• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f2dd79ae39438ccc842d8a4bb2573156' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ห้ามลบ</strong> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: large; color: #ff1493\"><strong><span style=\"background-color: #fafafa\"><span style=\"color: #00ff00\">เเชร์บอล</span><span style=\"color: #ff9900\"> </span><span style=\"color: #ff9900\">//*</span></span></strong></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<u><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-family: Arial\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; color: #ff0000; font-family: courier new,courier\"><strong><span style=\"font-size: small; color: #ff0000\"></span></strong></span></span></span></span></u>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<u><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-family: Arial\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; color: #ff0000; font-family: courier new,courier\"><strong><span style=\"font-size: small; color: #ff0000\">ประวัติความเป็นมาของกีฬาแชร์บอล</span></strong></span></span></span></span></u>\n</p>\n<p align=\"left\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-family: Arial\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: courier new,courier\">    <span style=\"font-size: x-small\">กีฬาแชร์บอลเป็นกีฬาพื้นฐานของกีฬาประเภทอื่นๆ เช่น บาสเก็ตบอล  เนตบอล  แต่ไม่มีหลักฐานที่แน่นอนว่ากีฬาแชร์บอลมีกำเนิดหรือเล่นกันมาตั้งแต่เมื่อใด  กีฬาแชร์บอลนิยมเล่นและจัดแข่งขันกันในระดับโรงเรียน  เพราะเป็นกีฬาประเภทหนึ่งที่นำมาใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างดี  ให้ความสนุกสนาน  ตื่นเต้นเร้าใจทั้งผู้ดูและผู้เล่น  สามารถเล่นบนพื้นที่จำกัดและเล่นได้ทั้งในร่มและกลางแจ้ง  โดยเฉพาะอย่างยิ่งสามารถเล่นได้ทุกเพศ ทุกวัย  กติกาการแข่งก็ไม่ยุ่งยากซับซ้อน  อีกท้งสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อย  อุปกรณ์ก็มีราคาถูกและหาได้ง่าย  </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-family: Arial\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: courier new,courier\">    ปัจจุบันกีฬาแชร์บอลเป็นกีฬาที่นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลาย  ไม่เพียงแต่เล่นหรือแข่งขันภายในโรงเรียนเท่านั้น  หน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐบาลและเอกชนต่างก็ให้ความสนใจนิยมเล่นกัน  และมีการแข่งขันทั้งภายในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงาน  เนื่องจากสามารถเป็นสื่ออย่างหนึ่งที่จะช่วยให้เชื่อมความสามัคคีระหว่างกันได้เป็นอย่างดี</span></span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"font-size: small; color: #ff0000\"><strong>กติกาการแข่งขันกีฬาแชร์บอล</strong></span> </span></u>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติกาข้อที่ 1 สนามแข่งขัน</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">สนามแข่งแชร์บอลมีลักษณะดังนี้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.ขนาดสนามเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 16 เมตร(เส้นหลัง) ยาว 32 เมตร(เส้นข้าง)สนามแบ่งออกเป็น2ส่วนเท่าๆกัน  ด้วยเส้นแบ่งแดน  ขนาดนี้จะเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม  โดยมีบริเวณรอบสนามอย่างน้อย 1 เมตร  ถ้าเป็นการแข่งขันที่สนามในร่มความสูงจากพื้นสนามขึ้นไปไม่ควรน้อยกว่า 6 เมตร</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.วงกลมกลางสนามมีจุดกึ่งกลางของเส้นแบ่งแดน ให้เขียนวงกลมรัศมี 1.80 เมตร</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.เขตผู้ป้องกันตะกร้า  ที่จุดกึ่งกลางของเส้นหลังทั้ง 2 ด้านเขียนครึ่งวงกลมใช้รัศมี 3.00 เมตร  ในสนามเล่น เขตนี้เรียกว่า เขตผู้ป้องกันตะกร้า</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">4.เส้นโทษ ถัดจากจุดกึ่งกลางเส้นหลังเข้าไปในสนาม 8.00 เมตร  ลากเส้นให้ขนานกับเส้นหลังยาว 50 ซม.(โดยลากให้ตั้งฉากกับเส้นข้าง)</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">5.เส้นทุกเส้นกว้าง 5 ซม. และเป็นส่วนหนึ่งของเขตนั้นๆ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"font-size: x-small\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติกาข้อที่ 2 อุปกรณ์การแข่งขัน</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.เก้าอี้ เป็นชนิด 4 ขา ไม่มีพนักพิงสูง 35-40 ซม.ขนาดของที่นั่งกว้าง 30-35 ซม. หรือเป็นเก้าอี้ที่มีขนาดใกล้เคียงและเป็นชนิดเดียวกันทั้ง 2 ตัว  เก้าอี้นี้วางไว้จุดกึ่งกลางของเส้นหลัง  โดยให้ขาหน้าของเก้าอี้ทั้งสองขาวางอยู่บนเส้นหลัง</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.ตะกร้าขนาดสูง 30-35 ซม. ปากตะกร้าเป็นรูปทรงกลม  มีเส้นผ่า ศก. 30 -35ซม.ทำด้วยหวายที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้เล่น</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.ลูกบอล ให้ลูกแชร์บอลหรือลูกฟุตบอลขนาดเบอร์ 4 -5 ซึ่งฝ่ายจัดการแข่งขันต้องแจ้งให้ผู้แข่งขันทราบก่อนในระเบียบการแข่งขัน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">4.นาฬิกาจับเวลา 2 เรือน ใช้สำหรับจับเวลานอกและเวลาการแข่งขัน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">5.ใบบันทึกการแข่งขัน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">6.ป้ายคะแนน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">7.สัญญาณหมดเวลาการแข่งขัน ( นกหวีด ระฆัง กริ่งเป็นต้น )</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">8.ป้ายบอกจำนวนครั้งของการฟาวล์ (ถ้ามี)</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติกาข้อที่ 3 เวลาในการแข่งขัน</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.เวลาการแข่งขันแบ่งออกเป็น 2 ครึ่งๆละ20 นาที พักระหว่างครึ่ง 5 นาที เวลาการแข่งขันอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมของนักกีฬา(โดยต้องแจ้งไว้ในระเบียบการแข่งขันก่อน)</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.เวลาการแข่งขันเริ่มขึ้นเมื่อผู้ตัดสินได้โยนลูกบอลขึ้นระหว่างผู้เล่น 2 คนของแต่ละฝ่ายที่อยู่ในวงกลมและลูกบอลได้ถูกผู้เล่นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแล้ว</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.เมื่อเริ่มแข่งขันครึ่งเวลาหลังและเวลาเพิ่มพิเศษแต่ละช่วง  ให้เปลี่ยนแดนกนั</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">4.เวลานอก ให้แต่ละทีมขอเวลานอกได้ครึ่งเวลาละ 2 ครั้งๆละ 1 นาที</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">5.การต่อเวลาการแข่งขันเมื่อผลการแข่งขันเสมอกัน ให้ต่อเวลาเพิ่มพิเศษอีกช่วงละ 5 นาที จนกว่าจะมีผลแพ้ชนะหรือมีข้อตกลงเป็นอย่างอื่น</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">6.การขอเวลานอกในเวลาเพิ่พิเศษ ให้ขอเวลานอกได้ช่วงละ 1 ครั้ง</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">7.ทีมใดที่มาแข่งขันช้ากว่ากำหนดเวลา 15 นาที ให้ปรับแพ้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติกาข้อที่ 4 ผู้เล่น</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.ชุดหนึ่งประกอบด้วยผู้เล่น 12 คน เป็นผู้เล่นในสนาม 7 คน ผู้เล่นสำรอง 5 คน ผู้เล่นสำรองและเจ้าหน้าที่ประจำทีม ต้องนั่งที่คณะกรรมการจัดไว้ให้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.เมื่อเริ่มทำการแข่งขัน ต้องมีผู้เล่นในสนามฝ่ายละ 7 คนเละในระหว่างการแข่งขันฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีผู้เล่นน้อยกว่า 5 คน ให้ปรับแพ้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.ผุ้เล่นสำรองจะเข้าเล่นได้เมื่อได่รับอนุญาตจากผู้ตัดสิน  และต้องทำการเปลี่ยนตัวที่บริเวณเส้นแบ่งแดนด้านเดียวกับโต๊ะเจ้าหน้าที่จัดการแข่งขัน(เขตเปลี่ยนตัว)</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">4.ผู้เล่นแต่ละชุดต้องใส่เสื้อสีเดียวกัน และติดหมายเลขที่ด้านหน้า ขนาดสูงไม่น้อยกว่า 10 ซม. ส่วนด้านหลังขนาดสูงไม่น้อยกว่า 20 ซม ตั้งแต่หมายเลข 1-12 สีของหมายเลขต้องแตกต่างจากสีเสื้อชัดเชน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">5.ห้ามผู้เล่นสวนเครื่องประดับที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้อื่น</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติกาข้อที่ 5 ผู้ป้องกันตะกร้า</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.ผู้ป้องกันตะกร้าเพียงคนเดียวเท่านั้น ที่เป็นผู้มีสิทธิ์เข้าไปเล่นลูกบอลในเขตป้องกันตะกร้าได้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.ผู้ป้องกันตะกร้าสามารถเคลื่อนที่ไปในเขตป้องกันตะกร้าได้พร้อมลูกโดยปราศจากข้อจำกัดในเวลา 3 วินาที</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.ผู้ป้องกันตะกร้าสามารถออกมาร่วมเล่นในสนามได้  เต่ต้องปฏิบัติตนเหมือนผู้เล่นในสนามทั่วๆไป</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติกาข้อที่ 6 ผู้ถือตะกร้า</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.ขณะรับลูกบอลต้องอยู่บนเก้าอี้พร้อมตะกร้า</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.ไม่มีสิทิเข้าร่วมเล่นกับผู้เล่นในสนามขณะกำลังแข่ง(ส่งข้าง)</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.ห้ามใช้ตะกร้าหรือส่วนใดของร่างกายกีดกันการป้องกันของผู้ป้องกับตะกร้า(ส่งข้าง)</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">4.สามารถเคลื่อนไหวตะกร้าได้ทุกลักษณะ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">5.ผู้ถือตะกร้า ต้องใช้ตะกร้ารับลูกบอลจากการยิงประตู</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติกาข้อที่ 7 เขตป้องกันตะกร้า</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.เขตป้องกันตะกร้าเป็นพื้นที่ของผู้ป้องกันตะกร้าเพียงคนเดียวเท่านั้น</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.ผู้เล่นในสนามเข้าไปในเขตป้องกันตะกร้า จะถูกลงโทษดังนี้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">  2.1ฝ่ายป้องกัน เข้าไปในขณะมีการยิงประตู ถ้าลูกบอลลงในตะกร้าให้ได้คะแนน ถ้าลูกบอลไม่ลงตะกร้าให้ยิงลูกโทษ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">  2.2ฝ่ายป้องกัน เข้าไปในลักษณะไม่มีการยิงประตู(ส่งข้าง)</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">  2.3ฝ่ายรุก เข้าไปในเขตป้องกันตะกร้าของฝ่ายตรงข้าม(ส่งข้าง)</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.ลูกบอลที่วางหรือกลิ้งอยู่ในเขตป้องกันตะกร้า ผู้ป้องกันตะกร้าจะต้องเล่นทันที</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">4.ลูกบอลถูกผู้เล่นในสนามเล่นก่อน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">   4.1ได้ประตูเมื่อลูกลงตะกร้า</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">   4.2ส่งลูกเข้าเล่น เมื่อลูกออกเส้นหลัง</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติกาข้อที่ 8 การเล่นลูกบอล</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">อนุญาตให้ผู้เล่นกระทำดังนี้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.หยุด จับ ตี ปัด กลิ้งส่ง หรือขว้างลูกบอลด้วยมือ แขน ศรีษะ และลำตัวบริเวณเหนือสะเอวขึ้นไป</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.ครอบครองลูกบอลด้วยมือเดียวหรือสองมือ หรือกดลูกบอลที่อยู่บนพื้นสนามหรือโยนลูกบอลขึ้นในอากาสได้ไม่เกิน 3 วินาที</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.ถือลูกบอลและเคลื่อนไหวไปมาได้ด้วยการหมุนตัวโดยมีเท้าหลัก</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">4.กระโดดรับ ส่ง ยิงประตู</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">5.ใช้ลำตัวบังคู่ต่อสู้ ในขณะที่กำลังครอบครองลูกบอลอยู่</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติกาข้อที่ 9 การได้คะแนน</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.จะนับได้คะแนนเมื่อลูกบอลได้ลงตะกร้าจากการยิงประตูโดยตรง โดยผู้ถือตะกร้าต้องทรงตัวอยู่บนเก้าอี้อย่างมั่นคง และผู้ตัดสินในสนามได้ให้สัญญาณนกหวีดแล้ว</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.ผู้เล่นฝ่ายป้องกันพยายามป้องกันโดยผิดกติกา ถ้าลูกบอลลงตะกร้าให้นับว่าได้คะแนน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.ถ้าผู้จับเวลาให้สัญญาณหมดเวลาการแข่งขันก่อนที่ลูกบอลจะหลุดจากมือผู้ยิงประตูถือว่าไม่ได้คะเเนน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">4.หลังจากลูกบอลลงตะกร้าจากการยิงประตูธรรมดา  หรือจากการยิงโทษได้ผลผู้ป้องกันตะกร้าต้องนำลูกบอลส่งเข้าเล่นจาเส้นหลัง(ถ้าไม่ได้ผลให้ส่งข้าง)</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">5.คะแนนทีได้จากการยิงประตูมีค่า 2 คะแนน คะแนนที่ได้จากการยิงโทษมีค่า 1 คะแนน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">6.ฝ่ายที่ทำคะแนนได้มากกว่าเป็นฝ่ายชนะ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติการข้อที่ 10 การเริ่มเล่นและการโยนลูกโดด</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.การเริ่มเล่นในครึ่งเวลาแรกและครึ่งเวลาหลัง  เวลาเพิ่มพิเศษ  และการหยุดเล่นอื่นๆที่ต้องทำลูกกระโดด  จะเริ่มโดยผู้ตัดสินเป็นผู้โยนลูกกระโดดที่วงกลมกลางสนามระหว่างผู้กระโดดทั้ง 2 ฝ่ายๆละ 1 คน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.ผู้ตัดสินเป็นผู้โยนลูกกระโดดขึ้นไปในอากาศในแนวดิ่ง  ระหว่างผู้กระโดดทั้ง 2 ฝ่าย</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.ผู้เล่นอื่นๆที่ไม่ใช่ผู้กระโดดต้องอยู่นอกวงกลม  ณ ที่ใดๆก็ได้ในสนามแข่งขัน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">4.จะโยนลูกกระโดดเมื่อ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-เริ่มการแข่งขันครึ่งเวลาแรก ครึ่งเวลาหลัง  และเวลาเพิ่มพิเศษ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-เมื่อมีการหยุดเล่นไม่มีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดทำผิดกติกา</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-เมื่อเกิดลูกยึดของผู้เล่นทั้ง 2 ฝ่าย  (ผู้ทำลูกยึดต้องมาเป็นผู้กระโดด)</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-เมื่อทั้ง 2 ฝ่ายทำผิดกติกาพร้อมกัน(ผู้ทำผิดกติกาต้องมาเป็นผู้กระโดด)</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">5.ผู้กระโดดต้องปัดลูกบอลในขณะที่ลูกบอลอยู่ในจุดสูงสุดได้คนละไม่เกิน 2 ครั้ง จากนั้นผู้กระโดดจะถูกลูกบอลอีกไม่ได้  จนกว่าลูกบอลจะได้ถูกผู้เล่นคนอื่นๆแล้ว</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติกาข้อที่ 11 การส่งลูกเข้าเล่นจาเส้นข้าง</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.จะส่งลูกเข้าเล่นเมื่อลูกบอลทั้งลูกได้ผ่านเส้นข้างหรือเส้นหลัง  และถูกพื้นที่นอกสนามแข่งขัน(ลูกลอยในอากาศยังไม่ถือว่าลูกออก)</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.ผู้เล่นฝ่ายรับทำลูกบอลออกเส้นหลัง  ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามส่งลูกเข้าเล่นจากมุมสนามด้านที่ลูกบอลออก</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.ผู้เล่นฝ่ายรุกทำให้ลูกบอลออกเส้นหลัง  ให้ฝ่ายตรงข้ามนำลูกบอลมาส่งเข้าเล่นจากเส้นข้างมุมสนามด้านที่ลูกออก</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">4.ผู้ส่งลูกเข้าเล่นจะส่งด้วยวิธีใดๆก็ได้  ภายใน 5 วินาที   หลังจากผู้ตัดสินส่งลุกบอลให้ผู้เล่นแล้ว</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">5.ผู้ตัดสินจะส่งลูกบอลให้ผู้เล่นส่งเข้าเล่นในกรณีที่มีการส่งลูกเข้าเล่นจากแดนหน้า</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติกาข้อที่ 12 การยิงโทษ</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">จะให้ยิงโทษเมื่อผู้ป้องกันตะกร้าปฏิบัติ ดังนี้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.ทำการป้องกันในลักษณะที่เป็นอันตรายกับคู่ต่อสู้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.นำลูกบอลจากสนามเล่นเข้าไปในเขตป้องกันตะกร้า</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.เจตนาปัดตะกร้า ถูกตัวผู้ถือตะกร้า  ใช้เก้าอี้หรือส่วนอื่นๆของเก้าอี้เพื่อป้องกัน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">หรือผู้เล่นอื่นๆในสนามปฏิบัติดังนี้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.ฝ่ายป้องกันเข้าไปในเขตประตูขณะมีการยิงประตู</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.เจตาทำให้ผู้ต่อสู้ได้รับอันตรายโดยใช้ลูกบอล</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.ดึง ดัน ผลัก ชน ชก ต่อย เตะคู่ต่อสู้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">4.ทำผิดกติกาอย่างร้ายแรงกับคู่ต่อสู้  เละผู้ตัดสิน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">5.ทำการฟาล์วโดยเจตนา</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติกาข้อที่ 13 การเปลี่ยนตัวผู้เล่น</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.จะทำการเปลี่ยนตัวผู้เล่นได้เมื่อลูกตาย  และฝ่ายที่ขอเปลี่ยนตัวได้เป็นผู้ครอบครอง ลูกบอลอยู่ หรือเมื่อมีการยิงโทษ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.ผู้เล่นที่จะเปลี่ยนตัวเข้าเล่นต้องเปลี่ยนตัวที่บริเวณเขตการเปลี่ยนตัวเท่านั้น</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.จะเปลี่ยนหน้าที่การเล่นได้เมื่อได้แจ้งให้ผู้ตัดสินทราบ  ขณะที่ลูกตาย</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">4.ผู้ที่ต้องออกจากการแข่งขันเพราะทำฟาล์วครบ 5 ครั้ง สามารถเปลี่ยนตัวผู้เล่นได้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">5.ผู้เล่นที่ถูกไล่ออกจากการแข่งขันไม่สามารถเปลี่ยนตัวผู้เล่นอื่น เข้าแทนได้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">กติกาข้อที่ 14 การทำฟาล์วการทำผิดมารยาทและการลงโทษของนักกีฬาและเจ้าหน้าที่ประจำทีม</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.การทำฟาล์ว</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-ผู้เล่นที่กระทำฟาล์วครบ 5 ครั้ง ต้องออกจากกการแข่งขัน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-การฟาล์วโดยเจตนา จะถูกลงโทษโดยการยิงทา</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-การฟาล์วทุกชนิด ให้บันทึกเป็นฟาล์ว 1 ครั้ง</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.การทำผิดมารยาทของนักกีฬาและเจ้าหน้าที่ประจำทีม</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-การทำผิดซ้ำๆ , การแสดงที่ไม่มีน้ำใจนักกีฬา , การใช้วาจาไม่สุภาพ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.การลงโทษ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-เตือน , ยิงโทษ , ให้ออกจากการแข่ง</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติกาข้อที่ 15 ผู้ตัดสิน</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.การแข่งขันครั้งหนึ่งประกอบด้วยผู้ตัดสิน 2 คน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.ผู้ตัดสินมีหน้าที่ควบคุมการแข่งขัน ตั้งแต่เริ่มเล่นจนถึงสิ้นสุดการแข่งขัน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.ผู้ตัดสินต้องการเสี่ยงเพื่อเลือกแดนต่อหน้าหัวหน้าทั้ง 2 ชุด</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">4.ขณะทำการแข่งขัน  ถ้าผู้ตัดสินไม่สามารถทำการตัดสินได้ตลอดการแข่งขันคณะกรรมการจัดการแข่งขันสามารถจัดหาผู้ตัดสินสำรองเข้าทำหน้าที่แทนได้  หรืออาจปฏิบัติหน้าที่เพียงคนเดียวถ้าไม่สามารถหาผู้อื่นแทนได้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">5.ผู้ตัดสินเป่านกหวีดเมื่อ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-ลูกออก</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-มีการทำผิดกติกาทุกชนิด</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-มีการยิงประตูโทษได้ผล</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-มีการให้เวลานอก</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-มีการได้คะแนน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-เกิดการบาดเจ็บ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-เกิดลูกยึด</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-ผู้ตัดสินขอเวลานอก</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-หมดเวลาการแข่งขัน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">-การเตือนและอื่นๆ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>กติกาข้อที่ 16 เจ้าหน้าที่</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">เจ้าหน้าที่ประกอบด้วย</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">1.ผู้บันทึก 1 คน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">2.ผู้จับเวลา 1 คน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">3.ผู้ใส่ป้ายคะแนน 1 คน<br />\n </span> </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #ff0000\"><u><strong>วิธีการเล่นกีฬาแชร์บอล</strong></u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">              <span style=\"font-size: x-small\"> การเล่นแชร์บอลประกอบด้วยผู้เล่น 2 ฝ่าย ๆละ 7 คน โดยมีผู้เล่นสำรองอีกฝ่ายละ 5 คน  ซึ่งไม่ได้แบ่งหน้าที่กันอย่างเด่นชัดเหมือนกีฬาชนิดอื่น เช่น ฟุตบอล  บาสเก็ตบอล  ผู้เล่นที่ดูว่าจะมีตำแหน่งเฉพาะตัวอยู่จะเห็นจะเห็นได้แก่ผู้เล่นที่ทำหน้าที่ถือตระกร้า   เละผู้ที่ป้องกันตระกร้าเท่านั้นที่เหลืออีก 5 คนต่างคนต่างทำหน้าที่ของตนไป  จะขอกล่าวถึงตำแหน่งและหน้าที่ของผู้เล่นแต่ละคนดังนี้</span></span><span style=\"font-size: x-small\"> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>1.ผู้ถือตะกร้า</u></span> </span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">        ผู้ถือตะกร้าเป็นผู้มีหน้าที่รับลูกบอลซึ่งผู้เล่นฝ่ายเดียวกันเป็นผู้ดยนอาจเรียกว่า ยิงประตูลงตะกร้า เพื่อนทำคะแนน  ผู้ถือตะกร้าจะยืนอยู่บนเก้าอี้ 4 ขา  ถือตะกร้า 1 ใบ  ผู้ที่ทำหน้าที่นี้ต้องเป็นผู้ที่มีสายตาดีรับลูกด้วยตะกร้าได้อย่างแม่นยำ  มีการทรงตัวดีมาก  ผู้ถือตะกร้าจะรับลูกบอลในลักษณะใดก็ได้ที่ไม่เป็นการรบกวนหรือกีดกันการป้องกันตะกร้า</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>2.ผู้ป้องกันตะกร้า</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">         ผู้ป้องกันตะกร้าเป็นผู้เล่นเพียงคนเดียวเท่านั้น  ที่มีสิทธิเข้าไปเล่นในเขคตป้องกันตะกร้าได้และยังสามารถออกมาร่วมเล่นได้เช่นเดียวกับผู้เล่นคนอื่นๆในสนาม  ผู้ป้องกันตะกร้ามีหน้าที่คอยกระโดดปัดลูกที่ฝ่ายตรงข้ามโยนหรือยิงประตูให้ลงตะกร้า  เมื่อสามารถแย่งลูกมาไว้ในครอบครองได้แล้ว   ผู้ป้องกันตะกร้าจะต้องส่งลูกไปให้ผู้เล่นฝ่ายเดียวกัน  ผู้ที่ทำหน้าที่นี้ต้องมีรูปร่างสูง  แขนยาว  กระโดดได้สุง  ส่งลูกได้แม่นยำ  มีกำลังแขนดี  สามารถส่งลูกไปในระยะไกลได้ด้วย</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\"><span style=\"color: #3366ff\"><u>3.ผู้เล่นทั้ง 5 คน</u></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: courier new,courier\">         ผู้เล่นอีก 5คนที่ลงสนาม  แต่ละคนในทีมไม่มีตำแหน่งหน้าที่เด่นชัดเนื่องจากีฬาแชร์บอลเล่นกันภายในสยามไม่กว้างนัก  ทุกคนสามารถสลับเปลี่ยนตำแหน่งช่วยกันรับลูกและส่งลูกบอลเพื่อบยิงประตู  โดยอาศัยการฝึกฝน  มีระบบและแผนการเล่นที่สัมพันธ์กันเป็นอย่างดี  พร้อมที่จะวิ่งเพื่อนรับเละส่งลูกไปในบริเวรสนามได้ทุกขณะ  ผู้เล่นทั้ง 5 คนจึงต้องมีสมรรรถภาพกายที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่อง ความเร็ว ความไว ความอ่อนตัวสามารถรับและส่งลูกบอลรวมทั้งยิงประตูได้อย่างแม่นยำก็จะเป็นฝ่ายที่ได้เปรียบคู่แข่ง<br />\n </span> </span>\n</p>\n', created = 1726577501, expire = 1726663901, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f2dd79ae39438ccc842d8a4bb2573156' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แชร์บอลน่ารู้

ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล


เเชร์บอล //*

ประวัติความเป็นมาของกีฬาแชร์บอล

    กีฬาแชร์บอลเป็นกีฬาพื้นฐานของกีฬาประเภทอื่นๆ เช่น บาสเก็ตบอล  เนตบอล  แต่ไม่มีหลักฐานที่แน่นอนว่ากีฬาแชร์บอลมีกำเนิดหรือเล่นกันมาตั้งแต่เมื่อใด  กีฬาแชร์บอลนิยมเล่นและจัดแข่งขันกันในระดับโรงเรียน  เพราะเป็นกีฬาประเภทหนึ่งที่นำมาใช้ในการออกกำลังกายได้อย่างดี  ให้ความสนุกสนาน  ตื่นเต้นเร้าใจทั้งผู้ดูและผู้เล่น  สามารถเล่นบนพื้นที่จำกัดและเล่นได้ทั้งในร่มและกลางแจ้ง  โดยเฉพาะอย่างยิ่งสามารถเล่นได้ทุกเพศ ทุกวัย  กติกาการแข่งก็ไม่ยุ่งยากซับซ้อน  อีกท้งสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อย  อุปกรณ์ก็มีราคาถูกและหาได้ง่าย 

    ปัจจุบันกีฬาแชร์บอลเป็นกีฬาที่นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลาย  ไม่เพียงแต่เล่นหรือแข่งขันภายในโรงเรียนเท่านั้น  หน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐบาลและเอกชนต่างก็ให้ความสนใจนิยมเล่นกัน  และมีการแข่งขันทั้งภายในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงาน  เนื่องจากสามารถเป็นสื่ออย่างหนึ่งที่จะช่วยให้เชื่อมความสามัคคีระหว่างกันได้เป็นอย่างดี

กติกาการแข่งขันกีฬาแชร์บอล 

กติกาข้อที่ 1 สนามแข่งขัน

สนามแข่งแชร์บอลมีลักษณะดังนี้

1.ขนาดสนามเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 16 เมตร(เส้นหลัง) ยาว 32 เมตร(เส้นข้าง)สนามแบ่งออกเป็น2ส่วนเท่าๆกัน  ด้วยเส้นแบ่งแดน  ขนาดนี้จะเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม  โดยมีบริเวณรอบสนามอย่างน้อย 1 เมตร  ถ้าเป็นการแข่งขันที่สนามในร่มความสูงจากพื้นสนามขึ้นไปไม่ควรน้อยกว่า 6 เมตร

2.วงกลมกลางสนามมีจุดกึ่งกลางของเส้นแบ่งแดน ให้เขียนวงกลมรัศมี 1.80 เมตร

3.เขตผู้ป้องกันตะกร้า  ที่จุดกึ่งกลางของเส้นหลังทั้ง 2 ด้านเขียนครึ่งวงกลมใช้รัศมี 3.00 เมตร  ในสนามเล่น เขตนี้เรียกว่า เขตผู้ป้องกันตะกร้า

4.เส้นโทษ ถัดจากจุดกึ่งกลางเส้นหลังเข้าไปในสนาม 8.00 เมตร  ลากเส้นให้ขนานกับเส้นหลังยาว 50 ซม.(โดยลากให้ตั้งฉากกับเส้นข้าง)

5.เส้นทุกเส้นกว้าง 5 ซม. และเป็นส่วนหนึ่งของเขตนั้นๆ

กติกาข้อที่ 2 อุปกรณ์การแข่งขัน

1.เก้าอี้ เป็นชนิด 4 ขา ไม่มีพนักพิงสูง 35-40 ซม.ขนาดของที่นั่งกว้าง 30-35 ซม. หรือเป็นเก้าอี้ที่มีขนาดใกล้เคียงและเป็นชนิดเดียวกันทั้ง 2 ตัว  เก้าอี้นี้วางไว้จุดกึ่งกลางของเส้นหลัง  โดยให้ขาหน้าของเก้าอี้ทั้งสองขาวางอยู่บนเส้นหลัง

2.ตะกร้าขนาดสูง 30-35 ซม. ปากตะกร้าเป็นรูปทรงกลม  มีเส้นผ่า ศก. 30 -35ซม.ทำด้วยหวายที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้เล่น

3.ลูกบอล ให้ลูกแชร์บอลหรือลูกฟุตบอลขนาดเบอร์ 4 -5 ซึ่งฝ่ายจัดการแข่งขันต้องแจ้งให้ผู้แข่งขันทราบก่อนในระเบียบการแข่งขัน

4.นาฬิกาจับเวลา 2 เรือน ใช้สำหรับจับเวลานอกและเวลาการแข่งขัน

5.ใบบันทึกการแข่งขัน

6.ป้ายคะแนน

7.สัญญาณหมดเวลาการแข่งขัน ( นกหวีด ระฆัง กริ่งเป็นต้น )

8.ป้ายบอกจำนวนครั้งของการฟาวล์ (ถ้ามี)

กติกาข้อที่ 3 เวลาในการแข่งขัน

1.เวลาการแข่งขันแบ่งออกเป็น 2 ครึ่งๆละ20 นาที พักระหว่างครึ่ง 5 นาที เวลาการแข่งขันอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมของนักกีฬา(โดยต้องแจ้งไว้ในระเบียบการแข่งขันก่อน)

2.เวลาการแข่งขันเริ่มขึ้นเมื่อผู้ตัดสินได้โยนลูกบอลขึ้นระหว่างผู้เล่น 2 คนของแต่ละฝ่ายที่อยู่ในวงกลมและลูกบอลได้ถูกผู้เล่นฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแล้ว

3.เมื่อเริ่มแข่งขันครึ่งเวลาหลังและเวลาเพิ่มพิเศษแต่ละช่วง  ให้เปลี่ยนแดนกนั

4.เวลานอก ให้แต่ละทีมขอเวลานอกได้ครึ่งเวลาละ 2 ครั้งๆละ 1 นาที

5.การต่อเวลาการแข่งขันเมื่อผลการแข่งขันเสมอกัน ให้ต่อเวลาเพิ่มพิเศษอีกช่วงละ 5 นาที จนกว่าจะมีผลแพ้ชนะหรือมีข้อตกลงเป็นอย่างอื่น

6.การขอเวลานอกในเวลาเพิ่พิเศษ ให้ขอเวลานอกได้ช่วงละ 1 ครั้ง

7.ทีมใดที่มาแข่งขันช้ากว่ากำหนดเวลา 15 นาที ให้ปรับแพ้

กติกาข้อที่ 4 ผู้เล่น

1.ชุดหนึ่งประกอบด้วยผู้เล่น 12 คน เป็นผู้เล่นในสนาม 7 คน ผู้เล่นสำรอง 5 คน ผู้เล่นสำรองและเจ้าหน้าที่ประจำทีม ต้องนั่งที่คณะกรรมการจัดไว้ให้

2.เมื่อเริ่มทำการแข่งขัน ต้องมีผู้เล่นในสนามฝ่ายละ 7 คนเละในระหว่างการแข่งขันฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีผู้เล่นน้อยกว่า 5 คน ให้ปรับแพ้

3.ผุ้เล่นสำรองจะเข้าเล่นได้เมื่อได่รับอนุญาตจากผู้ตัดสิน  และต้องทำการเปลี่ยนตัวที่บริเวณเส้นแบ่งแดนด้านเดียวกับโต๊ะเจ้าหน้าที่จัดการแข่งขัน(เขตเปลี่ยนตัว)

4.ผู้เล่นแต่ละชุดต้องใส่เสื้อสีเดียวกัน และติดหมายเลขที่ด้านหน้า ขนาดสูงไม่น้อยกว่า 10 ซม. ส่วนด้านหลังขนาดสูงไม่น้อยกว่า 20 ซม ตั้งแต่หมายเลข 1-12 สีของหมายเลขต้องแตกต่างจากสีเสื้อชัดเชน

5.ห้ามผู้เล่นสวนเครื่องประดับที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้อื่น

กติกาข้อที่ 5 ผู้ป้องกันตะกร้า

1.ผู้ป้องกันตะกร้าเพียงคนเดียวเท่านั้น ที่เป็นผู้มีสิทธิ์เข้าไปเล่นลูกบอลในเขตป้องกันตะกร้าได้

2.ผู้ป้องกันตะกร้าสามารถเคลื่อนที่ไปในเขตป้องกันตะกร้าได้พร้อมลูกโดยปราศจากข้อจำกัดในเวลา 3 วินาที

3.ผู้ป้องกันตะกร้าสามารถออกมาร่วมเล่นในสนามได้  เต่ต้องปฏิบัติตนเหมือนผู้เล่นในสนามทั่วๆไป

กติกาข้อที่ 6 ผู้ถือตะกร้า

1.ขณะรับลูกบอลต้องอยู่บนเก้าอี้พร้อมตะกร้า

2.ไม่มีสิทิเข้าร่วมเล่นกับผู้เล่นในสนามขณะกำลังแข่ง(ส่งข้าง)

3.ห้ามใช้ตะกร้าหรือส่วนใดของร่างกายกีดกันการป้องกันของผู้ป้องกับตะกร้า(ส่งข้าง)

4.สามารถเคลื่อนไหวตะกร้าได้ทุกลักษณะ

5.ผู้ถือตะกร้า ต้องใช้ตะกร้ารับลูกบอลจากการยิงประตู

กติกาข้อที่ 7 เขตป้องกันตะกร้า

1.เขตป้องกันตะกร้าเป็นพื้นที่ของผู้ป้องกันตะกร้าเพียงคนเดียวเท่านั้น

2.ผู้เล่นในสนามเข้าไปในเขตป้องกันตะกร้า จะถูกลงโทษดังนี้

  2.1ฝ่ายป้องกัน เข้าไปในขณะมีการยิงประตู ถ้าลูกบอลลงในตะกร้าให้ได้คะแนน ถ้าลูกบอลไม่ลงตะกร้าให้ยิงลูกโทษ

  2.2ฝ่ายป้องกัน เข้าไปในลักษณะไม่มีการยิงประตู(ส่งข้าง)

  2.3ฝ่ายรุก เข้าไปในเขตป้องกันตะกร้าของฝ่ายตรงข้าม(ส่งข้าง)

3.ลูกบอลที่วางหรือกลิ้งอยู่ในเขตป้องกันตะกร้า ผู้ป้องกันตะกร้าจะต้องเล่นทันที

4.ลูกบอลถูกผู้เล่นในสนามเล่นก่อน

   4.1ได้ประตูเมื่อลูกลงตะกร้า

   4.2ส่งลูกเข้าเล่น เมื่อลูกออกเส้นหลัง

กติกาข้อที่ 8 การเล่นลูกบอล

อนุญาตให้ผู้เล่นกระทำดังนี้

1.หยุด จับ ตี ปัด กลิ้งส่ง หรือขว้างลูกบอลด้วยมือ แขน ศรีษะ และลำตัวบริเวณเหนือสะเอวขึ้นไป

2.ครอบครองลูกบอลด้วยมือเดียวหรือสองมือ หรือกดลูกบอลที่อยู่บนพื้นสนามหรือโยนลูกบอลขึ้นในอากาสได้ไม่เกิน 3 วินาที

3.ถือลูกบอลและเคลื่อนไหวไปมาได้ด้วยการหมุนตัวโดยมีเท้าหลัก

4.กระโดดรับ ส่ง ยิงประตู

5.ใช้ลำตัวบังคู่ต่อสู้ ในขณะที่กำลังครอบครองลูกบอลอยู่

กติกาข้อที่ 9 การได้คะแนน

1.จะนับได้คะแนนเมื่อลูกบอลได้ลงตะกร้าจากการยิงประตูโดยตรง โดยผู้ถือตะกร้าต้องทรงตัวอยู่บนเก้าอี้อย่างมั่นคง และผู้ตัดสินในสนามได้ให้สัญญาณนกหวีดแล้ว

2.ผู้เล่นฝ่ายป้องกันพยายามป้องกันโดยผิดกติกา ถ้าลูกบอลลงตะกร้าให้นับว่าได้คะแนน

3.ถ้าผู้จับเวลาให้สัญญาณหมดเวลาการแข่งขันก่อนที่ลูกบอลจะหลุดจากมือผู้ยิงประตูถือว่าไม่ได้คะเเนน

4.หลังจากลูกบอลลงตะกร้าจากการยิงประตูธรรมดา  หรือจากการยิงโทษได้ผลผู้ป้องกันตะกร้าต้องนำลูกบอลส่งเข้าเล่นจาเส้นหลัง(ถ้าไม่ได้ผลให้ส่งข้าง)

5.คะแนนทีได้จากการยิงประตูมีค่า 2 คะแนน คะแนนที่ได้จากการยิงโทษมีค่า 1 คะแนน

6.ฝ่ายที่ทำคะแนนได้มากกว่าเป็นฝ่ายชนะ

กติการข้อที่ 10 การเริ่มเล่นและการโยนลูกโดด

1.การเริ่มเล่นในครึ่งเวลาแรกและครึ่งเวลาหลัง  เวลาเพิ่มพิเศษ  และการหยุดเล่นอื่นๆที่ต้องทำลูกกระโดด  จะเริ่มโดยผู้ตัดสินเป็นผู้โยนลูกกระโดดที่วงกลมกลางสนามระหว่างผู้กระโดดทั้ง 2 ฝ่ายๆละ 1 คน

2.ผู้ตัดสินเป็นผู้โยนลูกกระโดดขึ้นไปในอากาศในแนวดิ่ง  ระหว่างผู้กระโดดทั้ง 2 ฝ่าย

3.ผู้เล่นอื่นๆที่ไม่ใช่ผู้กระโดดต้องอยู่นอกวงกลม  ณ ที่ใดๆก็ได้ในสนามแข่งขัน

4.จะโยนลูกกระโดดเมื่อ

-เริ่มการแข่งขันครึ่งเวลาแรก ครึ่งเวลาหลัง  และเวลาเพิ่มพิเศษ

-เมื่อมีการหยุดเล่นไม่มีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดทำผิดกติกา

-เมื่อเกิดลูกยึดของผู้เล่นทั้ง 2 ฝ่าย  (ผู้ทำลูกยึดต้องมาเป็นผู้กระโดด)

-เมื่อทั้ง 2 ฝ่ายทำผิดกติกาพร้อมกัน(ผู้ทำผิดกติกาต้องมาเป็นผู้กระโดด)

5.ผู้กระโดดต้องปัดลูกบอลในขณะที่ลูกบอลอยู่ในจุดสูงสุดได้คนละไม่เกิน 2 ครั้ง จากนั้นผู้กระโดดจะถูกลูกบอลอีกไม่ได้  จนกว่าลูกบอลจะได้ถูกผู้เล่นคนอื่นๆแล้ว

กติกาข้อที่ 11 การส่งลูกเข้าเล่นจาเส้นข้าง

1.จะส่งลูกเข้าเล่นเมื่อลูกบอลทั้งลูกได้ผ่านเส้นข้างหรือเส้นหลัง  และถูกพื้นที่นอกสนามแข่งขัน(ลูกลอยในอากาศยังไม่ถือว่าลูกออก)

2.ผู้เล่นฝ่ายรับทำลูกบอลออกเส้นหลัง  ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามส่งลูกเข้าเล่นจากมุมสนามด้านที่ลูกบอลออก

3.ผู้เล่นฝ่ายรุกทำให้ลูกบอลออกเส้นหลัง  ให้ฝ่ายตรงข้ามนำลูกบอลมาส่งเข้าเล่นจากเส้นข้างมุมสนามด้านที่ลูกออก

4.ผู้ส่งลูกเข้าเล่นจะส่งด้วยวิธีใดๆก็ได้  ภายใน 5 วินาที   หลังจากผู้ตัดสินส่งลุกบอลให้ผู้เล่นแล้ว

5.ผู้ตัดสินจะส่งลูกบอลให้ผู้เล่นส่งเข้าเล่นในกรณีที่มีการส่งลูกเข้าเล่นจากแดนหน้า

กติกาข้อที่ 12 การยิงโทษ

จะให้ยิงโทษเมื่อผู้ป้องกันตะกร้าปฏิบัติ ดังนี้

1.ทำการป้องกันในลักษณะที่เป็นอันตรายกับคู่ต่อสู้

2.นำลูกบอลจากสนามเล่นเข้าไปในเขตป้องกันตะกร้า

3.เจตนาปัดตะกร้า ถูกตัวผู้ถือตะกร้า  ใช้เก้าอี้หรือส่วนอื่นๆของเก้าอี้เพื่อป้องกัน

หรือผู้เล่นอื่นๆในสนามปฏิบัติดังนี้

1.ฝ่ายป้องกันเข้าไปในเขตประตูขณะมีการยิงประตู

2.เจตาทำให้ผู้ต่อสู้ได้รับอันตรายโดยใช้ลูกบอล

3.ดึง ดัน ผลัก ชน ชก ต่อย เตะคู่ต่อสู้

4.ทำผิดกติกาอย่างร้ายแรงกับคู่ต่อสู้  เละผู้ตัดสิน

5.ทำการฟาล์วโดยเจตนา

กติกาข้อที่ 13 การเปลี่ยนตัวผู้เล่น

1.จะทำการเปลี่ยนตัวผู้เล่นได้เมื่อลูกตาย  และฝ่ายที่ขอเปลี่ยนตัวได้เป็นผู้ครอบครอง ลูกบอลอยู่ หรือเมื่อมีการยิงโทษ

2.ผู้เล่นที่จะเปลี่ยนตัวเข้าเล่นต้องเปลี่ยนตัวที่บริเวณเขตการเปลี่ยนตัวเท่านั้น

3.จะเปลี่ยนหน้าที่การเล่นได้เมื่อได้แจ้งให้ผู้ตัดสินทราบ  ขณะที่ลูกตาย

4.ผู้ที่ต้องออกจากการแข่งขันเพราะทำฟาล์วครบ 5 ครั้ง สามารถเปลี่ยนตัวผู้เล่นได้

5.ผู้เล่นที่ถูกไล่ออกจากการแข่งขันไม่สามารถเปลี่ยนตัวผู้เล่นอื่น เข้าแทนได้

กติกาข้อที่ 14 การทำฟาล์วการทำผิดมารยาทและการลงโทษของนักกีฬาและเจ้าหน้าที่ประจำทีม

1.การทำฟาล์ว

-ผู้เล่นที่กระทำฟาล์วครบ 5 ครั้ง ต้องออกจากกการแข่งขัน

-การฟาล์วโดยเจตนา จะถูกลงโทษโดยการยิงทา

-การฟาล์วทุกชนิด ให้บันทึกเป็นฟาล์ว 1 ครั้ง

2.การทำผิดมารยาทของนักกีฬาและเจ้าหน้าที่ประจำทีม

-การทำผิดซ้ำๆ , การแสดงที่ไม่มีน้ำใจนักกีฬา , การใช้วาจาไม่สุภาพ

3.การลงโทษ

-เตือน , ยิงโทษ , ให้ออกจากการแข่ง

กติกาข้อที่ 15 ผู้ตัดสิน

1.การแข่งขันครั้งหนึ่งประกอบด้วยผู้ตัดสิน 2 คน

2.ผู้ตัดสินมีหน้าที่ควบคุมการแข่งขัน ตั้งแต่เริ่มเล่นจนถึงสิ้นสุดการแข่งขัน

3.ผู้ตัดสินต้องการเสี่ยงเพื่อเลือกแดนต่อหน้าหัวหน้าทั้ง 2 ชุด

4.ขณะทำการแข่งขัน  ถ้าผู้ตัดสินไม่สามารถทำการตัดสินได้ตลอดการแข่งขันคณะกรรมการจัดการแข่งขันสามารถจัดหาผู้ตัดสินสำรองเข้าทำหน้าที่แทนได้  หรืออาจปฏิบัติหน้าที่เพียงคนเดียวถ้าไม่สามารถหาผู้อื่นแทนได้

5.ผู้ตัดสินเป่านกหวีดเมื่อ

-ลูกออก

-มีการทำผิดกติกาทุกชนิด

-มีการยิงประตูโทษได้ผล

-มีการให้เวลานอก

-มีการได้คะแนน

-เกิดการบาดเจ็บ

-เกิดลูกยึด

-ผู้ตัดสินขอเวลานอก

-หมดเวลาการแข่งขัน

-การเตือนและอื่นๆ

กติกาข้อที่ 16 เจ้าหน้าที่

เจ้าหน้าที่ประกอบด้วย

1.ผู้บันทึก 1 คน

2.ผู้จับเวลา 1 คน

3.ผู้ใส่ป้ายคะแนน 1 คน
 


วิธีการเล่นกีฬาแชร์บอล

               การเล่นแชร์บอลประกอบด้วยผู้เล่น 2 ฝ่าย ๆละ 7 คน โดยมีผู้เล่นสำรองอีกฝ่ายละ 5 คน  ซึ่งไม่ได้แบ่งหน้าที่กันอย่างเด่นชัดเหมือนกีฬาชนิดอื่น เช่น ฟุตบอล  บาสเก็ตบอล  ผู้เล่นที่ดูว่าจะมีตำแหน่งเฉพาะตัวอยู่จะเห็นจะเห็นได้แก่ผู้เล่นที่ทำหน้าที่ถือตระกร้า   เละผู้ที่ป้องกันตระกร้าเท่านั้นที่เหลืออีก 5 คนต่างคนต่างทำหน้าที่ของตนไป  จะขอกล่าวถึงตำแหน่งและหน้าที่ของผู้เล่นแต่ละคนดังนี้

1.ผู้ถือตะกร้า 

        ผู้ถือตะกร้าเป็นผู้มีหน้าที่รับลูกบอลซึ่งผู้เล่นฝ่ายเดียวกันเป็นผู้ดยนอาจเรียกว่า ยิงประตูลงตะกร้า เพื่อนทำคะแนน  ผู้ถือตะกร้าจะยืนอยู่บนเก้าอี้ 4 ขา  ถือตะกร้า 1 ใบ  ผู้ที่ทำหน้าที่นี้ต้องเป็นผู้ที่มีสายตาดีรับลูกด้วยตะกร้าได้อย่างแม่นยำ  มีการทรงตัวดีมาก  ผู้ถือตะกร้าจะรับลูกบอลในลักษณะใดก็ได้ที่ไม่เป็นการรบกวนหรือกีดกันการป้องกันตะกร้า

2.ผู้ป้องกันตะกร้า

         ผู้ป้องกันตะกร้าเป็นผู้เล่นเพียงคนเดียวเท่านั้น  ที่มีสิทธิเข้าไปเล่นในเขคตป้องกันตะกร้าได้และยังสามารถออกมาร่วมเล่นได้เช่นเดียวกับผู้เล่นคนอื่นๆในสนาม  ผู้ป้องกันตะกร้ามีหน้าที่คอยกระโดดปัดลูกที่ฝ่ายตรงข้ามโยนหรือยิงประตูให้ลงตะกร้า  เมื่อสามารถแย่งลูกมาไว้ในครอบครองได้แล้ว   ผู้ป้องกันตะกร้าจะต้องส่งลูกไปให้ผู้เล่นฝ่ายเดียวกัน  ผู้ที่ทำหน้าที่นี้ต้องมีรูปร่างสูง  แขนยาว  กระโดดได้สุง  ส่งลูกได้แม่นยำ  มีกำลังแขนดี  สามารถส่งลูกไปในระยะไกลได้ด้วย

3.ผู้เล่นทั้ง 5 คน

         ผู้เล่นอีก 5คนที่ลงสนาม  แต่ละคนในทีมไม่มีตำแหน่งหน้าที่เด่นชัดเนื่องจากีฬาแชร์บอลเล่นกันภายในสยามไม่กว้างนัก  ทุกคนสามารถสลับเปลี่ยนตำแหน่งช่วยกันรับลูกและส่งลูกบอลเพื่อบยิงประตู  โดยอาศัยการฝึกฝน  มีระบบและแผนการเล่นที่สัมพันธ์กันเป็นอย่างดี  พร้อมที่จะวิ่งเพื่อนรับเละส่งลูกไปในบริเวรสนามได้ทุกขณะ  ผู้เล่นทั้ง 5 คนจึงต้องมีสมรรรถภาพกายที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่อง ความเร็ว ความไว ความอ่อนตัวสามารถรับและส่งลูกบอลรวมทั้งยิงประตูได้อย่างแม่นยำก็จะเป็นฝ่ายที่ได้เปรียบคู่แข่ง
 

สร้างโดย: 
นาย รัฐธรรมนูญ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 470 คน กำลังออนไลน์