- user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:bc6df84063a672e4c5d8e0c4a98037e9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
- user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ห้ามลบ</strong> </span><span style=\"color: #0610f8\">ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.<br />\nหากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล<br />\nซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง</span> <br />\nครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"304\" src=\"/files/u2457/001__Custom_.jpg\" height=\"500\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>การปกครองท้องถิ่น (Local Government)</strong>\n</p>\n<p>\nหมายถึงการปกครองชุมชนหรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งของประเทศ โดยมีองค์กรหรือหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นนิติบุคคล ซึ่งประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่ที่ประชาชนเลือกตั้งเข้ามา เพื่อดำเนินงานตามกำหนดระยะเวลา โดยมีงบประมาณเป็นของตนเอง และมีอำนาจอิสระของตน ในการดำเนินกิจการของท้องถิ่นที่รัฐบาลได้มอบหมายให้ ทั้งนี้โดยส่วนกลางหรือรัฐบาลเป็นเพียงผู้คอยควบคุมเท่านั้น<br />\nการปกครองท้องถิ่นของประเทศไทยในปัจจุบัน ดำเนินการตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 ซึ่งได้กำหนดการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ในท้องถิ่นที่เห็นสมควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง อันเป็นการดำเนินการจัดระเบียบบริหารราชการตามหลักการกระจายอำนาจ และได้กำหนดให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ดังนี้ <br />\n1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด <br />\n2. เทศบาล <br />\n3. สุขาภิบาล <br />\n4. ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่กฎหมายกำหนด <br />\n ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน จะมีรูปแบบการปกครองท้องถิ่น 3 รูปแบบด้วยกันคือ <br />\nองค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และสุขาภิบาล สำหรับราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่กฎหมายกำหนดได้แก่ กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา ซึ่งเป็นรูปแบบการปกครองเฉพาะที่ และองค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งเป็นรูปแบบการปกครองท้องถิ่นล่าสุด <br />\n ดังนั้นการปกครองท้องถิ่นของไทย จึงมี 6 รูปแบบด้วยกันคือ <br />\n1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด <br />\n2. เทศบาล <br />\n3. สุขาภิบาล*<br />\n4. กรุงเทพมหานคร <br />\n5. เมืองพัทยา <br />\n6. องค์การบริหารส่วนตำบล <br />\n*อนึ่ง ในปี พ.ศ.2542 ทางราชการได้ประกาศให้สุขาภิบาลทุกแห่งทั่วประเทศ ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลตำบลทั้งหมด ซึ่งจะมีการเลือกตั้งคณะทำงานและสมาชิกสภาเทศบาลใหม่และเลือกเพิ่มจากกรรมการสุขาภิบาลเดิม ในปีนี้\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u2457/1__Custom__0.jpg\" height=\"379\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong> เทศบาล</strong><br />\nพระราชบัญญัติเทศบาล ได้กำหนดรูปแบบโครงสร้างของการจัดองค์การและการบริหารงานของเทศบาลจำลองมาจากการปกครองแบบรัฐสภา ซึ่งเป็นการปกครองประเทศมาใช้กับเทศบาลด้วย คือมีสภาเทศบาลซึ่งมีสมาชิกมาจากการเลือกตั้ง ทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายควบคุมการบริหารเทศบาล ทำนองเดียวกันกับสภาผู้แทนราษฎร และมีคณะเทศมนตรีเป็นฝ่ายบริหาร ทำนองเดียวกับรัฐมนตรี ซึ่งสภาเทศบาลให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งคณะเทศมนตรีจากสมาชิกสภาเทศบาล สภาเทศบาล ประกอบด้วยสมาชิกที่ราษฎรเลือกตั้งเข้ามาจำนวนที่กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งได้กำหนดไว้ ตามประเภทของเทศบาลคือ <br />\n1. เทศบาลตำบล ได้แก่ ท้องถิ่นซึ่งมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลตำบล<br />\n2. เทศบาลเมือง ได้แก่ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด หรือท้องถิ่นชุมชนที่มีประชาชนตั้งแต่ 10,000 คน ขึ้นไป ทั้งมีรายได้พอสมควรแก่การที่จะปฏิบัติหน้าที่อันต้องทำตามพระราชบัญญัตินี้ และมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลเมือง<br />\n3. เทศบาลนคร ได้แก่ ท้องถิ่นชุมชนที่มีประชาชน ตั้งแต่ 50,000 คน ขึ้นไป ทั้งมีรายได้พอสมควรแก่การที่จะปฏิบัติหน้าที่อันต้องทำตามพระราชบัญญัตินี้ และมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลนคร<br />\nโครงสร้างของเทศบาล<br />\nเทศบาลมีโครงสร้างที่สำคัญแบ่งเป็น 2 ฝ่าย คือ<br />\n1. สภาเทศบาลเป็นองค์กรฝ่ายนิติบัญญัติของเทศบาล มีหน้าที่ในการตราเทศบัญญัติ อนุมัติงบประมาณประจำปีของเทศบาล และควบคุมการบริหารกิจการของเทศบาล คณะเทศมนตรี สมาชิกสภาเทศบาลมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี โดยมีจำนวนสมาชิกสภาเทศบาล ดังนี้<br />\n1. เทศบาลตำบล ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 12 คน <br />\n2. เทศบาลเมือง ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน 18 คน <br />\n3. เทศบาลนคร ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน 24 คน <br />\n2. นายกเทศมนตรี ทำหน้าที่เป็นฝ่ายบริหารของเทศบาล ประกอบด้วยนายกเทศมนตรีและเทศมนตรี มีจำนวนกำหนดไว้ตามประเภทของเทศบาล ดังนี้ <br />\n1. เทศบาลตำบล มีนายกเทศมนตรี 1 คน และเทศมนตรี 2 คน <br />\n2. เทศบาลเมือง มีนายกเทศมนตรี 1 คน และเทศมนตรี 2 คน แต่ในกรณีที่เทศบาลเมืองแห่งใด มีรายได้จัดเก็บตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป ให้มีเทศมนตรีเพิ่มได้อีก 1 คน <br />\n3. เทศบาลนคร มีนายกเทศมนตรี 1 คนและเทศมนตรีอีก 4 คน <br />\nนายกเทศมนตรี มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี และจะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ <br />\nผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้แต่งตั้งนายกเทศมนตรีและเทศมนตรี จากผู้ที่เป็นสมาชิกสภาเทศบาล ด้วยความเห็นชอบของสมาชิกสภาเทศบาล คณะเทศมนตรีมีอำนาจหน้าที่ควบคุมและรับผิดชอบการบริหารกิจการของเทศบาลตามกฎหมาย โดยมีนายกเทศมนตรีเป็นหัวหน้า</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><strong> องค์การบริหารส่วนตำบล</strong><br />\nองค์การบริหารส่วนตำบลหรือ อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล เป็นระบบการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่เล็กที่สุดในประเทศไทย พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2546 กำหนดให้การบริหารองค์การบริหารส่วนตำบลประกอบด้วย สภาองค์การบริหารส่วนตำบลและนายกองค์การบริหารส่วนตำบล<br />\nโครงสร้างของการจัดองค์การบริหารส่วนตำบล<br />\n องค์การบริหารส่วนตำบลแบ่งโครงสร้างออกเป็น 2 ฝ่าย คือ<br />\n 1. สภาองค์การบริหารส่วนตำบล ( ฝ่ายนิติบัญญัติ ) ประกอบด้วยสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนั้น หมู่บ้านละ<br />\n2 คน ( ในกรณีที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลใดมี 1 หมู่บ้าน ให้สภาองค์การบริหารส่วนตำบลนั้นประกอบด้วยสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 6 คน ในกรณีที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลใดมีเพียง 2 หมู่บ้านให้สภาองค์การบริหารส่วนตำบลนั้นประกอบด้วยสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวนหมู่บ้านละ 3 คน )<br />\nหน้าที่ของสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ได้แก่ ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาตำบล เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารกิจการขององค์การบริหารส่วนตำบล พิจารณาและให้ความเห็นชอบข้อบังคับของตำบล ควบคุมการบริหารงานของนายกองค์การบริหารส่วนตำบล<br />\n2. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ( ฝ่ายบริหาร ) มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี และจะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลอาจแต่งตั้งเป็นนายกองค์การบริหารส่วนตำบลซึ่งไม่ใช่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นผู้ช่วยในการบริหารราชการได้ไม่เกิน 2 คน และคงแต่งตั้งเลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตำบล 1 คน ซึ่งไม่ได้เป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในกรณีที่นายกองค์การบริหารส่วนตำบลไม่อาจปฎิบัติหน้าที่ได้ ให้รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นผู้รักษาราชการแทน<br />\nนายกองค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารราชการขององค์การบริหารส่วนตำบล และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตำบล <br />\nองค์การบริหารส่วนจังหวัด<br />\nองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) คือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย มีจังหวัดละหนึ่งแห่ง ยกเว้นกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีเขตพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทั้งจังหวัด จัดตั้งขึ้นเพื่อบริการสาธารณประโยชน์ในเขตจังหวัด ตลอดทั้งช่วยเหลือพัฒนางานของเทศบาลและ อบต. รวมทั้งการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อน<br />\n พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 บัญญัติไว้ว่า ในจังหวัดหนึ่งให้มีองค์การบริหารส่วนจังหวัด ประกอบด้วย สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นราชการส่วนท้องถิ่น เขตขององค์การบริหารส่วนจังหวัดคือเขตจังหวัด การจัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้สมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมาจากการเลือกตั้งของประชาชนในเขตจังหวัด และมีวาระการดำรงตำแหน่งครั้งละ 4 ปี มีนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ซึ่งมาจากการเลือกตั้งกันเองของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด สภาจังหวัด สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด มาจากการเลือกตั้งของประชาชนในเขตจังหวัด ตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด โดยมีหลักเกณฑ์ว่า ให้ถือเอาจำนวนราษฎรในแต่ละจังหวัดตามข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนการเลือกตั้งเป็นเกณฑ์ ดังนี้ <br />\n1. จังหวัดใดที่มีจำนวนราษฎรไม่เกิน 500,000 คน ให้มีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ 24 คน <br />\n2. จังหวัดใดที่มีจำนวนราษฎรเกินกว่า 500,000 คน แต่ไม่ถึง 1,000,000 คน ให้มีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ 30 คน <br />\n3. จังหวัดใดที่มีจำนวนราษฎรเกินกว่า 1,000,000 คน แต่ไม่ถึง 1,500,000 คน ให้มีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ 36 คน <br />\n4. จังหวัดใดที่มีจำนวนราษฎรเกินกว่า 1,500,000 คน แต่ไม่ถึง 2,000,000 คน ให้มีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ 42 คน <br />\n5. จังหวัดใดที่มีจำนวนราษฎรเกินกว่า 2,000,000 คน ขึ้นไป ให้มีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ 48 คน <br />\nในวันเริ่มสมัยประชุมประจำปีของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลือกประธานสภา 1 คน และรองประธานสภาจำนวน 2 คน และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีหน้าที่ดำเนินกิจการของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด และดำเนินการประชุมให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของการประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ส่วนรองประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ประธานสภาสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดมอบหมายให้ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีสิทธิตั้งกระทู้ถามนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ในเรื่องใด ๆ อันเกี่ยวข้องกับการบริหารราชการในส่วนขององค์การบริหารส่วนจังหวัด <br />\nนอกจากนี้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด สามารถเสนอข้อสอบถามต่อประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดชี้แจงข้อเท็จจริงใด ๆ อันเกี่ยวกับงานในหน้าที่ของราชการส่วนภูมิภาค และให้หัวหน้าหน่วยราชการอื่น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งมาปฏิบัติหน้าที่ในเขตจังหวัดชี้แจงข้อเท็จจริงใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่ได้ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีหน้าที่ที่จะต้องดำเนินกิจการใด ๆ ที่เป็นหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ตามมติของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด และตามกฎหมายที่บัญญัติไว้ เมื่อเริ่มประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดให้สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลือกผู้ใดผู้หนึ่ง เป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 คน และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด สามารถตั้งรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด จากสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ตามเกณฑ์ ดังนี้ <br />\n1. ถ้ามีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด 24 คนหรือ 30 คน ให้มีรองนายกองค์การ ฯ ได้ 2 คน <br />\n2. ถ้ามีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด 36 คนหรือ 42 คน ให้มีรองนายกองค์การ ฯ ได้ 3 คน <br />\n3. ถ้ามีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด 48 คน ให้มีรองนายกองค์การ ฯ ได้ 4 คน\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u2457/125__Custom_.jpg\" height=\"301\" />\n</div>\n<p>\n<strong> กรุงเทพมหานคร</strong><br />\n กรุงเทพมหานครเป็นองค์การปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่มีขนาดใหญ่ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528<br />\n โครงสร้างของกรุงเทพมหานคร<br />\n กรุงเทพมหานครแบ่งโครงสร้างออกเป็น 2 ฝ่าย คือ<br />\n 1. สภากรุงเทพมหานคร ( ฝ่ายนิติบัญญัติ ) ประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี กำหนดให้ประชาชนในแต่ละเขตปกครองเลือกสภากรุงเทพมหานครได้เขตละ 1 คน ปัจจุบันกรุงเทพมหานครมี 50 เขตปกครอง มีสภากรุงเทพมหานครได้ 50 คน<br />\nใช้ระบบการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเบอร์เดียว สภากรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่ทางนิติบัญญัติ รวมทั้งควบคุมและตรวจสอบการทำงานของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร<br />\n 2. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ( ฝ่ายบริหาร ) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนที่มีสิทธิเลือกตั้งในกรุงเทพมหานคร มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครใช้ระบบการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเบอร์เดียว ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดนโยบายและบริหารราชการของกรุงเทพมหานครให้เป็นตามกฎหมาย โดยมีรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครไม่เกิน 4 คน ช่วยในการบริหารงานตามที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมอบหมาย<br />\n พื้นที่การบริหารกรุงเทพมหานครแบ่งออกเป็นเขตและแขวง ในแต่ละเขตจะมีผู้อำนวยการเขตเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหาร โดยมีสภาเขต ( สข.) เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนภายในเขตนั้น ซึ่งแต่ละเขตมีสมาชิกสภาเขตอย่างน้อยเขตละ 7 คน ถ้าเขตใดมีประชากรเกิน 100,000 คน ให้มีสมาชิกสภาเขตได้เพิ่มอีก 1 คน เศษของแสนถ้าเกิน 50,000 คน ให้นับเป็น 100,000 คน มีวารการดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"350\" src=\"/files/u2457/pattaya_map.gif\" height=\"457\" /> \n</div>\n<p>\n<strong> เมืองพัทยา</strong><br />\n พัทยาเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เป็นเมืองที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วง 20 ปี ที่ผ่านมา จึงทำให้ประชากรต่างถิ่นอพยพเข้ามาอยู่เพิ่มจำนวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม <br />\nผังเมือง อาชญากรรม และอื่น ๆ เพื่อให้การบริหารเมืองมีประสิทธิภาพและมีความคล่องตัว รัฐบาลจึงกำหนดให้พัทยามีการปกครองท้องถิ่นในรูปแบบพิเศษ เรียกว่า เมืองพัทยา และมีตราพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 กำหนดให้การบริการเมืองพัทยาประกอบด้วย สภาเมืองพัทยาและนายกเมืองพัทยา<br />\n โครงสร้างของเมืองพัทยา<br />\n เมืองพัทยาแบ่งโครงสร้างออกเป็น 2 ฝ่าย<br />\n 1. สภาเมืองพัทยา ( ฝ่ายนิติบัญญัติ ) ประกอบด้วยสมาชิกสภาเมืองพัทยา จำนวน 24 คน มาจากการเลือกตั้งจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเมืองพัทยา มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี สภาเมืองพัทยามีอำนาจหน้าที่ด้านนิติบัญญัติ รวมทั้งควบคุม และตรวจสอบการทำงานของนายกเมืองพัทยา<br />\n 2. นายกเมืองพัทยา ( ฝ่ายบริหาร ) มาจากการเลือกตั้งของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเมืองพัทยามีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี และจะดำรงตำแหน่งติดต่อกัน 2 วาระไม่ได้ นายกเมืองพัทยามีหน้าที่ควบคุมและรับผิดชอบในการบริหารกิจการของพัทยา และเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างเมืองพัทยา\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"236\" src=\"/files/u2457/lopburi_06.png\" height=\"164\" />\n</p>\n', created = 1725884494, expire = 1725970894, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:bc6df84063a672e4c5d8e0c4a98037e9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
การปกครองส่วนท้องถิ่น
ห้ามลบ ขอให้เจ้าของผลงานประกวด แก้ไขข้อมูลได้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 เวลา 23.30 น.
หากเลยกำหนดเวลาดังกล่าวแล้ว ท่านเข้ามาแก้ไขข้อมูล ถือว่าโมฆะในการพิจารณาได้รับรางวัล
ซึ่งระบบของ Thaigoodview สามารถตรวจสอบได้ว่า ผลงานแต่ละชิ้น มีการแก้ไขเวลาใดบ้าง
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
การปกครองท้องถิ่น (Local Government)
หมายถึงการปกครองชุมชนหรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งของประเทศ โดยมีองค์กรหรือหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นมาเป็นนิติบุคคล ซึ่งประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่ที่ประชาชนเลือกตั้งเข้ามา เพื่อดำเนินงานตามกำหนดระยะเวลา โดยมีงบประมาณเป็นของตนเอง และมีอำนาจอิสระของตน ในการดำเนินกิจการของท้องถิ่นที่รัฐบาลได้มอบหมายให้ ทั้งนี้โดยส่วนกลางหรือรัฐบาลเป็นเพียงผู้คอยควบคุมเท่านั้น
การปกครองท้องถิ่นของประเทศไทยในปัจจุบัน ดำเนินการตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 ซึ่งได้กำหนดการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ในท้องถิ่นที่เห็นสมควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง อันเป็นการดำเนินการจัดระเบียบบริหารราชการตามหลักการกระจายอำนาจ และได้กำหนดให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ดังนี้
1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
2. เทศบาล
3. สุขาภิบาล
4. ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่กฎหมายกำหนด
ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน จะมีรูปแบบการปกครองท้องถิ่น 3 รูปแบบด้วยกันคือ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และสุขาภิบาล สำหรับราชการส่วนท้องถิ่นอื่นที่กฎหมายกำหนดได้แก่ กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา ซึ่งเป็นรูปแบบการปกครองเฉพาะที่ และองค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งเป็นรูปแบบการปกครองท้องถิ่นล่าสุด
ดังนั้นการปกครองท้องถิ่นของไทย จึงมี 6 รูปแบบด้วยกันคือ
1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
2. เทศบาล
3. สุขาภิบาล*
4. กรุงเทพมหานคร
5. เมืองพัทยา
6. องค์การบริหารส่วนตำบล
*อนึ่ง ในปี พ.ศ.2542 ทางราชการได้ประกาศให้สุขาภิบาลทุกแห่งทั่วประเทศ ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลตำบลทั้งหมด ซึ่งจะมีการเลือกตั้งคณะทำงานและสมาชิกสภาเทศบาลใหม่และเลือกเพิ่มจากกรรมการสุขาภิบาลเดิม ในปีนี้
ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง
ช่วยกันนะครับ
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ
ไม่ถูกปิดเสียก่อน
ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ
ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558
มีผลบังคับใช้แล้ว
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ
การปกครองส่วนท่องถิ่น
เป็นหน้าที่ของผู้ใหญ่
ของคุณนะคับ
ทำรายงานได้เเล้ววววว -..-
การสอบภาค ก ที่ผ่านมา เลขที่ 3120001946 ถึง 312001972 ช่วงห่างตั้ง30คน เป็นไปได้ใหมที่ทุกคนจะสอบไม่ผ่านเลย
แล้วท่านยังมีหน้ามาบอกให้ไปแจ้งต่อกรมการปกครอง ด้วยตนเองแทนที่คุณท่านผู้ตรวจข้อสอบจะรับผิดชอบโดยการตรวจข้อสอบใหม่ หรือให้จัดการสอบใหม่โดยใช้ข้อสอบเดิมแต่กลับให้ทุกคนที่สงสัยไปแจ้งด้วยตนเอง ท่านไม่สงสารคนที่ เขาอยู่บ้านนอก และไม่มีเงินบ้างหรือ
แจ้งเลยค่ะ ไม่รอเค้าหรอก เพื่อความยุติธรรม
สอบไม่ผ่านแล้ว ก็ไม่น่าจะพาลคนอื่นเค้านะครับ
การสอบภาคก็มันเป็นการแข่งกับตัวเองครับ
ถึงแม้จะมีคนทุจริต ก็ไม่เกี่ยวกับเราครับขอแค่เราทำคะแนนได้มากกว่ากำหนด
ก็ผ่าน
ไม่มีเหตุอะไรที่เค้าจะมายุ่งกับคะแนนของเราครับ
เค้าอยากจะโกง ก็แค่โกงคะแนนของเค้าไปแค่นั้น