• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ba4f2612e84e8997ad36e8da9e9f8722' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ชื่อเรื่อง</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การพัฒนารูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษา&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สื่อสารของเด็กปฐมวัย ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2</p>\n<p><strong>ผู้วิจัย&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>พิมพรรณ&nbsp; อนันทเสนา</p>\n<p><strong>ปีการศึกษา&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>2564</p>\n<p align=\"center\"><strong>บทคัดย่อ</strong>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนา การจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 2) เพื่อพัฒนา รูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถ ในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอน&nbsp; เพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ดังนี้ 3.1) เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจและการนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสู่การปฏิบัติของครูผู้สอนก่อนและหลังการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการ แนวใหม่ 3.2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่ 3.3) เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 3 (อายุ 5-6 ปี) ก่อนและหลังการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่ 3.4) เพื่อประเมินระดับความพึงพอใจของครูผู้สอนที่มีต่อรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 และ 4) เพื่อประเมินและปรับปรุงรับรองรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถ &nbsp;ในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 117 คน ศึกษานิเทศก์ จำนวน 11 คน ครูผู้สอนระดับปฐมวัยที่รับผิดชอบชั้นอนุบาลปีที่ 3 (อายุ 5-6 ปี) จำนวน 117 คน เด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 (อายุ 5-6 ปี) จำนวน 2,806 คน กลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ในพื้นที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 20 คน ศึกษานิเทศก์ จำนวน 8 คน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย จำนวน 30 คน และเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 (อายุ 5-6 ปี) จำนวน 110 คน วิธีดำเนินการวิจัย มี 4 ระยะ กล่าวคือ ระยะที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัย จากแบบสอบถาม การสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างและการประชุมกลุ่มย่อยแล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์รวบรวมผลการสรุป ระยะที่ 2 สร้างรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่ โดยการจัดทำร่างรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่นำไปตรวจสอบความสมเหตุสมผล ความเป็นไปได้ของผู้เชี่ยวชาญและความเหมาะสม ความเป็นไปได้และการใช้ประโยชน์จากกลุ่มตัวอย่างที่กำหนดไว้ ระยะที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่กับครูผู้สอนระดับปฐมวัย จำนวน 10 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ระยะที่ 4 ประเมินและปรับปรุงรับรองรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่ วิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ด้านสถิติการวิเคราะห์และการประชุมกลุ่มย่อย จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 ท่าน เพื่อรับรองรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่</p>\n<p>ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. สภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาการจัดประสบการณ์บูรณาแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 พบว่า มีสภาพปัญหาและความต้องการ ด้านที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย ด้านที่ 2 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยและความต้องการนิเทศ ด้านที่ 3 จุดมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษา ด้านที่ 4 ขอบข่ายการนิเทศการศึกษา และด้านที่ 5 บทบาทหน้าที่ของผู้รับการนิเทศ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. รูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์แนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัย มีชื่อเรียกว่า การนิเทศแบบ “4CD2I Model” (โฟร์ซีดีทูไอ โมเดล) มี 3 องค์ประกอบหลัก 7 ขั้นตอนย่อย ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 การวางแผนการนิเทศ มี 1 ขั้นตอนย่อย ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ความท้าทาย (Challenge Stages : C) องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติการนิเทศ <br /> มีขั้นตอนย่อย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 2 การอภิปรายและสะท้อนความคิด (Discussion and Reflect Stages : D) ขั้นตอนที่ 3 ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมพัฒนา (Identification Development of the problem Stages : I) ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบร่วมกัน (Co-Operation Stages : C) และขั้นตอนที่ 5 การปฏิบัติการสาธิต (Implementation Stages : I) และองค์ประกอบที่ 3 การสรุปผลการนิเทศ มีขั้นตอนย่อย 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 6 การตรวจสอบมโนทัศน์ (Conceptualization Stages : C) และขั้นตอนที่ 7 การเสริมคุณลักษณะและความสามารถแห่งตน (Characterization Stages : C)</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยในสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 พบว่า</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.1 ความรู้ความเข้าใจและการนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสู่การปฏิบัติของครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยหลังการนิเทศแบบ 4CD2I Model <br /> สูงกว่าก่อนการนิเทศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 3.2 ความสามารถในการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยหลังการนิเทศแบบ 4CD2I Model สูงกว่าก่อนการนิเทศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.3 พัฒนาการในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 (อายุ 5-6 ปี) หลังการ นิเทศแบบ 4CD2I Model สูงกว่าก่อนการนิเทศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 3.4 ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการนิเทศ แบบ 4CD2I Model เพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัย อยู่ในระดับพึงพอใจมาก</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. ผลการประเมินและปรับปรุงรูปแบบการนิเทศ แบบ 4CD2I Model เพื่อรับรองรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัย มีการปรับปรุงแก้ไข องค์ประกอบที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบร่วมกันและการปฏิบัติการสาธิต และได้รับรองรูปแบบการนิเทศ แบบ 4CD2I Model จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 ท่าน ว่ามีความเหมาะสม สามารถนำไปใช้นิเทศการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูผู้สอนระดับปฐมวัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1714020038, expire = 1714106438, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ba4f2612e84e8997ad36e8da9e9f8722' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนารูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัย

ชื่อเรื่อง          การพัฒนารูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษา                            สื่อสารของเด็กปฐมวัย ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2

ผู้วิจัย             พิมพรรณ  อนันทเสนา

ปีการศึกษา      2564

บทคัดย่อ 

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนา การจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 2) เพื่อพัฒนา รูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถ ในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอน  เพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ดังนี้ 3.1) เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจและการนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสู่การปฏิบัติของครูผู้สอนก่อนและหลังการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการ แนวใหม่ 3.2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่ 3.3) เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 3 (อายุ 5-6 ปี) ก่อนและหลังการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่ 3.4) เพื่อประเมินระดับความพึงพอใจของครูผู้สอนที่มีต่อรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 และ 4) เพื่อประเมินและปรับปรุงรับรองรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถ  ในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ในปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 117 คน ศึกษานิเทศก์ จำนวน 11 คน ครูผู้สอนระดับปฐมวัยที่รับผิดชอบชั้นอนุบาลปีที่ 3 (อายุ 5-6 ปี) จำนวน 117 คน เด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 (อายุ 5-6 ปี) จำนวน 2,806 คน กลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ในพื้นที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 20 คน ศึกษานิเทศก์ จำนวน 8 คน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย จำนวน 30 คน และเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 (อายุ 5-6 ปี) จำนวน 110 คน วิธีดำเนินการวิจัย มี 4 ระยะ กล่าวคือ ระยะที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัย จากแบบสอบถาม การสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างและการประชุมกลุ่มย่อยแล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์รวบรวมผลการสรุป ระยะที่ 2 สร้างรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่ โดยการจัดทำร่างรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่นำไปตรวจสอบความสมเหตุสมผล ความเป็นไปได้ของผู้เชี่ยวชาญและความเหมาะสม ความเป็นไปได้และการใช้ประโยชน์จากกลุ่มตัวอย่างที่กำหนดไว้ ระยะที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่กับครูผู้สอนระดับปฐมวัย จำนวน 10 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ระยะที่ 4 ประเมินและปรับปรุงรับรองรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่ วิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ด้านสถิติการวิเคราะห์และการประชุมกลุ่มย่อย จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 ท่าน เพื่อรับรองรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่

ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้

          1. สภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาการจัดประสบการณ์บูรณาแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 พบว่า มีสภาพปัญหาและความต้องการ ด้านที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย ด้านที่ 2 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยและความต้องการนิเทศ ด้านที่ 3 จุดมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษา ด้านที่ 4 ขอบข่ายการนิเทศการศึกษา และด้านที่ 5 บทบาทหน้าที่ของผู้รับการนิเทศ

          2. รูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์แนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัย มีชื่อเรียกว่า การนิเทศแบบ “4CD2I Model” (โฟร์ซีดีทูไอ โมเดล) มี 3 องค์ประกอบหลัก 7 ขั้นตอนย่อย ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 การวางแผนการนิเทศ มี 1 ขั้นตอนย่อย ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ความท้าทาย (Challenge Stages : C) องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติการนิเทศ
มีขั้นตอนย่อย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 2 การอภิปรายและสะท้อนความคิด (Discussion and Reflect Stages : D) ขั้นตอนที่ 3 ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมพัฒนา (Identification Development of the problem Stages : I) ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบร่วมกัน (Co-Operation Stages : C) และขั้นตอนที่ 5 การปฏิบัติการสาธิต (Implementation Stages : I) และองค์ประกอบที่ 3 การสรุปผลการนิเทศ มีขั้นตอนย่อย 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 6 การตรวจสอบมโนทัศน์ (Conceptualization Stages : C) และขั้นตอนที่ 7 การเสริมคุณลักษณะและความสามารถแห่งตน (Characterization Stages : C)

          3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยในสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 พบว่า

              3.1 ความรู้ความเข้าใจและการนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสู่การปฏิบัติของครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยหลังการนิเทศแบบ 4CD2I Model
สูงกว่าก่อนการนิเทศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

              3.2 ความสามารถในการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยหลังการนิเทศแบบ 4CD2I Model สูงกว่าก่อนการนิเทศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

              3.3 พัฒนาการในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 (อายุ 5-6 ปี) หลังการ นิเทศแบบ 4CD2I Model สูงกว่าก่อนการนิเทศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

              3.4 ครูผู้สอนระดับปฐมวัยมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการนิเทศ แบบ 4CD2I Model เพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัย อยู่ในระดับพึงพอใจมาก

          4. ผลการประเมินและปรับปรุงรูปแบบการนิเทศ แบบ 4CD2I Model เพื่อรับรองรูปแบบการนิเทศการจัดประสบการณ์บูรณาการแนวใหม่สำหรับครูผู้สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารของเด็กปฐมวัย มีการปรับปรุงแก้ไข องค์ประกอบที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบร่วมกันและการปฏิบัติการสาธิต และได้รับรองรูปแบบการนิเทศ แบบ 4CD2I Model จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 ท่าน ว่ามีความเหมาะสม สามารถนำไปใช้นิเทศการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูผู้สอนระดับปฐมวัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

 

 

 

 

 

         

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 193 คน กำลังออนไลน์