• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:34f07e7e840da6c293c1c6f1c0dab8ef' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u19372/top7.gif\" height=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/41906\"><img border=\"0\" width=\"90\" src=\"/files/u19372/1.gif\" height=\"60\" /></a>  <a href=\"/node/43633\"><img border=\"0\" width=\"190\" src=\"/files/u19372/mean_0.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/44141\"><img border=\"0\" width=\"171\" src=\"/files/u19372/impor.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/44142\"><img border=\"0\" width=\"246\" src=\"/files/u19372/charac.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/43714\"><img border=\"0\" width=\"169\" src=\"/files/u19372/data_0.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/43789\"><img border=\"0\" width=\"91\" src=\"/files/u19372/refer_1.jpg\" height=\"40\" /></a><a href=\"/node/44765\"><img border=\"0\" width=\"66\" src=\"/files/u19372/manage_0.jpg\" height=\"40\" /></a>\n</p>\n<p>\n<br />\n            <span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #993300\">สำหรับคนที่มี EQ ต่ำ ในทางจิตวิทยาเชื่อว่า EQ เป็นสิ่งที่พัฒนาได้ <br />\n            แดเนียล โกลแมน ผู้เขียนเรื่อง &quot;ความฉลาดทางอารมณ์&quot; ได้เสนอแนะวิธีการพัฒนาอารมณ์ไว้ 5 ประการ ดังนี้</span></span>  <img border=\"0\" width=\"54\" src=\"/files/u19372/a6ea34b74ca.gif\" height=\"54\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">1. รู้จักอารมณ์ตนเอง</span></strong>\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #808000\">การรู้จักอารมณ์ตนเอง จะเป็นพื้นฐานในการควบคุมอารมณ์เพื่อแสดงออกอย่างเหมาะสม การรู้จักอารมณ์ตนเองก็คือการรู้ตัว หรือการมีสติในทรรศนะของพุทธศาสนานั่นเอง ปกติเมื่อเราเกิดอารมณ์ใดๆ ขึ้นมา เราจะตกอยู่ในภาวะใดภาวะหนึ่งใน 3 ภาวะ ดังต่อไปนี้</span> \n</p>\n<p>\n          <strong><span style=\"color: #333399\">ถูกครอบงำ</span></strong> <span style=\"color: #808080\">หมายถึง การที่เราไม่สามารถฝืนต่อสภาพอารมณ์นั้นๆ ได้ จึงแสดงพฤติกรรมไปตามสภาพอารมณ์ดังกล่าว เช่น เมื่อโมโหก็อาจจะมีการขว้างปาข้าวของหรือส่งเสียงดังโดยไม่สนใจใคร </span>\n</p>\n<p>\n          <strong><span style=\"color: #333399\">ไม่ยินดียินร้าย</span></strong> <span style=\"color: #808080\">หมายถึง การไม่ยินดียินร้ายต่ออารมณ์ที่เกิดขึ้น หรือทำเป็นละเลยไม่สนใจเพื่อบรรเทาการแสดงอารมณ์ เช่น ทำเป็นไม่ใส่ใจต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ทั้งที่จริงๆ ก็รู้สึกโกรธ</span> \n</p>\n<p>\n          <strong><span style=\"color: #333399\">รู้เท่าทัน</span></strong> <span style=\"color: #808080\">หมายถึง การรู้เท่าทันต่ออารมณ์ที่เกิดขึ้น มีสติรู้ว่าควรจะทำอย่างไรจึงจะเหมาะสมที่สุดในขณะที่เกิดอารมณ์นั้นๆ เช่น โกรธก็รู้ว่าโกรธ แต่ก็สามารถควบคุมความโกรธนั้นได้ ระงับอารมณ์โกรธได้ และหาวิธีจัดการแก้ไขได้อย่างเหมาะสม</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"272\" src=\"/files/u19372/303696a7.jpg\" height=\"300\" /><br />\n<strong><span style=\"color: #808080\">ที่มาของภาพ :</span></strong> <a href=\"http://i149.photobucket.com/albums/s51/pattyna/303696a7.jpg\">http://i149.photobucket.com/albums/s51/pattyna/303696a7.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #008080\">  ทำอย่างไรให้รู้เท่าทันอารมณ์ตนเอง??</span></strong>\n</p>\n<ul>\n<li><strong><span style=\"color: #666699\">ทบทวน</span></strong> <span style=\"color: #808080\">ถ้ารู้สึกว่าที่ผ่านมาเรามีปัญหาในการแสดงอารมณ์ ลองให้เวลาทบทวนอารมณ์ด้วยใจที่เป็นกลาง ไม่เข้าข้างตนเองว่าเรามีลักษณะอารมณ์อย่างไร เรามักแสดงออกในรูปแบบไหน แล้วรู้สึกพอใจ ไม่พอใจอย่างไร คิดว่าเหมาะสมหรือไม่ต่อการแสดงอารมณ์ในลักษณะนั้นๆ</span>\n<p>\n </p></li>\n<li><strong><span style=\"color: #666699\">ฝึกสติ</span></strong> <span style=\"color: #808080\">ฝึกให้มีสติและรู้ตัวอยู่เสมอ ว่าขณะนี้เรากำลังรู้สึกอย่างไรกับตัวเองหรือต่อสิ่งที่เกิดขึ้น รอบตัว สบายใจ ไม่สบายใจ แล้วลองถามตัวเองว่าเราคิดอย่างไรกับความรู้สึกและความคิดนั้น ความรู้สึกนั้นมีผลอย่างไรกับการแสดงออกของเรา</span>\n</li>\n</ul>\n<table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n  <a href=\"/node/44855\"><img border=\"0\" width=\"60\" src=\"/files/u19372/arrowl2.gif\" height=\"40\" /></a>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n  <a href=\"/node/44855\">1</a>   <strong><span style=\"color: #000080\">2</span></strong>   <a href=\"/node/45115\">3</a>   <a href=\"/node/45117\">4</a>   <a href=\"/node/45119\">5</a>   <a href=\"/node/45121\">6</a>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"right\">\n  <a href=\"/node/45115\"><img border=\"0\" width=\"60\" src=\"/files/u19372/arrowr2.gif\" height=\"40\" /></a>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1727605265, expire = 1727691665, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:34f07e7e840da6c293c1c6f1c0dab8ef' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

EQ ไม่ดีแก้ไขได้ไหม??

  


            สำหรับคนที่มี EQ ต่ำ ในทางจิตวิทยาเชื่อว่า EQ เป็นสิ่งที่พัฒนาได้ 
            แดเนียล โกลแมน ผู้เขียนเรื่อง "ความฉลาดทางอารมณ์" ได้เสนอแนะวิธีการพัฒนาอารมณ์ไว้ 5 ประการ ดังนี้
 


1. รู้จักอารมณ์ตนเอง

          การรู้จักอารมณ์ตนเอง จะเป็นพื้นฐานในการควบคุมอารมณ์เพื่อแสดงออกอย่างเหมาะสม การรู้จักอารมณ์ตนเองก็คือการรู้ตัว หรือการมีสติในทรรศนะของพุทธศาสนานั่นเอง ปกติเมื่อเราเกิดอารมณ์ใดๆ ขึ้นมา เราจะตกอยู่ในภาวะใดภาวะหนึ่งใน 3 ภาวะ ดังต่อไปนี้ 

          ถูกครอบงำ หมายถึง การที่เราไม่สามารถฝืนต่อสภาพอารมณ์นั้นๆ ได้ จึงแสดงพฤติกรรมไปตามสภาพอารมณ์ดังกล่าว เช่น เมื่อโมโหก็อาจจะมีการขว้างปาข้าวของหรือส่งเสียงดังโดยไม่สนใจใคร 

          ไม่ยินดียินร้าย หมายถึง การไม่ยินดียินร้ายต่ออารมณ์ที่เกิดขึ้น หรือทำเป็นละเลยไม่สนใจเพื่อบรรเทาการแสดงอารมณ์ เช่น ทำเป็นไม่ใส่ใจต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ทั้งที่จริงๆ ก็รู้สึกโกรธ 

          รู้เท่าทัน หมายถึง การรู้เท่าทันต่ออารมณ์ที่เกิดขึ้น มีสติรู้ว่าควรจะทำอย่างไรจึงจะเหมาะสมที่สุดในขณะที่เกิดอารมณ์นั้นๆ เช่น โกรธก็รู้ว่าโกรธ แต่ก็สามารถควบคุมความโกรธนั้นได้ ระงับอารมณ์โกรธได้ และหาวิธีจัดการแก้ไขได้อย่างเหมาะสม


ที่มาของภาพ : http://i149.photobucket.com/albums/s51/pattyna/303696a7.jpg

  ทำอย่างไรให้รู้เท่าทันอารมณ์ตนเอง??

  • ทบทวน ถ้ารู้สึกว่าที่ผ่านมาเรามีปัญหาในการแสดงอารมณ์ ลองให้เวลาทบทวนอารมณ์ด้วยใจที่เป็นกลาง ไม่เข้าข้างตนเองว่าเรามีลักษณะอารมณ์อย่างไร เรามักแสดงออกในรูปแบบไหน แล้วรู้สึกพอใจ ไม่พอใจอย่างไร คิดว่าเหมาะสมหรือไม่ต่อการแสดงอารมณ์ในลักษณะนั้นๆ

  • ฝึกสติ ฝึกให้มีสติและรู้ตัวอยู่เสมอ ว่าขณะนี้เรากำลังรู้สึกอย่างไรกับตัวเองหรือต่อสิ่งที่เกิดขึ้น รอบตัว สบายใจ ไม่สบายใจ แล้วลองถามตัวเองว่าเราคิดอย่างไรกับความรู้สึกและความคิดนั้น ความรู้สึกนั้นมีผลอย่างไรกับการแสดงออกของเรา

 

 1   2   3   4   5   6

 

สร้างโดย: 
คุณครู กัลยารัตน์ เมธีวีรวงศ์ และ นางสาว สุวิมล เตชะวีรพงศ์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 395 คน กำลังออนไลน์