• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:957641fdb466c2ea74f5a23a1ba58b76' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center;\"><strong><strong>แมลงตับเต่า</strong></strong></p>\n<p>&nbsp; แมลงตับเต่า หรือ ด้วงดิ่ง หรือ บางท้องถิ่นเรียกว่า แมงกิเต่า เป็นแมลงปีกแข็ง ตัวสีดำเรียบเป็นมัน รูปไข่ ขอบปีกมีสีน้ำตาลอ่อนเป็นทาง ขอบปีกมีแถบสีเหลืองมั่วๆ ทางด้านข้างของลำตัว มีหนวดยาวเป็นเส้นด้าย ขาคู่หลังยาวกว่าขาคู่อื่นๆ และแบนมีขนเหมาะสำหรับใช้ในการว่ายน้ำ อยู่ในน้ำตามบ่อ หนอง บึง มักอยู่นิ่งๆ บนผิวน้ำ เอาหัวดิ่งลง ตอนกลางวันมักอาศัยอยู่แต่ในน้ำ ชอบบินมาเล่นแสงไฟในตอนกลางคืน พบมากในช่วงฤดูฝนจนถึงฤดูหนาว โดยเฉพาะช่วงปลายฝนจะพบมากเป็นพิเศษ รับประทานได้ โดยนำมา คั่ว ทอด นึ่ง หรือแกง แต่ก่อนที่จะนำไปปรุงเป็นอาหารจะต้องแกะหัวและเปลือกที่แข็งออก จากนั้นนำไปต้มน้ำธรรมดา 1 ครั้ง เพราะแมลงตับเต่ามีกลิ่นของปัสสาวะที่รุนแรง.<br /><br /><strong>แมลงกินได้ที่พบมากในเดือนมกราคม</strong><br /><br />ชื่อสามัญ : ด้วงดิ่ง แมลงตับเต่า<br />Common name : True water beetle, Predaceous diving beetle<br />ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cybister limbatus Fabricius<br />Order : Coleoptera<br />Family : Dytistidae<br /><br /><strong>ลักษณะทางกายภาพ</strong><br />&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ด้วงดิ่งหรือแมลงตับเต่า เป็นแมลงปีกแข็งขนาดใหญ่ ลำตัวยาว เป็นวงรีคล้ายรูปไข่ ส่วนท้องและปีกใหญ่ ลำตัวมีผิวเรียบลื่นเป็นมันสีดำปนน้ำตาลบางชนิดมีลายสีเหลืองหม่น หรือค่อนไปทางเขียวแกมน้ำตาลอ่อน บริเวณปีกและลำตัวมีแถบสีเหลืองหม่นๆ หนวดยาวแบบเส้นด้าย ขาคู่หลังยาวและแบนกว่าขาคู่อื่นๆ มีขนเป็นแผงเหมาะสำหรับการว่ายน้ำ วิธีการว่ายน้ำของด้วงดิ่งจะใช้ขาหลังเคลื่อนที่ไปพร้อมๆ กัน เมื่ออยู่นิ่งมักเอาหัวดิ่งลงไปใต้ผิวน้ำ ตัวเต็มวัยสามารถเก็บฟองอากาศไว้ใต้ปีกได้มาก ทำให้สามารถดำน้ำได้เป็นเวลานาน สามารถอยู่บนบกได้ดี และสามารถบินได้ไกล ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยกินสัตว์น้ำประเภทอื่นๆ รวมทั้งปลาขนาดเล็กเป็นอาหาร สามารถจับสัตว์น้ำที่ใหญ่กว่ากินได้จนได้ชื่อว่าเสือน้ำด้วงดิ่งถือว่าเป็นแมลงที่มีประโยชน์เพราะช่วยทำลายแมลงประเภทอื่นๆ<br /><br /><strong>แหล่งที่อยู่อาศัย</strong><br />&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ด้วงดิ่งมักอาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำที่เป็นน้ำนิ่ง บางครั้งสามารถพบได้ในน้ำหลาก แต่พบ<br /><br />ไม่มากนัก เช่น ห้วย หนอง คลอง บึง นาข้าว แม่น้ำลำธาร ตอนกลางวันมักอาศัยอยู่แต่ในน้ำ แต่ในเวลากลางคืนจะบินมาเล่นแสงไฟด้วงดิ่งพบมากในช่วงฤดูฝนจนถึงฤดูหนาวโดยเฉพาะช่วงปลาย<br /><br />ฤดูฝนจะพบมากเป็นพิเศษ<br /><br />รูปแบบการจับ<br />&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ชาวบ้านจับด้วงดิ่งโดยใช้สวิง หรือเครื่องมือจับปลาชนิดต่างๆ หรือหากต้องการจับมาเพื่อการค้าในปริมาณครั้งละมากๆ มักจับโดยใช้กับดักแสงไฟ&nbsp;<br /><br />ซึ่งจะปนมากับแมลงชนิดอื่นๆ<br /><br /><strong>รูปแบบการนำไปบริโภค</strong><br />&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ก่อนนำด้วงดิ่งมาปรุงเป็นอาหาร ชาวบ้านจะแกะหัวและเปลือกที่แข็งออก จากนั้นนำไปต้มกับน้ำธรรมดา1ครั้ง เพื่อขับกลิ่นฉุนออกก่อนนำไปปรุงเป็นอาหาร ด้วงดิ่งสามารถนำไปดัดแปลงเป็นน้ำพริก ป่น คั่ว หรือนำไปผัด แกง โดยใช้แทนเนื้อสัตว์ได้ ชาวบ้านบางคนที่ทนกลิ่นฉุนได</p>\n<p>จะบริโภคดิบ โดยแกะเปลือกออกก่อนแล้วนำมาทำเมี่ยง</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><img style=\"display: block; margin-left: auto; margin-right: auto;\" src=\"http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/2009/06/X8020803/X8020803-17.jpg\" alt=\"ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ แมงตับเต่า\" width=\"102\" height=\"143\" /></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><span style=\"color: #ff6600;\"><strong><span style=\"text-decoration: underline;\">สมาชิก ม.5/5</span></strong></span></p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;นางสาว สุชาดา วงศ์ช่างหล่อ เลขที่20</p>\n<p style=\"text-align: center;\">นางสาว รดาณัฐ เพ็ชรงาม เลขที่32</p>\n<p style=\"text-align: center;\">นางสาว สุมาตรา อาศัยราษฎร์ เลขที่ 33</p>\n<p style=\"text-align: center;\"><br /><br /></p>\n', created = 1727468643, expire = 1727555043, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:957641fdb466c2ea74f5a23a1ba58b76' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แมลงตับเต่า

แมลงตับเต่า

  แมลงตับเต่า หรือ ด้วงดิ่ง หรือ บางท้องถิ่นเรียกว่า แมงกิเต่า เป็นแมลงปีกแข็ง ตัวสีดำเรียบเป็นมัน รูปไข่ ขอบปีกมีสีน้ำตาลอ่อนเป็นทาง ขอบปีกมีแถบสีเหลืองมั่วๆ ทางด้านข้างของลำตัว มีหนวดยาวเป็นเส้นด้าย ขาคู่หลังยาวกว่าขาคู่อื่นๆ และแบนมีขนเหมาะสำหรับใช้ในการว่ายน้ำ อยู่ในน้ำตามบ่อ หนอง บึง มักอยู่นิ่งๆ บนผิวน้ำ เอาหัวดิ่งลง ตอนกลางวันมักอาศัยอยู่แต่ในน้ำ ชอบบินมาเล่นแสงไฟในตอนกลางคืน พบมากในช่วงฤดูฝนจนถึงฤดูหนาว โดยเฉพาะช่วงปลายฝนจะพบมากเป็นพิเศษ รับประทานได้ โดยนำมา คั่ว ทอด นึ่ง หรือแกง แต่ก่อนที่จะนำไปปรุงเป็นอาหารจะต้องแกะหัวและเปลือกที่แข็งออก จากนั้นนำไปต้มน้ำธรรมดา 1 ครั้ง เพราะแมลงตับเต่ามีกลิ่นของปัสสาวะที่รุนแรง.

แมลงกินได้ที่พบมากในเดือนมกราคม

ชื่อสามัญ : ด้วงดิ่ง แมลงตับเต่า
Common name : True water beetle, Predaceous diving beetle
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cybister limbatus Fabricius
Order : Coleoptera
Family : Dytistidae

ลักษณะทางกายภาพ
         ด้วงดิ่งหรือแมลงตับเต่า เป็นแมลงปีกแข็งขนาดใหญ่ ลำตัวยาว เป็นวงรีคล้ายรูปไข่ ส่วนท้องและปีกใหญ่ ลำตัวมีผิวเรียบลื่นเป็นมันสีดำปนน้ำตาลบางชนิดมีลายสีเหลืองหม่น หรือค่อนไปทางเขียวแกมน้ำตาลอ่อน บริเวณปีกและลำตัวมีแถบสีเหลืองหม่นๆ หนวดยาวแบบเส้นด้าย ขาคู่หลังยาวและแบนกว่าขาคู่อื่นๆ มีขนเป็นแผงเหมาะสำหรับการว่ายน้ำ วิธีการว่ายน้ำของด้วงดิ่งจะใช้ขาหลังเคลื่อนที่ไปพร้อมๆ กัน เมื่ออยู่นิ่งมักเอาหัวดิ่งลงไปใต้ผิวน้ำ ตัวเต็มวัยสามารถเก็บฟองอากาศไว้ใต้ปีกได้มาก ทำให้สามารถดำน้ำได้เป็นเวลานาน สามารถอยู่บนบกได้ดี และสามารถบินได้ไกล ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยกินสัตว์น้ำประเภทอื่นๆ รวมทั้งปลาขนาดเล็กเป็นอาหาร สามารถจับสัตว์น้ำที่ใหญ่กว่ากินได้จนได้ชื่อว่าเสือน้ำด้วงดิ่งถือว่าเป็นแมลงที่มีประโยชน์เพราะช่วยทำลายแมลงประเภทอื่นๆ

แหล่งที่อยู่อาศัย
         ด้วงดิ่งมักอาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำที่เป็นน้ำนิ่ง บางครั้งสามารถพบได้ในน้ำหลาก แต่พบ

ไม่มากนัก เช่น ห้วย หนอง คลอง บึง นาข้าว แม่น้ำลำธาร ตอนกลางวันมักอาศัยอยู่แต่ในน้ำ แต่ในเวลากลางคืนจะบินมาเล่นแสงไฟด้วงดิ่งพบมากในช่วงฤดูฝนจนถึงฤดูหนาวโดยเฉพาะช่วงปลาย

ฤดูฝนจะพบมากเป็นพิเศษ

รูปแบบการจับ
         ชาวบ้านจับด้วงดิ่งโดยใช้สวิง หรือเครื่องมือจับปลาชนิดต่างๆ หรือหากต้องการจับมาเพื่อการค้าในปริมาณครั้งละมากๆ มักจับโดยใช้กับดักแสงไฟ 

ซึ่งจะปนมากับแมลงชนิดอื่นๆ

รูปแบบการนำไปบริโภค
         ก่อนนำด้วงดิ่งมาปรุงเป็นอาหาร ชาวบ้านจะแกะหัวและเปลือกที่แข็งออก จากนั้นนำไปต้มกับน้ำธรรมดา1ครั้ง เพื่อขับกลิ่นฉุนออกก่อนนำไปปรุงเป็นอาหาร ด้วงดิ่งสามารถนำไปดัดแปลงเป็นน้ำพริก ป่น คั่ว หรือนำไปผัด แกง โดยใช้แทนเนื้อสัตว์ได้ ชาวบ้านบางคนที่ทนกลิ่นฉุนได

จะบริโภคดิบ โดยแกะเปลือกออกก่อนแล้วนำมาทำเมี่ยง

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ แมงตับเต่า

 

สมาชิก ม.5/5

 นางสาว สุชาดา วงศ์ช่างหล่อ เลขที่20

นางสาว รดาณัฐ เพ็ชรงาม เลขที่32

นางสาว สุมาตรา อาศัยราษฎร์ เลขที่ 33



มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 381 คน กำลังออนไลน์