแปลงใดๆ ทั้งสิ้น ที่เห็นได้ชัดคือ พระบรมฉายาลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ไทยมีให้เห็นอยู่ทั่วพระราชอาณาจักร ในวันรัฐธรรมนูญจะมีการจัดพิธีฉลองวันนี้กันทั่วประเทศ โดยสถานที่ราชการ อาคารเอกชน และตึกสูงๆ จะประดับด้วยธงชาติ และธงประดับ พร้อมทั้งแสงไฟสว่างไสว ชาวไทยต่างพร้อมใจกันแสดงความจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์ ผู้ทรงพระมหากรุณาธิคุณ เปิดโอกาสให้ปวงชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารประเทศชาติ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีทั้งหมด 16 ฉบับ ได้แก
ฉบับที่ 1 ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม พุทธศักราช 2475
ฉบับที่ 2 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475
ฉบับที่ 3 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489
ฉบับที่ 4 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2490 (ฉบับชั่วคราว)
ฉบับที่ 5 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492
ฉบับที่ 6 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2495
ฉบับที่ 7 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2502
ฉบับที่ 8 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511
ฉบับที่ 9 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2515
ฉบับที่ 10 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517
ฉบับที่ 11 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519
ฉบับที่ 12 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2520
ฉบับที่ 13 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521 (แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2528)
ฉบับที่ 14 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534
ฉบับที่ 15 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534
ฉบับที่ 16 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

ขอขอบคุณเนื้อหาดีดี โดย:fwmail

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 330 คน กำลังออนไลน์