• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ceb07740ba60828604cb7d2a5b44568a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"background-color: #00ffff; color: #ffff99\">การแยกขยะ</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-family: Tahoma; font-size: x-small\"><b>จำแนกประเภทได้ดังนี้<br />\n</b>        1. ขยะมูลฝอยที่เผาไหม้ได้ เช่น เศษไม้, ใบหญ้า, พลาสติก, กระดาษ, ผ้า, สิ่งทอ, ยาง ฯลฯ<br />\n        2. ขยะมูลฝอยที่เผาไหม้ไม่ได้ ได้แก่ เศษโลหะ เหล็ก แก้ว กระเบื้อง เปลือกหอย หิน ฯลฯ<br />\n        3. ขยะมูลฝอยที่ไม่เป็นพิษหรือขยะมูลฝอยทั่วไป ได้แก่ ขยะมูลฝอยที่เกิดจากบ้านเรือน ร้านค้า เช่น พวกเศษอาหาร กระดาษ พลาสติก เปลือกและใบไม้ เป็นต้น<br />\n        4. ขยะมูลฝอยที่เป็นพิษ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตมนุษย์ตลอดจนสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ได้แก่ ของเสียที่มีส่วนประกอบของสารอันตรายหรือของเสียที่มีฤทธิ์กัดกร่อนหรือติดไฟง่าย หรือมีเชื้อโรค ติดต่อปะปนอยู่ เช่น ซากถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ ซากหลอดฟลูออเรสเซนต์ กาก สารเคมี สำลี และ ผ้าพันแผลจากโรงพยาบาล</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">ถ้าแบ่งประเภทขยะตามลักษณะของส่วนประกอบของขยะมูลฝอย มีประเภทต่างๆ ดังนี้<br />\n        1. <span style=\"color: #ff0000\">กระดาษ</span> ถุงกระดาษ กล่อง ลัง เศษกระดาษจากสำนักงาน<br />\n        2. <span style=\"color: #ff0000\">พลาสติก</span> มีความทนทานต่อการทำลายได้สูง วัสดุ หรือผลิตภัณฑ์ที่ทำจากพลาสติก เช่น ถุงภาชนะ ของเด็กเล่น ของใช้<br />\n        3. <span style=\"color: #ff0000\">แก้ว</span> วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่ทำจากแก้ว เช่น ขวด หลอดไฟ เศษกระจก ฯลฯ<br />\n        4. <span style=\"color: #ff0000\">เศษอาหาร</span> ผัก ผลไม้ ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ ย่อยสลายได้ง่าย เป็นส่วนประกอบสำคัญที่ทำให้ขยะเกิดกลิ่นเหม็น ส่งกลิ่นรบกวนหากไม่มีการเก็บขนออกจากแหล่งทิ้งทุกวัน<br />\n        5. <span style=\"color: #ff0000\">ผ้าสิ่งทอต่าง ๆ</span> ที่ทำมาจากเส้นใยธรรมชาติ และใยสังเคราะห์ เช่น ผ้าไนล่อน ขนสัตว์ ลินิน ฝ้าย<br />\n        6. <span style=\"color: #ff0000\">ยางและหนัง</span> เช่น รองเท้า กระเป๋า บอลล์<br />\n        7. <span style=\"color: #ff0000\">ไม้</span> เศษเฟอร์นิเจอร์ โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ<br />\n        8. <span style=\"color: #ff0000\">หิน</span> กระเบื้อง กระดูก และเปลือกหอย พวกนี้ไม่เน่าเปื่อย พบมากในแหล่งก่อสร้างตึกที่ทุบทิ้ง<br />\n        9. <span style=\"color: #ff0000\">โลหะ</span>ต่าง ๆ เช่น กระป๋อง ลวด สายไฟ ตะปู<br />\n        10. อื่น ๆ ที่ไม่อาจจัดกลุ่มได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">ประเภทของขยะมูลฝอย ที่สำนักรักษาความสะอาดของกรุงเทพมหานคร กล่าวไว้มี 3 ประเภทใหญ่คือ<br />\n        1. มูลฝอยเปียก ได้แก่ พวกเศษอาหาร เศษพืชผัก เปลือกผลไม้ อินทรีย์วัตถุที่สามารถย่อยสลายเน่าเปื่อยง่าย มีความชื้นสูง และส่งกลิ่นเหม็นได้รวดเร็ว<br />\n        2. มูลฝอยแห้ง ได้แก่ พวกเศษกระดาษ เศษผ้า แก้ว โลหะ ไม้ พลาสติก ยาง ฯลฯ ขยะมูลฝอย ชนิดนี้จะมีทั้งที่เผาไหม้ได้และเผาไหม้ไม่ได้ ขยะแห้ง เป็นขยะมูลฝอยที่สามารถเลือกวัสดุที่ยังมีประโยชน์ กลับมาใช้ได้อีก โดยการทำคัดแยกมูลฝอยก่อนนำทิ้งซึ่งจะช่วยให้สามารถลดปริมาณมูลฝอยที่จะต้องนำไปทำลายลงได้ และถ้านำส่วนที่ใช้ประโยชน์ได้นี้ไปขายก็จะทำรายได้กลับคืนมา<br />\n        3. ขยะมูลฝอยอันตราย มูลฝอยนี้ ได้แก่ ของเสียที่เป็นพิษ มีฤทธิ์กัดกร่อนและระเบิดได้ง่าย ต้องใช้กรรมวิธีในการทำลายเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นวัสดุที่มีอันตราย เช่น สารฆ่าแมลง ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ รถยนต์ หลอดไฟ สเปรย์ฉีดผม ฯลฯ   </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #1b9bd1; font-size: medium\"><strong>ถังสีฟ้า</strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: small\"><strong><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: small\"><strong><span style=\"font-size: medium\"></span></strong></span></span></span></strong></span></span></p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20728/p_rubbish04.jpg\" height=\"108\" width=\"85\" />\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #1b9bd1; font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: small\"><strong><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: small\"><strong><span style=\"font-size: medium\"></span></strong></span></span>มูลฝอยทั่วไป</span><span style=\"font-size: x-small\">    รอรับขยะที่ย่อยสลายไม่ได้ รีไซเคิลยาก แต่ไม่เป็นพิษ เช่น พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่สำเร็จรูป ถุงพลาสติกเปื้อนเศษอาหาร โฟมเปื้อนอาหาร ฟอล์ยเปื้อนอาหาร</span></strong></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #1b9bd1; font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: small\"><span style=\"color: #008000; font-size: medium\"><strong>ถังสีเขียว</strong></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #1b9bd1; font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: small\"><span style=\"color: #008000; font-size: medium\"><strong><img border=\"0\" src=\"/files/u20728/p_rubbish01.jpg\" height=\"108\" width=\"85\" /></strong></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #1b9bd1; font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: small\"><span style=\"color: #008000; font-size: medium\"><span style=\"color: #008000; font-size: small\"><strong><span style=\"font-size: medium\">มูลฝอยย่อยสลาย</span><span style=\"font-size: x-small\">    รองรับขยะที่เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว <span style=\"color: #00b000\">สามารถนำมาหมักทำปุ๋ยได้</span> เช่น ผัก ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้</span></strong></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #1b9bd1; font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: small\"><span style=\"color: #008000; font-size: medium\"><span style=\"color: #008000; font-size: small\"><span style=\"color: #dede16; font-size: medium\"><strong>ถังสีเหลือง</strong></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #1b9bd1; font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: small\"><span style=\"color: #008000; font-size: medium\"><span style=\"color: #008000; font-size: small\"><span style=\"color: #dede16; font-size: medium\"><strong><img border=\"0\" src=\"/files/u20728/p_rubbish02.jpg\" height=\"108\" width=\"85\" /></strong></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #1b9bd1; font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: small\"><span style=\"color: #008000; font-size: medium\"><span style=\"color: #008000; font-size: small\"><span style=\"color: #dede16; font-size: medium\"><span style=\"color: #dede16; font-size: small\"><strong><span style=\"font-size: medium\">มูลฝอยที่ยังใช้ได้ (รีไซเคิล)</span><span style=\"font-size: x-small\">   รองรับขยะที่<span style=\"color: #a3a300\">สามารถนำมารีไซเคิลหรือขายได้</span> เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ </span></strong></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #1b9bd1; font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: small\"><span style=\"color: #008000; font-size: medium\"><span style=\"color: #008000; font-size: small\"><span style=\"color: #dede16; font-size: medium\"><span style=\"color: #dede16; font-size: small\"><strong><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #de6021; font-size: medium\"><strong>ถังสีเทา - ส้ม </strong></span></span></strong></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #1b9bd1; font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: small\"><span style=\"color: #008000; font-size: medium\"><span style=\"color: #008000; font-size: small\"><span style=\"color: #dede16; font-size: medium\"><span style=\"color: #dede16; font-size: small\"><strong><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #de6021; font-size: medium\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20728/p_rubbish03.jpg\" height=\"108\" width=\"85\" /></span></span></strong></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #1b9bd1; font-size: medium\"><span style=\"color: #1b9bd1; font-size: small\"><span style=\"color: #008000; font-size: medium\"><span style=\"color: #008000; font-size: small\"><span style=\"color: #dede16; font-size: medium\"><span style=\"color: #dede16; font-size: small\"><strong><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #de6021; font-size: medium\"><span style=\"color: #de6021; font-size: small\"><strong><span style=\"font-size: medium\">มูลฝอยอันตราย</span><span style=\"font-size: x-small\">         รองรับขยะที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ กระป๋อง ยาฆ่าแมลง ภาชนะบรรจุสารอันตรายต่าง </span></strong></span></span> </span></strong></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/46646\">&lt;ย้อนกลับ</a>       <a href=\"/node/44113\"><u><span style=\"color: #810081\"><span style=\"color: #810081\">กลับหน้าหลัก</span></span></u></a>        <a href=\"/node/46678\">ถัดไป&gt;</a>\n</p>\n', created = 1727649467, expire = 1727735867, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ceb07740ba60828604cb7d2a5b44568a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การแยกขยะ

การแยกขยะ

จำแนกประเภทได้ดังนี้
        1. ขยะมูลฝอยที่เผาไหม้ได้ เช่น เศษไม้, ใบหญ้า, พลาสติก, กระดาษ, ผ้า, สิ่งทอ, ยาง ฯลฯ
        2. ขยะมูลฝอยที่เผาไหม้ไม่ได้ ได้แก่ เศษโลหะ เหล็ก แก้ว กระเบื้อง เปลือกหอย หิน ฯลฯ
        3. ขยะมูลฝอยที่ไม่เป็นพิษหรือขยะมูลฝอยทั่วไป ได้แก่ ขยะมูลฝอยที่เกิดจากบ้านเรือน ร้านค้า เช่น พวกเศษอาหาร กระดาษ พลาสติก เปลือกและใบไม้ เป็นต้น
        4. ขยะมูลฝอยที่เป็นพิษ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตมนุษย์ตลอดจนสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ได้แก่ ของเสียที่มีส่วนประกอบของสารอันตรายหรือของเสียที่มีฤทธิ์กัดกร่อนหรือติดไฟง่าย หรือมีเชื้อโรค ติดต่อปะปนอยู่ เช่น ซากถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ ซากหลอดฟลูออเรสเซนต์ กาก สารเคมี สำลี และ ผ้าพันแผลจากโรงพยาบาล

ถ้าแบ่งประเภทขยะตามลักษณะของส่วนประกอบของขยะมูลฝอย มีประเภทต่างๆ ดังนี้
        1. กระดาษ ถุงกระดาษ กล่อง ลัง เศษกระดาษจากสำนักงาน
        2. พลาสติก มีความทนทานต่อการทำลายได้สูง วัสดุ หรือผลิตภัณฑ์ที่ทำจากพลาสติก เช่น ถุงภาชนะ ของเด็กเล่น ของใช้
        3. แก้ว วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่ทำจากแก้ว เช่น ขวด หลอดไฟ เศษกระจก ฯลฯ
        4. เศษอาหาร ผัก ผลไม้ ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ ย่อยสลายได้ง่าย เป็นส่วนประกอบสำคัญที่ทำให้ขยะเกิดกลิ่นเหม็น ส่งกลิ่นรบกวนหากไม่มีการเก็บขนออกจากแหล่งทิ้งทุกวัน
        5. ผ้าสิ่งทอต่าง ๆ ที่ทำมาจากเส้นใยธรรมชาติ และใยสังเคราะห์ เช่น ผ้าไนล่อน ขนสัตว์ ลินิน ฝ้าย
        6. ยางและหนัง เช่น รองเท้า กระเป๋า บอลล์
        7. ไม้ เศษเฟอร์นิเจอร์ โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ
        8. หิน กระเบื้อง กระดูก และเปลือกหอย พวกนี้ไม่เน่าเปื่อย พบมากในแหล่งก่อสร้างตึกที่ทุบทิ้ง
        9. โลหะต่าง ๆ เช่น กระป๋อง ลวด สายไฟ ตะปู
        10. อื่น ๆ ที่ไม่อาจจัดกลุ่มได้

ประเภทของขยะมูลฝอย ที่สำนักรักษาความสะอาดของกรุงเทพมหานคร กล่าวไว้มี 3 ประเภทใหญ่คือ
        1. มูลฝอยเปียก ได้แก่ พวกเศษอาหาร เศษพืชผัก เปลือกผลไม้ อินทรีย์วัตถุที่สามารถย่อยสลายเน่าเปื่อยง่าย มีความชื้นสูง และส่งกลิ่นเหม็นได้รวดเร็ว
        2. มูลฝอยแห้ง ได้แก่ พวกเศษกระดาษ เศษผ้า แก้ว โลหะ ไม้ พลาสติก ยาง ฯลฯ ขยะมูลฝอย ชนิดนี้จะมีทั้งที่เผาไหม้ได้และเผาไหม้ไม่ได้ ขยะแห้ง เป็นขยะมูลฝอยที่สามารถเลือกวัสดุที่ยังมีประโยชน์ กลับมาใช้ได้อีก โดยการทำคัดแยกมูลฝอยก่อนนำทิ้งซึ่งจะช่วยให้สามารถลดปริมาณมูลฝอยที่จะต้องนำไปทำลายลงได้ และถ้านำส่วนที่ใช้ประโยชน์ได้นี้ไปขายก็จะทำรายได้กลับคืนมา
        3. ขยะมูลฝอยอันตราย มูลฝอยนี้ ได้แก่ ของเสียที่เป็นพิษ มีฤทธิ์กัดกร่อนและระเบิดได้ง่าย ต้องใช้กรรมวิธีในการทำลายเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นวัสดุที่มีอันตราย เช่น สารฆ่าแมลง ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ รถยนต์ หลอดไฟ สเปรย์ฉีดผม ฯลฯ   

ถังสีฟ้า

มูลฝอยทั่วไป    รอรับขยะที่ย่อยสลายไม่ได้ รีไซเคิลยาก แต่ไม่เป็นพิษ เช่น พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่สำเร็จรูป ถุงพลาสติกเปื้อนเศษอาหาร โฟมเปื้อนอาหาร ฟอล์ยเปื้อนอาหาร

ถังสีเขียว

มูลฝอยย่อยสลาย    รองรับขยะที่เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว สามารถนำมาหมักทำปุ๋ยได้ เช่น ผัก ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้

ถังสีเหลือง

มูลฝอยที่ยังใช้ได้ (รีไซเคิล)   รองรับขยะที่สามารถนำมารีไซเคิลหรือขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ 

ถังสีเทา - ส้ม 

มูลฝอยอันตราย         รองรับขยะที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ กระป๋อง ยาฆ่าแมลง ภาชนะบรรจุสารอันตรายต่าง  

<ย้อนกลับ       กลับหน้าหลัก        ถัดไป>

สร้างโดย: 
nin19noon33 6.2

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 499 คน กำลังออนไลน์