• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:aa019a1b9bfa2b7ca84c5690a4e13600' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n <span style=\"color: #0000ff\"><strong>ปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ และความปลอดภัย</strong></span> <br />\n     ปัจจัยเสี่ยง   หมายถึง   องค์ประกอบด้านกายภาพ   สังคม   หรือสถานการณ์ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ  ชีวิต   หรือทรัพย์สิน   พฤติกรรมเสี่ยง   หมายถึง   การกระทำของบุคคลที่อาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ  ชีวิต   หรือทรัพย์สิน   ในปัจจุบันโลกมีความเจริญขึ้นแต่ความปลอดภัยกลับลดน้อยลง  ทั้งนี้เพราะมีปัจจัยเสี่ยงต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพความปลอดภัยมากมายในที่นี้จะขอนำเสนอเพียงบางส่วนซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อชีวิตคนเรา<br />\n1. พฤติกรรมสุขภาพ   เป็นการปฏิบัติตนที่มีผลต่อสุขภาพ   หากปฏิบัติตนไม้เหมาะสมจะทำ <br />\nให้สุขภาพเสื่อมลง  เช่น  การไม่ออกกำลังกาย   การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์  การใช้สารเสพติดการสำส่อนทางเพศ  การพักผ่อนไม่เพียงพอ  การไม่ระวังโรคติดต่อ  เป็นต้น   <br />\n2.การสัญจร   โดยพาหนะทั้งที่เป็นรถยนต์รถจักรยานยนต์   รถไฟ  เรือ   เครื่องบิน   เป็นต้น <br />\nยิ่งมีการสัญจรเดินทางมากอุบัติเหตุก็มีมากขึ้นเป็นเงาตามตัว <br />\n3.สิ่งแวดล้อม    ในปัจจุบันมีมลพิษมากมากทำให้สิ่งแวดล้อมแย่ลง   ดังนั้น  คนที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีขยะส่งกลิ่นเหม็น   น้ำเน่า  อากาศเป็นพิษ  มีพวกมิจฉาชีพมากสารเสพติดแพร่ระบาดมาก  ใกล้โรงอุตสาหกรรมสิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดอันตารายต่อสุขภาพและชีวิตมากพอสมควร   <br />\n4. การอุปโภค   คือการใช้สิ่งของเครื่องใช้ต่างๆปัจจุบันมีเครื่องอุปโภคที่แฝงไว้ด้วยพิษภัย <br />\nหลายอย่าง  เช่น  เครื่องสำอาง   เตาแก๊ส   เครื่องใช่ไฟฟ้า   เป็นต้น  ซึ่งถ้าไม่รู้จักเลือกใช้หรือใช้ไม่ถูกต้องก็เป็นอันตรายได้เหมือนกัน  <br />\n5.การบริโภค   ปัจจุบันอาหาร การกิน    มีสารพิษปนเปื้อนมากมาย   เช่น ขนมผสมสีย้อมผ้า   ปลาเค็มฉีดดีดีที   ปลาสด แช่สารฟอร์มาลีน    ผักมีสารพิษ  สิ่งเหล่านี้ เข้าไปสะสมในร่างกายจนถึงระยะหนึ่งเมื่อ สะสมมากขึ้นจะทำไห้ร่างกายเกิดอาการผิดปกติ   โรคภัยไข้เจ็บจะเบียดเบียนทำให้ผู้บริโภคเกิดความไม่ปลอดภัย<br />\n6. อุบัติเหตุในบ้าน   การใช้ชีวิตอยู่ในบ้านก็อาจเกิดอุบัติเหตุได้เหมือนกัน <br />\n  <span style=\"color: #0000ff\"><strong>แนวปฏิบัติเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดสารเสพติด</strong></span> <br />\n     สาเหตุของการติดสารเสพติด โดยทั่วไปผู้ที่ติดสารเสพติดมักมีสาเหตุ<br />\n1.สภาพทางจิต   ซึ่งได้แก่   ขาดความรักความอบอุ่นจากครอบครัว     มีจิตใจอ่อนแอ<br />\nไม่หนักแน่น    มีความคึกคะนอง     อยากรู้อยากเห็น    อยากลอง   อยากอวดเพื่อน   คิดว่าเป็นสิ่งที่โก้เก๋ก็มีหรือแสดงความเป็นชาย    แต่ผู้หญิงบางคนก็เสพสารเสพติดเพราะคิดว่าโก้เก๋ก็มี <br />\n2. สภาพแวดล้อม   ผู้ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีผู้ใช้และผู้ขายสารเสพติดกันมาก    มีเพื่อนฝูง <br />\nที่ใช้สารเสพติด    มีสิ่งยั่วยุ   แหล่งบันเทิงเริงรมย์   ซึ่งเป็นแหล่งที่มักมีสารเสพติดใช้กัน <br />\n3.ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์    เนื่องจากขาดความรู้และประสบการณ์    อาจถูกเพื่อนหลอกให้เสพหรือไม่รู้ถึงพิษภัยว่าร้ายแรงเพียงใด    หรือสารเสพติดบางอย่างเสพครั้งสองครั้งก็ติด<br />\n4.ความจำเป็นของร่างกาย    ใช้เนื่องจากระงับความเจ็บปวด    ลดความตึงเครียดทางประสาทหรือบางอาชีพต้องทำงานหนักเป็นเวลานาน    จึงใช้สารเสพติดเพื่อให้ทำงานได้นาน<br />\n  <span style=\"color: #0000ff\"><strong>การออกฤทธิ์ของสารเสพติด</strong></span> <br />\n      ฤทธิ์ของสารเสพติด   แบ่งได้เป็น  4  แบบ  ดังนี้ <br />\n1.  ออกฤทธิ์กดประสาท   ( Depressant )  จะทำให้เกิดอาการมึนงง   ง่วงซึม   หมดแรง <br />\nหายใจช้าลง   สารเสพติดที่ออกฤทธิ์กดประสาท   ได้แก่   ยานอนหลับ   เฮโรอีน  มอร์ฟีน  ฝิ่น  เมธาโดน  เซโคนัล   บาร์บิทูเรต    ฟีโนบาร์บิตาล    โบรไมด์    พาราดีไฮด์<br />\n2. ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท  (  Stimulant )   จะทำให้ประสาทตื่นตัว    กระวนกระวาย <br />\nไม่ง่วงนอน    แต่ถ้าหมดฤทธิ์ยาจะง่วงนอนทันที    อาจทำให้หลับง่ายหรืออาจเกิดการหลับใน   อาการ อื่นๆ  เช่น    ตัวสั่น   เครียด   เป็นต้น   สารเสพติดที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท   ได้แก่   ใบกระท่อม   ยาบ้า  โคเคอีน <br />\n3. ออกฤทธิ์หลอนประสาท   ( Hallucinogen )   จะทำให้ประสาทหลอน   ประสาทสัมผัส <br />\nทางตา    หู    จมูก    ลิ้น    การสัมผัสจะเปลี่ยนไปจากความเป็นจริง    สารเสพติดที่ออกฤทธิ์หลอนประสาทได้แก่    กัญชา   แอล.เอส.ดี   ( Lysergic  Acid  Dicthylamide : L.S.D.)  ดี.เอ็ม.ที (Dimethy  Tryptamine : D.M.T.)   กาว    ทินเนอร์<br />\n4.ออกฤทธิ์ผสมผสานกัน  ( Mixed ) จะออกฤทธิ์ทั้ง 2 แบบรวมกันหรือทั้ง 3 แบบรวมกัน <br />\nดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น    สารเสพติดที่ออกฤทธิ์ผสมผสานกัน   ได้แก่   กัญชา   ถ้าเสพจำนวนน้อย <br />\nจะกดประสาทชั่วระยะหนึ่ง    ต่อเมื่อเสพเพิ่มเข้าไปมากจะกลายเป็นพิษหลอนประสาทได้   สารระเหยเมื่อสูดดมในระยะแรกจะกระตุ้นประสารทต่อมาจะหลอนประสาท <br />\n   <span style=\"color: #0000ff\"><strong>วิธีป้องกันและหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด <br />\n</strong></span>        สารเสพติดมีอันตรายต่อผู้ใช้หรือผู้เสพ    ดังนั้น   เราจึงต้องมีวิธีป้องกันและหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด  <br />\n1.ครอบครัวที่อบอุ่นจะเป็นรั้วป้องกันสารเสพติดได้เป็นอย่างดี <br />\n2.  ต้องมีใจคอหนักแน่น    อาจมีเพื่อน ชักชวนให้เสพก็ต้องปฏิเสธอย่าไปเสพไม่ต้องเกรงใจเพื่อนในทางที่ผิด <br />\n3.  อย่าลองเป็นอันขาด   เพราะจะนำไปสู่การใช้สารเสพติดบ่อยครั้งจนเกิดการติดได้   สารเสพติดบางอย่างเสพครั้งสองครั้งก็ติดแล้ว <br />\n4.  ต้องคิดใหม่   อย่าคิดแบบเก่า ๆ  คือคิดว่าการเสพสารเสพติดเป็นสิ่งที่โก้เก๋    เป็นคนเก่ง <br />\nเพื่อนฝูงจะยอมรับ   ควรคิดใหม่    คือต้องคิดว่าคนที่เสพเป็นคนที่เสพเป็นคนที่น่าอับอาย  น่ารังเกียจเป็นคนอ่อนแอชักจูงง่าย  ถ้าเพื่อนฝูงไม้รับเพราะเราไม้เสพก็ชั่งเขาไม้ต้องไปคบด้วยกับเพื่อนคนที่ชักชวน เราไปสู่ความหายนะ <br />\n5. ต้องตระหนักถึงพิษภัยเพราะสารเสพติดทุกชนิดมีพิษภัยต่อร่างกายทั้งสิ้น <br />\n6. ต้องตระหนักว่าการที่นักเรียนไปใช้สารเสพติด   ถ้าพ่อแม่   ผู้ปกครองรู้จะทำให้ท่านเสียใจ <br />\n7. พยายามหลีกเลี่ยงจากสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการใช้สารเสพติด   เช่น  หลีกเลี่ยงจากเพื่อน <br />\nที่ใช้สารเสพติด   ไม่ไปเที่ยวสถานบันเทิงเริงรมย์   เป็นต้น <br />\n8. ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดชนิดต่าง ๆ  เพื่อให้รู้ถึงอันตรายและเรียนรู้วิธีหลีกเลี่ยงและป้องกัน    <br />\n9. ไม่ใช้สารเสพติดเพื่อการรักษาโรคด้วยตนเอง     ยาบางชนิดมีสารเสพติดผสมอยู่    เช่น <br />\nยาระงับปวดบางชนิด    ยาแก้ไอบางชนิด <br />\n10. ควรหากิจกรรมทำอย่าให้มีเวลาว่างมาก   ขณะนี้มีคำที่นิยมใช้และมีการจัดตั้งกันมากมายก็คือ   “ ลานกีฬาต้านยาเสพติด ’’ ซึ่งการเล่นกีฬาจะทำให้สนุกสนาน   มีเวลาว่างน้อยลง   ก็จะช่วยไม่ให้คนเราหันเหไปใช้สารเสพติดได้<br />\n11. ถ้ามีปัญหาไม่พึ่งสารเสพติด   ควรปรึกษาพ่อแม่   ผู้ปกครอง   ครู   อาจารย์   ญาติผู้ใหญ่ <br />\n12.  ถ้าพบว่ามีการจำหน่าย    จ่ายแจกสารเสพติดกันในบริเวณโรงเรียนให้แจ้งครูอาจารย์ <br />\nถ้านอกโรงเรียนให้บอกผู้ปกครองให้ไปแจ้งตำรวจ   แต่ต้องระมัดระวังในเรื่องความปลอดภัยด้วย  เพราะถ้าผู้จำหน่ายรู้ว่าใครขัดผลประโยชน์หรือทำให้เขาเดือดร้อน    <br />\n   <span style=\"color: #0000ff\"><strong>ความหมายและประเภทของความรุนแรง</strong></span><br />\n      ความรุนแรง   หมายถึงการทำร้ายทางร่างกาย     การทำร้ายทางจิตใจ   การทำร้ายทางเพศ และการทอดทิ้งเด็กที่มีอายุต่ำกว่า  18  ปี ความรุนแรงมี 4  ประเภท <br />\n1. การทำร้ายร่างกาย   คือ  มักเกิดจากการทุบ   ตี   ต่อย   เตะ   จับศีรษะโขกกับของแข็ง ใช้เทียนหยดลงตามตัว   ขว้างปาด้วยสิ่งของ   แทง   ฟัน   ยิง   หรือทรมานร่างกายด้วยวิธีต่าง ๆ<br />\n2. การทำร้ายทางจิตใจ    เป็นการกระทำด้วยกิริยาวาจา  ทาทาง  สายตา  สีหน้า  จนทำให้ผู้ถูกกระทำเจ็บชำนำใจ  อับอาย  อาจถึงขั้นคิดสั้นได้  การกระทำดังกล่าว   ได้แก่  การด่า  บังคับขู่เข็ญการดูถูกเหยียดหยามการเยาะเย้ยถากถาง  การข่มขู่  การไล่ออกจากบ้าน  การหน่วงเหนี่ยวกักขัง  ตลอดจนการรบกวนต่าง ๆ ทางจิตใจของผู้ผูกกระทำ<br />\n3. การทำรายทางเพศ  ผู้ที่ถูกทำร้ายทางเพศมักได้แก่เพศหญิงและมีเด็กชายบ้างเหมือนกัน ลักษณะการทำร้ายทางเพศมีหลายรูปแบบ  เช่น  การถูกจับหน้าอก  ถูกจับก้น  ถูกจับอวัยวะเพศ การถูกฝ่ายชายเอาอวัยวะเพศมาถูไถร่างก่ายขณะอยู่ในชุมชน  การถูกปลุกปล้ำ   การถูกข่มขืน <br />\nโดยผู้ชายคนเดียว  การถูกข่มขืนโดยผู้ชายหลายคน  การถูกบังคับให้ถอดเสื้อผ้าเพื่อถ่ายภาพ ถูกพูดจาลวนลาม  ล่วงเกินทางเพศ  ถูกตัดแต่งภาพโดยใช้รูปโป๊ของผู้อี่นแต่ใช้หน้าผู้เสียหายออก  เผยแพร่ให้ สาธารณชนได้เห็น เป็นต้น<br />\n4. การทอดทิ้งเด็ก  อาจทอดทิ้งตั้งแต่แรกเกิด  จนถึงการทอดทิ้งเด็กโตซึงอายุไม่ไม่เกิน  18  ปี  จนผู้ทอดทิ้งได้รับความเดือดร้อน<br />\nหรือถึงขั้นเสียชีวิต ปัจจุบันนี้เรื่องการทอดทิ้งเด็ก เด็กมีมากมายในสังคมไทยทั้งนี้เกิดจากความ ไม่รับผิดชอบของผู้ใหญ่และพวกไวรุ่นใจแตก <br />\n  <span style=\"color: #0000ff\"><strong>พฤติกรรมและสาเหตุของการใช้ความรุนแรงในวัยรุ่น <br />\n</strong></span>      พฤติกรรมและสาเหตุของการใช้ความรุนแรงในวัยรุ่น  มีหลายประเภทดังนี้ <br />\n1.การทะเลาะวิวาทภายในสถาบัน   อาจเกิดจากบุคคล 2 คนที่ทำร้าย ชกต่อยตบตีกัน หรือเกิดจากบุคคล 2 ฝ่าย ฝ่ายละหลายๆคนหรือการรมทำร้ายกัน  ซึ่งส่วนใหญ่มักไม่รุนแรง มากนักแค่เพียงเจ็บตัว  แต่บางครั้งก็อาจมีการแทงกัน  ยิงกัน  ดังข่าวที่ปรากฏทางหน้าหนังสือพิมพ์ ที่นานๆ ครั้งจะพบเห็นสาเหตุเกิดจากการไม่เข้าใจกัน  ความหมั่นไส้  ความหึงหวง <br />\n2.การทะเลาะวิวาทภายนอกสถาบัน   มักเกิดจากนักเรียน  นักศึกษากลุ่มหนึ่งซึ่งมี เพียงเล็กน้อยเกิดความคึกคะนอง  อยากทำตัวโดดเด่น    ( ที่ไม่ถูกต้อง )   ไม่คิดถึงจิตใจของผู้อื่น แม้กระทั่งพ่อแม่ของตนเอง    ก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม    ซึ่งขณะนี้ภาครัฐกำลังดำเนินการแก้ไข ปัญหานี้อยู่   สาเหตุมักเกิดจากการไปหาเรื่องกัน    การถูกชักชวนกันไปทะเลาะวิวาท   การที่มีเพื่อนถูกบางคนที่อยู่สถาบันอื่นทำร้าย    การมีนิสัยพาลเกเรไปทำร้ายผู้ที่ไม่รู้เรื่อง <br />\n3. การถูกทำร้ายทางเพศ    วัยรุ่นจำนวนมากโดยเฉพาะผู้หญิงที่ถูกทำร้ายทางเพศ   ผู้ที่ ทำร้ายทางเพศส่วนใหญ่เป็นคนใกล้ตัว   เช่น   คู่รัก   เพื่อน   ญาติ   พี่เลี้ยง   เป็นต้น   ซึ่งโดยมาก มักจะถูกหลอก   ล่อลวง  และบังคับ   บางรายถูกทำร้ายทางเพศติดต่อกันเป็นเวลานานหลายปี  กว่าที่คนอื่นหรือทางราชการจะรู้เรื่องหรือผู้ถูกทำร้ายทางเพศยอมเปิดเผยเรื่องราว\n</p>\n<p>\n  <span style=\"color: #0000ff\"><strong>การป้องกันไม่ให้การเกิดความรุนแรง <br />\n</strong></span>     เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาความรุนแรง    ควรมีวิธีป้องกันดังต่อไปนี้ <br />\n1.  เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่    ผู้ปกครอง   ครู    อาจารย์ <br />\n2.  เข้าร่วมกิจกรรมสร้างเสริมความสามัคคีในกลุ่มนักเรียน   เช่น  กีฬาสี <br />\n3.  ฝึกตนเองให้สามารถรู้จักแก้ปัญหาด้วยการใช้ความคิดด้วยเหตุผล    หลีกเลี่ยงการใช้ <br />\nอารมณ์   และใช้ความรุนแรง <br />\nควรมีการรวมกลุ่มตามความสนใจและความถนัดของตนเองเพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์  เช่น   กลุ่มดนตรี <br />\nฝึกสมาธิ <br />\nเข้าร่วมกิจกรรมกล่อมเกลาจิตใจให้มีความอ่อนโยน   รู้จักควบคุมอารมณ์ตนเอง  เช่นอบรมจริยธรรม   ฟังบรรยายธรรมะ  \n</p>\n<p>\n<br />\n   <span style=\"color: #0000ff\"><strong>สรุป <br />\n</strong></span>        ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพประกอบด้วยปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมและปัจจัยเสี่ยง ด้านพฤติกรรม   ปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม  เช่น  การเกิดอุบัติเหตุ  การเกิดภัยธรรมชาติ  เป็นต้น  ปัจจัยเสี่ยงด้านพฤติกรรม  เช่น  การติดสารเสพติด  การบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและถ้าคนเราสามารถหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงดังที่กล่าวมาแล้วจะทำให้ร่างกายมีสุขภาพแข็งแรง   และมีความปลอดภัยในชีวิต\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n', created = 1714010250, expire = 1714096650, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:aa019a1b9bfa2b7ca84c5690a4e13600' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพและความปลอดภัย

 ปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ และความปลอดภัย
     ปัจจัยเสี่ยง   หมายถึง   องค์ประกอบด้านกายภาพ   สังคม   หรือสถานการณ์ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ  ชีวิต   หรือทรัพย์สิน   พฤติกรรมเสี่ยง   หมายถึง   การกระทำของบุคคลที่อาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ  ชีวิต   หรือทรัพย์สิน   ในปัจจุบันโลกมีความเจริญขึ้นแต่ความปลอดภัยกลับลดน้อยลง  ทั้งนี้เพราะมีปัจจัยเสี่ยงต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพความปลอดภัยมากมายในที่นี้จะขอนำเสนอเพียงบางส่วนซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อชีวิตคนเรา
1. พฤติกรรมสุขภาพ   เป็นการปฏิบัติตนที่มีผลต่อสุขภาพ   หากปฏิบัติตนไม้เหมาะสมจะทำ
ให้สุขภาพเสื่อมลง  เช่น  การไม่ออกกำลังกาย   การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์  การใช้สารเสพติดการสำส่อนทางเพศ  การพักผ่อนไม่เพียงพอ  การไม่ระวังโรคติดต่อ  เป็นต้น  
2.การสัญจร   โดยพาหนะทั้งที่เป็นรถยนต์รถจักรยานยนต์   รถไฟ  เรือ   เครื่องบิน   เป็นต้น
ยิ่งมีการสัญจรเดินทางมากอุบัติเหตุก็มีมากขึ้นเป็นเงาตามตัว
3.สิ่งแวดล้อม    ในปัจจุบันมีมลพิษมากมากทำให้สิ่งแวดล้อมแย่ลง   ดังนั้น  คนที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีขยะส่งกลิ่นเหม็น   น้ำเน่า  อากาศเป็นพิษ  มีพวกมิจฉาชีพมากสารเสพติดแพร่ระบาดมาก  ใกล้โรงอุตสาหกรรมสิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดอันตารายต่อสุขภาพและชีวิตมากพอสมควร  
4. การอุปโภค   คือการใช้สิ่งของเครื่องใช้ต่างๆปัจจุบันมีเครื่องอุปโภคที่แฝงไว้ด้วยพิษภัย
หลายอย่าง  เช่น  เครื่องสำอาง   เตาแก๊ส   เครื่องใช่ไฟฟ้า   เป็นต้น  ซึ่งถ้าไม่รู้จักเลือกใช้หรือใช้ไม่ถูกต้องก็เป็นอันตรายได้เหมือนกัน 
5.การบริโภค   ปัจจุบันอาหาร การกิน    มีสารพิษปนเปื้อนมากมาย   เช่น ขนมผสมสีย้อมผ้า   ปลาเค็มฉีดดีดีที   ปลาสด แช่สารฟอร์มาลีน    ผักมีสารพิษ  สิ่งเหล่านี้ เข้าไปสะสมในร่างกายจนถึงระยะหนึ่งเมื่อ สะสมมากขึ้นจะทำไห้ร่างกายเกิดอาการผิดปกติ   โรคภัยไข้เจ็บจะเบียดเบียนทำให้ผู้บริโภคเกิดความไม่ปลอดภัย
6. อุบัติเหตุในบ้าน   การใช้ชีวิตอยู่ในบ้านก็อาจเกิดอุบัติเหตุได้เหมือนกัน 
  แนวปฏิบัติเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดสารเสพติด
     สาเหตุของการติดสารเสพติด โดยทั่วไปผู้ที่ติดสารเสพติดมักมีสาเหตุ
1.สภาพทางจิต   ซึ่งได้แก่   ขาดความรักความอบอุ่นจากครอบครัว     มีจิตใจอ่อนแอ
ไม่หนักแน่น    มีความคึกคะนอง     อยากรู้อยากเห็น    อยากลอง   อยากอวดเพื่อน   คิดว่าเป็นสิ่งที่โก้เก๋ก็มีหรือแสดงความเป็นชาย    แต่ผู้หญิงบางคนก็เสพสารเสพติดเพราะคิดว่าโก้เก๋ก็มี
2. สภาพแวดล้อม   ผู้ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีผู้ใช้และผู้ขายสารเสพติดกันมาก    มีเพื่อนฝูง
ที่ใช้สารเสพติด    มีสิ่งยั่วยุ   แหล่งบันเทิงเริงรมย์   ซึ่งเป็นแหล่งที่มักมีสารเสพติดใช้กัน
3.ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์    เนื่องจากขาดความรู้และประสบการณ์    อาจถูกเพื่อนหลอกให้เสพหรือไม่รู้ถึงพิษภัยว่าร้ายแรงเพียงใด    หรือสารเสพติดบางอย่างเสพครั้งสองครั้งก็ติด
4.ความจำเป็นของร่างกาย    ใช้เนื่องจากระงับความเจ็บปวด    ลดความตึงเครียดทางประสาทหรือบางอาชีพต้องทำงานหนักเป็นเวลานาน    จึงใช้สารเสพติดเพื่อให้ทำงานได้นาน
  การออกฤทธิ์ของสารเสพติด
      ฤทธิ์ของสารเสพติด   แบ่งได้เป็น  4  แบบ  ดังนี้
1.  ออกฤทธิ์กดประสาท   ( Depressant )  จะทำให้เกิดอาการมึนงง   ง่วงซึม   หมดแรง
หายใจช้าลง   สารเสพติดที่ออกฤทธิ์กดประสาท   ได้แก่   ยานอนหลับ   เฮโรอีน  มอร์ฟีน  ฝิ่น  เมธาโดน  เซโคนัล   บาร์บิทูเรต    ฟีโนบาร์บิตาล    โบรไมด์    พาราดีไฮด์
2. ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท  (  Stimulant )   จะทำให้ประสาทตื่นตัว    กระวนกระวาย
ไม่ง่วงนอน    แต่ถ้าหมดฤทธิ์ยาจะง่วงนอนทันที    อาจทำให้หลับง่ายหรืออาจเกิดการหลับใน   อาการ อื่นๆ  เช่น    ตัวสั่น   เครียด   เป็นต้น   สารเสพติดที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท   ได้แก่   ใบกระท่อม   ยาบ้า  โคเคอีน
3. ออกฤทธิ์หลอนประสาท   ( Hallucinogen )   จะทำให้ประสาทหลอน   ประสาทสัมผัส
ทางตา    หู    จมูก    ลิ้น    การสัมผัสจะเปลี่ยนไปจากความเป็นจริง    สารเสพติดที่ออกฤทธิ์หลอนประสาทได้แก่    กัญชา   แอล.เอส.ดี   ( Lysergic  Acid  Dicthylamide : L.S.D.)  ดี.เอ็ม.ที (Dimethy  Tryptamine : D.M.T.)   กาว    ทินเนอร์
4.ออกฤทธิ์ผสมผสานกัน  ( Mixed ) จะออกฤทธิ์ทั้ง 2 แบบรวมกันหรือทั้ง 3 แบบรวมกัน
ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น    สารเสพติดที่ออกฤทธิ์ผสมผสานกัน   ได้แก่   กัญชา   ถ้าเสพจำนวนน้อย
จะกดประสาทชั่วระยะหนึ่ง    ต่อเมื่อเสพเพิ่มเข้าไปมากจะกลายเป็นพิษหลอนประสาทได้   สารระเหยเมื่อสูดดมในระยะแรกจะกระตุ้นประสารทต่อมาจะหลอนประสาท 
   วิธีป้องกันและหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด
        สารเสพติดมีอันตรายต่อผู้ใช้หรือผู้เสพ    ดังนั้น   เราจึงต้องมีวิธีป้องกันและหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด 
1.ครอบครัวที่อบอุ่นจะเป็นรั้วป้องกันสารเสพติดได้เป็นอย่างดี
2.  ต้องมีใจคอหนักแน่น    อาจมีเพื่อน ชักชวนให้เสพก็ต้องปฏิเสธอย่าไปเสพไม่ต้องเกรงใจเพื่อนในทางที่ผิด
3.  อย่าลองเป็นอันขาด   เพราะจะนำไปสู่การใช้สารเสพติดบ่อยครั้งจนเกิดการติดได้   สารเสพติดบางอย่างเสพครั้งสองครั้งก็ติดแล้ว
4.  ต้องคิดใหม่   อย่าคิดแบบเก่า ๆ  คือคิดว่าการเสพสารเสพติดเป็นสิ่งที่โก้เก๋    เป็นคนเก่ง
เพื่อนฝูงจะยอมรับ   ควรคิดใหม่    คือต้องคิดว่าคนที่เสพเป็นคนที่เสพเป็นคนที่น่าอับอาย  น่ารังเกียจเป็นคนอ่อนแอชักจูงง่าย  ถ้าเพื่อนฝูงไม้รับเพราะเราไม้เสพก็ชั่งเขาไม้ต้องไปคบด้วยกับเพื่อนคนที่ชักชวน เราไปสู่ความหายนะ
5. ต้องตระหนักถึงพิษภัยเพราะสารเสพติดทุกชนิดมีพิษภัยต่อร่างกายทั้งสิ้น
6. ต้องตระหนักว่าการที่นักเรียนไปใช้สารเสพติด   ถ้าพ่อแม่   ผู้ปกครองรู้จะทำให้ท่านเสียใจ
7. พยายามหลีกเลี่ยงจากสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการใช้สารเสพติด   เช่น  หลีกเลี่ยงจากเพื่อน
ที่ใช้สารเสพติด   ไม่ไปเที่ยวสถานบันเทิงเริงรมย์   เป็นต้น
8. ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดชนิดต่าง ๆ  เพื่อให้รู้ถึงอันตรายและเรียนรู้วิธีหลีกเลี่ยงและป้องกัน   
9. ไม่ใช้สารเสพติดเพื่อการรักษาโรคด้วยตนเอง     ยาบางชนิดมีสารเสพติดผสมอยู่    เช่น
ยาระงับปวดบางชนิด    ยาแก้ไอบางชนิด
10. ควรหากิจกรรมทำอย่าให้มีเวลาว่างมาก   ขณะนี้มีคำที่นิยมใช้และมีการจัดตั้งกันมากมายก็คือ   “ ลานกีฬาต้านยาเสพติด ’’ ซึ่งการเล่นกีฬาจะทำให้สนุกสนาน   มีเวลาว่างน้อยลง   ก็จะช่วยไม่ให้คนเราหันเหไปใช้สารเสพติดได้
11. ถ้ามีปัญหาไม่พึ่งสารเสพติด   ควรปรึกษาพ่อแม่   ผู้ปกครอง   ครู   อาจารย์   ญาติผู้ใหญ่
12.  ถ้าพบว่ามีการจำหน่าย    จ่ายแจกสารเสพติดกันในบริเวณโรงเรียนให้แจ้งครูอาจารย์
ถ้านอกโรงเรียนให้บอกผู้ปกครองให้ไปแจ้งตำรวจ   แต่ต้องระมัดระวังในเรื่องความปลอดภัยด้วย  เพราะถ้าผู้จำหน่ายรู้ว่าใครขัดผลประโยชน์หรือทำให้เขาเดือดร้อน    
   ความหมายและประเภทของความรุนแรง
      ความรุนแรง   หมายถึงการทำร้ายทางร่างกาย     การทำร้ายทางจิตใจ   การทำร้ายทางเพศ และการทอดทิ้งเด็กที่มีอายุต่ำกว่า  18  ปี ความรุนแรงมี 4  ประเภท
1. การทำร้ายร่างกาย   คือ  มักเกิดจากการทุบ   ตี   ต่อย   เตะ   จับศีรษะโขกกับของแข็ง ใช้เทียนหยดลงตามตัว   ขว้างปาด้วยสิ่งของ   แทง   ฟัน   ยิง   หรือทรมานร่างกายด้วยวิธีต่าง ๆ
2. การทำร้ายทางจิตใจ    เป็นการกระทำด้วยกิริยาวาจา  ทาทาง  สายตา  สีหน้า  จนทำให้ผู้ถูกกระทำเจ็บชำนำใจ  อับอาย  อาจถึงขั้นคิดสั้นได้  การกระทำดังกล่าว   ได้แก่  การด่า  บังคับขู่เข็ญการดูถูกเหยียดหยามการเยาะเย้ยถากถาง  การข่มขู่  การไล่ออกจากบ้าน  การหน่วงเหนี่ยวกักขัง  ตลอดจนการรบกวนต่าง ๆ ทางจิตใจของผู้ผูกกระทำ
3. การทำรายทางเพศ  ผู้ที่ถูกทำร้ายทางเพศมักได้แก่เพศหญิงและมีเด็กชายบ้างเหมือนกัน ลักษณะการทำร้ายทางเพศมีหลายรูปแบบ  เช่น  การถูกจับหน้าอก  ถูกจับก้น  ถูกจับอวัยวะเพศ การถูกฝ่ายชายเอาอวัยวะเพศมาถูไถร่างก่ายขณะอยู่ในชุมชน  การถูกปลุกปล้ำ   การถูกข่มขืน
โดยผู้ชายคนเดียว  การถูกข่มขืนโดยผู้ชายหลายคน  การถูกบังคับให้ถอดเสื้อผ้าเพื่อถ่ายภาพ ถูกพูดจาลวนลาม  ล่วงเกินทางเพศ  ถูกตัดแต่งภาพโดยใช้รูปโป๊ของผู้อี่นแต่ใช้หน้าผู้เสียหายออก  เผยแพร่ให้ สาธารณชนได้เห็น เป็นต้น
4. การทอดทิ้งเด็ก  อาจทอดทิ้งตั้งแต่แรกเกิด  จนถึงการทอดทิ้งเด็กโตซึงอายุไม่ไม่เกิน  18  ปี  จนผู้ทอดทิ้งได้รับความเดือดร้อน
หรือถึงขั้นเสียชีวิต ปัจจุบันนี้เรื่องการทอดทิ้งเด็ก เด็กมีมากมายในสังคมไทยทั้งนี้เกิดจากความ ไม่รับผิดชอบของผู้ใหญ่และพวกไวรุ่นใจแตก 
  พฤติกรรมและสาเหตุของการใช้ความรุนแรงในวัยรุ่น
      พฤติกรรมและสาเหตุของการใช้ความรุนแรงในวัยรุ่น  มีหลายประเภทดังนี้
1.การทะเลาะวิวาทภายในสถาบัน   อาจเกิดจากบุคคล 2 คนที่ทำร้าย ชกต่อยตบตีกัน หรือเกิดจากบุคคล 2 ฝ่าย ฝ่ายละหลายๆคนหรือการรมทำร้ายกัน  ซึ่งส่วนใหญ่มักไม่รุนแรง มากนักแค่เพียงเจ็บตัว  แต่บางครั้งก็อาจมีการแทงกัน  ยิงกัน  ดังข่าวที่ปรากฏทางหน้าหนังสือพิมพ์ ที่นานๆ ครั้งจะพบเห็นสาเหตุเกิดจากการไม่เข้าใจกัน  ความหมั่นไส้  ความหึงหวง
2.การทะเลาะวิวาทภายนอกสถาบัน   มักเกิดจากนักเรียน  นักศึกษากลุ่มหนึ่งซึ่งมี เพียงเล็กน้อยเกิดความคึกคะนอง  อยากทำตัวโดดเด่น    ( ที่ไม่ถูกต้อง )   ไม่คิดถึงจิตใจของผู้อื่น แม้กระทั่งพ่อแม่ของตนเอง    ก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม    ซึ่งขณะนี้ภาครัฐกำลังดำเนินการแก้ไข ปัญหานี้อยู่   สาเหตุมักเกิดจากการไปหาเรื่องกัน    การถูกชักชวนกันไปทะเลาะวิวาท   การที่มีเพื่อนถูกบางคนที่อยู่สถาบันอื่นทำร้าย    การมีนิสัยพาลเกเรไปทำร้ายผู้ที่ไม่รู้เรื่อง
3. การถูกทำร้ายทางเพศ    วัยรุ่นจำนวนมากโดยเฉพาะผู้หญิงที่ถูกทำร้ายทางเพศ   ผู้ที่ ทำร้ายทางเพศส่วนใหญ่เป็นคนใกล้ตัว   เช่น   คู่รัก   เพื่อน   ญาติ   พี่เลี้ยง   เป็นต้น   ซึ่งโดยมาก มักจะถูกหลอก   ล่อลวง  และบังคับ   บางรายถูกทำร้ายทางเพศติดต่อกันเป็นเวลานานหลายปี  กว่าที่คนอื่นหรือทางราชการจะรู้เรื่องหรือผู้ถูกทำร้ายทางเพศยอมเปิดเผยเรื่องราว

  การป้องกันไม่ให้การเกิดความรุนแรง
     เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาความรุนแรง    ควรมีวิธีป้องกันดังต่อไปนี้
1.  เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่    ผู้ปกครอง   ครู    อาจารย์
2.  เข้าร่วมกิจกรรมสร้างเสริมความสามัคคีในกลุ่มนักเรียน   เช่น  กีฬาสี
3.  ฝึกตนเองให้สามารถรู้จักแก้ปัญหาด้วยการใช้ความคิดด้วยเหตุผล    หลีกเลี่ยงการใช้
อารมณ์   และใช้ความรุนแรง
ควรมีการรวมกลุ่มตามความสนใจและความถนัดของตนเองเพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์  เช่น   กลุ่มดนตรี
ฝึกสมาธิ
เข้าร่วมกิจกรรมกล่อมเกลาจิตใจให้มีความอ่อนโยน   รู้จักควบคุมอารมณ์ตนเอง  เช่นอบรมจริยธรรม   ฟังบรรยายธรรมะ  


   สรุป
        ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพประกอบด้วยปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมและปัจจัยเสี่ยง ด้านพฤติกรรม   ปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม  เช่น  การเกิดอุบัติเหตุ  การเกิดภัยธรรมชาติ  เป็นต้น  ปัจจัยเสี่ยงด้านพฤติกรรม  เช่น  การติดสารเสพติด  การบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและถ้าคนเราสามารถหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงดังที่กล่าวมาแล้วจะทำให้ร่างกายมีสุขภาพแข็งแรง   และมีความปลอดภัยในชีวิต

 


 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 172 คน กำลังออนไลน์