• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:99e15aee2c221b11908a303b593e7e44' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<u><strong><span style=\"color: #333300\">ระบบใช้งานติดต่อคอมพิวเตอร์</span></strong></u>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n       <span style=\"color: #99cc00\">ตามปกติเมื่อซื้อเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มาใช้งาน มักจะได้ระบบปฏิบัติการมาพร้อมกับเครื่อง ซึ่งสามารถช่วยจัดการให้ผู้ใช้เรียกใช้หรือติดต่อกับเครื่องได้ทันที โดยรูปแบบของการติดต่อกับเครื่องจะขึ้นกับระบบปฏิบัติการที่ติดตั้ง และซอฟต์แวร์เสริมสภาพแวดล้อมการใช้งานซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบติดต่อระหว่างเครื่องกับผู้ใช้ให้ใช้ง่ายและทำงานได้รวดเร็วขึ้น aaaaaระบบติดต่อใช้งานคอมพิวเตอร์ อาจแบ่งได้เป็นสามกลุ่มด้วยกัน กลุ่มพิมพ์คำสั่งเข้าไปทีละบรรทัด กลุ่มเลือกรายการเมนู และกลุ่มเลือกสัญรูป</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">1 กลุ่มพิมพ์คำสั่งเข้าไปทีละบรรทัด</span></strong><br />\n</span><span style=\"color: #ff9900\">กลุ่มพิมพ์คำสั่งเข้าไปทีละบรรทัด เป็นการป้อนคำสั่งทีละบรรทัด ซึ่งไม่เอื้อต่อการใช้งานคอมพิวเตอร์เท่าใดนัก เพราะผู้ใช้จะต้องเรียนรู้หรือจดจำคำสั่งต่าง ๆ ไว้ให้ได้เสียก่อน เช่น การเรียนใช้คำสั่งของดอส ระบบนี้ผู้ใช้จะมีความสับสนในระยะแรก เพราะจะต้องเรียนรู้คำสั่งว่าใช้งานอะไร และใช้ได้อย่างไร ซึ่งการป้อนหรือพิมพ์คำสั่งเข้าไปจะต้องพิมพ์ไม่ผิดเลย ระบบติดต่อนี้จะใช้ยากและเสียเวลาบ้างถ้าจำคำสั่งไม่ได้ แต่ถ้าใช้ไปนาน ๆ จนคุ้นเคย อาจมีข้อดีที่สามารถเรียกโปรแกรมมาทำงานได้รวดเร็วที่สุด ใช้พื้นที่หน่วยความจำน้อยและมีกำลังประมวลผลสูงกว่าระบบติดต่อกลุ่มอื่น สำหรับผู้ชำนาญการใช้คอมพิวเตอร์แล้วนิยมการใช้ระบบติดต่อกลุ่มนี้มาก เพราะทำงานได้รวดเร็วกว่ากลุ่มอื่น</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">2 กลุ่มเลือกรายการเมนู <br />\n</span></strong><span style=\"color: #ff9900\">กลุ่มเลือกรายการเมนู ในระบบนี้จะแสดงรายการย่อยของคำสั่งต่าง ๆ ซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นข้อความ ตัวอักษรไม่เป็นรูปกราฟิก ผู้ใช้เพียงแต่เลื่อนตัวชี้ แถบสี หรือสัญลักษณ์ลูกศรขึ้นหรือลง รูปสัญลักษณ์อื่น ๆ ไปยังรายการที่ต้องการ แล้วกดปุ่มเลือกรายการนั้น หรืออาจใช้เมาส์เลือกรายการได้เช่นกัน ระบบติดต่อใช้งานคอมพิวเตอร์กลุ่มนี้จะใช้งานได้ง่ายขึ้นไม่ต้องจดจำคำสั่งมาก เพราะจะมีรายการคำสั่งแสดงไว้ให้เลือก ดังนั้นจึงเหมาะสำหรับผู้ใช้รายใหม่ที่เพิ่งเริ่มใช้เครื่องคอมพิวเตอร์</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>3 กลุ่มเลือกสัญรูป</strong></span><br />\n<span style=\"color: #ff9900\">กลุ่มเลือกสัญรูป มีลักษณะคล้ายระบบติดต่อกลุ่มที่สองที่เป็นรายการเมนูให้เลือก เพียงแต่ว่ารายการของกลุ่มที่สามจะเป็นรูปภาพ หรือสัญรูปสำหรับเลือกโดยมีอุปกรณ์เมาส์เป็นตัวเลื่อนตัวชี้และเลือกรายการ ในบางกรณีก็อาจเป็นรายการเมนูย่อยของข้อมูลในระบบ การติดต่อระหว่างเครื่องกับผู้ใช้ในลักษณะนี้ได้รับความสนใจมาก เพราะใช้งานง่ายไม่ต้องเรียนรู้ หรือจดจำคำสั่งที่ซับซ้อน<br />\nระบบติดต่อใช้งานในกลุ่มที่สามที่มีผู้นิยมหรือกล่าวถึงกันมาก คือ ระบบติดต่อผู้ใช้เชิงกราฟิก เรียกว่า กุย นับเป็นระบบที่แสดงรูปกราฟิกแบบบิตแมพ (bit map) ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นวินโดวส์ ดอส โอเอสทู หรือ ยูนิกส์ ต่างก็มีซอฟต์แวร์มาเสริมสภาพการใช้งานเป็นแบบกุยกันทั้งหมด</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #993300\">   โปรแกรมประเภทกุย ส่วนใหญ่เป็นโปรแกรมที่ซับซ้อนและมีขีดความสามารถสูง ดังนั้นการติดต่อหรือการเรียนรู้จึงยากกว่าปกติ แต่หลังจากติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้วโปรแกรมกุยจะใช้งานได้ง่าย และถ้านำไปทำงานในเครื่องความเร็วสูง ก็จะช่วยประหยัดเวลา และทำให้โปรแกรมต่าง ๆ ใช้งานง่ายขึ้น โปรแกรมประเภทกุยเป็นโปรแกรมขนาดใหญ่จึงใช้พื้นที่หน่วยความจำมาก ต้องใช้ตัวประมวลผลที่มีขีดความสามารถสูง จึงจะทำงานได้ผล<br />\nลักษณะเด่นของระบบติดต่อกุยเมื่อใช้กับซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการหลายภาระกิจ คือ สามารถทำหลายงานได้ในเวลาเดียวกัน โดยงานหนึ่ง ๆ จะปรากฎในช่องหน้าต่างที่เปิดขึ้นมาบนจอภาพ สามารถสลับระหว่างช่องหน้าต่างไปมา เปลี่ยนขนาดและย้ายตำแหน่งของช่องหน้าต่างและการโอนย้ายข้อมูลระหว่างช่องหน้าต่าง หรือระหว่างโปรแกรมได้ ในส่วนของผู้ที่เป็นนักเขียนโปรแกรมก็จะได้ประโยชน์ สามารถเขียนโปรแกรมประยุกต์สร้างเป็นเมนู ภาพ สัญรูป และช่องหน้าต่างแสดงข้อมูล<br />\nระบบติดต่อคุยที่มีในท้องตลาดปัจจุบัน ไม่จัดเป็นระบบกุยที่สมบูรณ์แบบ ซึ่งคงยากที่จะได้ระบบที่สมบูรณ์แบบจริง ๆ เพราะต้องพิจารณาถึงขีดความสามารถ ความเร็ว และความง่ายของการใช้งานเข้ามาประกอบด้วย ระบบติดต่อกุยที่สมบูรณ์แบบควรมีองค์ประกอบ ดังนี้<br />\n</span><strong><span style=\"color: #008000\">1) มีระบบที่ใช้รูปกราฟิกและสัญรูป<br />\n2) มีการแสดงรายการบนจอที่สวยงาม น่าดู และให้ความสนุกเพลิดเพลินกับการใช้งาน<br />\n3) สามารถพิมพ์ผลลัพธ์ที่ปรากฎบนจอได้เหมือนกับที่เห็น (What You See Is What You Get : WYSIWYG)<br />\n4) สนับสนุนการใช้เครื่องพิมพ์หลายรุ่น<br />\n5) แสดงองค์ประกอบของระบบไม่ว่าจะเป็นช่องหน้าต่าง หรือรายการเมนูเป็นมาตรฐานเดียวกัน จนทำให้แยกไม่ออกว่ากำลังทำงานอยู่เครื่องต่างระบบ หรือทำงานต่างโปรแกรม เป็นต้น<br />\n6) มีลักษณะการใช้งานแบบเลือกรายการ เลือกชิ้นวัตถุที่สามารถชี้และเลือกด้วยเมาส์<br />\n7) มีระบบที่ติดตั้งได้ง่ายและสามารถปรับเปลี่ยนระบบภายในได้ง่าย<br />\n8) สามารถทำงานเข้ากันได้กับฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์รุ่นเก่า<br />\n9) สนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างโปรแกรม</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #008000\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #008000\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #008000\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #008000\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #008000\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #008000\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #008000\"><a href=\"/node/50138\">* หน้าแรก</a></span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #008000\"></span></strong></p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\">* <a href=\"/node/49896\">ความหมายของซอฟต์แวร์</a></span></strong><a href=\"/node/49896\"> </a>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\">*<a href=\"/node/49914\"> ซอฟต์แวร์ระบบ</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\">* <a href=\"/node/49921\">ซอฟต์แวร์ประยุกต์</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/49934\">* โปรแกรมประมวลคำ</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\">* <a href=\"/node/49941\">ระบบปฏิบัติการ (operating system)</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/49948\">* โปรแกรมตารางการทำงาน</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/49960\">* การพัฒนาซอฟต์แวร์</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/49975\">* ภาษาคอมพิวเตอร์ และ ตัวแปรภาษา</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/49989\">* ระบบใช้งานติดต่อคอมพิวเตอร์</a> </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/50004\">* ซอฟต์แวร์กราฟฟิก</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/50012\">* ซอฟต์แวร์การจัดฐานข้อมูล</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/50055\">* ซอฟต์แวร์ติดต่อสื่อสาร</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/50062\">* ซอฟต์แวร์นำเสนอ</a>  </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/50078\">* ซอฟต์แวร์ โอเพนซอร์ส</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/50089\">* ภาคผนวก 1</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/50101\">* ภาคผนวก 2</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/50101\">* ภาคผนวก 3</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/50119\">* ภาคผนวก 4</a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/50125\">* ผู้จัดทำ</a></span></strong>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1726514193, expire = 1726600593, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:99e15aee2c221b11908a303b593e7e44' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบใช้งานติดต่อคอมพิวเตอร์

ระบบใช้งานติดต่อคอมพิวเตอร์

 

       ตามปกติเมื่อซื้อเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มาใช้งาน มักจะได้ระบบปฏิบัติการมาพร้อมกับเครื่อง ซึ่งสามารถช่วยจัดการให้ผู้ใช้เรียกใช้หรือติดต่อกับเครื่องได้ทันที โดยรูปแบบของการติดต่อกับเครื่องจะขึ้นกับระบบปฏิบัติการที่ติดตั้ง และซอฟต์แวร์เสริมสภาพแวดล้อมการใช้งานซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบติดต่อระหว่างเครื่องกับผู้ใช้ให้ใช้ง่ายและทำงานได้รวดเร็วขึ้น aaaaaระบบติดต่อใช้งานคอมพิวเตอร์ อาจแบ่งได้เป็นสามกลุ่มด้วยกัน กลุ่มพิมพ์คำสั่งเข้าไปทีละบรรทัด กลุ่มเลือกรายการเมนู และกลุ่มเลือกสัญรูป

1 กลุ่มพิมพ์คำสั่งเข้าไปทีละบรรทัด
กลุ่มพิมพ์คำสั่งเข้าไปทีละบรรทัด เป็นการป้อนคำสั่งทีละบรรทัด ซึ่งไม่เอื้อต่อการใช้งานคอมพิวเตอร์เท่าใดนัก เพราะผู้ใช้จะต้องเรียนรู้หรือจดจำคำสั่งต่าง ๆ ไว้ให้ได้เสียก่อน เช่น การเรียนใช้คำสั่งของดอส ระบบนี้ผู้ใช้จะมีความสับสนในระยะแรก เพราะจะต้องเรียนรู้คำสั่งว่าใช้งานอะไร และใช้ได้อย่างไร ซึ่งการป้อนหรือพิมพ์คำสั่งเข้าไปจะต้องพิมพ์ไม่ผิดเลย ระบบติดต่อนี้จะใช้ยากและเสียเวลาบ้างถ้าจำคำสั่งไม่ได้ แต่ถ้าใช้ไปนาน ๆ จนคุ้นเคย อาจมีข้อดีที่สามารถเรียกโปรแกรมมาทำงานได้รวดเร็วที่สุด ใช้พื้นที่หน่วยความจำน้อยและมีกำลังประมวลผลสูงกว่าระบบติดต่อกลุ่มอื่น สำหรับผู้ชำนาญการใช้คอมพิวเตอร์แล้วนิยมการใช้ระบบติดต่อกลุ่มนี้มาก เพราะทำงานได้รวดเร็วกว่ากลุ่มอื่น

2 กลุ่มเลือกรายการเมนู
กลุ่มเลือกรายการเมนู ในระบบนี้จะแสดงรายการย่อยของคำสั่งต่าง ๆ ซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นข้อความ ตัวอักษรไม่เป็นรูปกราฟิก ผู้ใช้เพียงแต่เลื่อนตัวชี้ แถบสี หรือสัญลักษณ์ลูกศรขึ้นหรือลง รูปสัญลักษณ์อื่น ๆ ไปยังรายการที่ต้องการ แล้วกดปุ่มเลือกรายการนั้น หรืออาจใช้เมาส์เลือกรายการได้เช่นกัน ระบบติดต่อใช้งานคอมพิวเตอร์กลุ่มนี้จะใช้งานได้ง่ายขึ้นไม่ต้องจดจำคำสั่งมาก เพราะจะมีรายการคำสั่งแสดงไว้ให้เลือก ดังนั้นจึงเหมาะสำหรับผู้ใช้รายใหม่ที่เพิ่งเริ่มใช้เครื่องคอมพิวเตอร์

3 กลุ่มเลือกสัญรูป
กลุ่มเลือกสัญรูป มีลักษณะคล้ายระบบติดต่อกลุ่มที่สองที่เป็นรายการเมนูให้เลือก เพียงแต่ว่ารายการของกลุ่มที่สามจะเป็นรูปภาพ หรือสัญรูปสำหรับเลือกโดยมีอุปกรณ์เมาส์เป็นตัวเลื่อนตัวชี้และเลือกรายการ ในบางกรณีก็อาจเป็นรายการเมนูย่อยของข้อมูลในระบบ การติดต่อระหว่างเครื่องกับผู้ใช้ในลักษณะนี้ได้รับความสนใจมาก เพราะใช้งานง่ายไม่ต้องเรียนรู้ หรือจดจำคำสั่งที่ซับซ้อน
ระบบติดต่อใช้งานในกลุ่มที่สามที่มีผู้นิยมหรือกล่าวถึงกันมาก คือ ระบบติดต่อผู้ใช้เชิงกราฟิก เรียกว่า กุย นับเป็นระบบที่แสดงรูปกราฟิกแบบบิตแมพ (bit map) ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นวินโดวส์ ดอส โอเอสทู หรือ ยูนิกส์ ต่างก็มีซอฟต์แวร์มาเสริมสภาพการใช้งานเป็นแบบกุยกันทั้งหมด

   โปรแกรมประเภทกุย ส่วนใหญ่เป็นโปรแกรมที่ซับซ้อนและมีขีดความสามารถสูง ดังนั้นการติดต่อหรือการเรียนรู้จึงยากกว่าปกติ แต่หลังจากติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้วโปรแกรมกุยจะใช้งานได้ง่าย และถ้านำไปทำงานในเครื่องความเร็วสูง ก็จะช่วยประหยัดเวลา และทำให้โปรแกรมต่าง ๆ ใช้งานง่ายขึ้น โปรแกรมประเภทกุยเป็นโปรแกรมขนาดใหญ่จึงใช้พื้นที่หน่วยความจำมาก ต้องใช้ตัวประมวลผลที่มีขีดความสามารถสูง จึงจะทำงานได้ผล
ลักษณะเด่นของระบบติดต่อกุยเมื่อใช้กับซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการหลายภาระกิจ คือ สามารถทำหลายงานได้ในเวลาเดียวกัน โดยงานหนึ่ง ๆ จะปรากฎในช่องหน้าต่างที่เปิดขึ้นมาบนจอภาพ สามารถสลับระหว่างช่องหน้าต่างไปมา เปลี่ยนขนาดและย้ายตำแหน่งของช่องหน้าต่างและการโอนย้ายข้อมูลระหว่างช่องหน้าต่าง หรือระหว่างโปรแกรมได้ ในส่วนของผู้ที่เป็นนักเขียนโปรแกรมก็จะได้ประโยชน์ สามารถเขียนโปรแกรมประยุกต์สร้างเป็นเมนู ภาพ สัญรูป และช่องหน้าต่างแสดงข้อมูล
ระบบติดต่อคุยที่มีในท้องตลาดปัจจุบัน ไม่จัดเป็นระบบกุยที่สมบูรณ์แบบ ซึ่งคงยากที่จะได้ระบบที่สมบูรณ์แบบจริง ๆ เพราะต้องพิจารณาถึงขีดความสามารถ ความเร็ว และความง่ายของการใช้งานเข้ามาประกอบด้วย ระบบติดต่อกุยที่สมบูรณ์แบบควรมีองค์ประกอบ ดังนี้
1) มีระบบที่ใช้รูปกราฟิกและสัญรูป
2) มีการแสดงรายการบนจอที่สวยงาม น่าดู และให้ความสนุกเพลิดเพลินกับการใช้งาน
3) สามารถพิมพ์ผลลัพธ์ที่ปรากฎบนจอได้เหมือนกับที่เห็น (What You See Is What You Get : WYSIWYG)
4) สนับสนุนการใช้เครื่องพิมพ์หลายรุ่น
5) แสดงองค์ประกอบของระบบไม่ว่าจะเป็นช่องหน้าต่าง หรือรายการเมนูเป็นมาตรฐานเดียวกัน จนทำให้แยกไม่ออกว่ากำลังทำงานอยู่เครื่องต่างระบบ หรือทำงานต่างโปรแกรม เป็นต้น
6) มีลักษณะการใช้งานแบบเลือกรายการ เลือกชิ้นวัตถุที่สามารถชี้และเลือกด้วยเมาส์
7) มีระบบที่ติดตั้งได้ง่ายและสามารถปรับเปลี่ยนระบบภายในได้ง่าย
8) สามารถทำงานเข้ากันได้กับฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์รุ่นเก่า
9) สนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างโปรแกรม

* หน้าแรก

* ความหมายของซอฟต์แวร์

* ซอฟต์แวร์ระบบ

ซอฟต์แวร์ประยุกต์

* โปรแกรมประมวลคำ

* ระบบปฏิบัติการ (operating system)

* โปรแกรมตารางการทำงาน

* การพัฒนาซอฟต์แวร์

* ภาษาคอมพิวเตอร์ และ ตัวแปรภาษา

* ระบบใช้งานติดต่อคอมพิวเตอร์

* ซอฟต์แวร์กราฟฟิก

* ซอฟต์แวร์การจัดฐานข้อมูล

* ซอฟต์แวร์ติดต่อสื่อสาร

* ซอฟต์แวร์นำเสนอ 

* ซอฟต์แวร์ โอเพนซอร์ส

* ภาคผนวก 1

* ภาคผนวก 2

* ภาคผนวก 3

* ภาคผนวก 4

* ผู้จัดทำ

สร้างโดย: 
น.ส.นิศานาถ พาพวย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 416 คน กำลังออนไลน์