ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ คุณครูเดือนฉาย หนูแสนดี ง31101 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 ภาคเรียนที่ 1/2554

รูปภาพของ pnckruuciap

6. คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานพยากรณ์อากาศคือเครื่องระดับใด
1. super computer
2. mainframe computer
3. mini computer
4. micro computer
7.โปรแกรมแรกที่คอมพิวเตอร์อ่านจากหน่วยความจำมีชื่อเรียกตามข้อใด
ก.Operating System  ข. Basic Input Output System  ค. Microsoft Windows  ง. Linux Tle
8.PDA เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แบบใด  ก.desktop computer ข.handheld computer  ค. notebook computer ง. laptop computer
9.คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานพยากรณ์อากาศคือเครื่องระดับใด
ก.super computer ข.mainframe computer ค. mini computer ง.microcomputer
1.หน่วยรับเข้า (input unit) คือ หน่วยรับข้อมูล
เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ เช่น แป้นพิมพ์ เมาส์
เครื่องกราดภาพ joy stick เครื่องอ่านรหัสแท่ง
2.เมาส์เป็นอุปกรณ์ชี้ตำแหน่งบนจอภาพประกอบไปด้วย
จานหมุนลูกบอลตัวตรวจจับแสง แอลอีดีเปล่งแสง แกนหมุน
ออปติคัลวีลเมาส์ (optical wheel mouse) ทำงานคล้ายกล้อง
ถ่ายรูป
3.เครื่องกราดภาพ(scanner) หรือเครื่องกราดตรวจ เปลี่ยน
ภาพเป็นรหัสโปรแกรมกราฟิก
4.เครื่องอ่านรหัสแท่ง (barcode readers)ให้แทนข้อความ
หรือตัวเลขกำกับสินค้า
    หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู(CPU:central
processing unit) ติดตั้งในไมโครชิปหรือแผงวงจรหลัก
ทำหน้าที่ประมวลผลเรียกว่าไมโครโพรเซสเซอร์มี 2 หน่วย
คือหน่วยคำนวณและตรรกะ(Alu) และหน่วยควบคุม
(control unit)

      Jok PN

การสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ (DesignView)                           

ในการสร้างตารางอีกรูปแบบหนึ่งที่นิยม
คือการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบหรือดีไซน์วิว

(Design View) โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้

 

ขั้นตอนที่1 คลิกที่แท็บ สร้าง Create

ขั้นตอนที่2 เลือกปุ่มคำสั่ง Table
Design
(เป็นรูปไม้บรรทัดก35องศากับแผนภาพตาราง3*4)

ขั้นตอนที่3  กำหนดฟิลด์ข้อมูล
แล้วกดปุ่ม
Tab

ขั้นตอนที่4  เลือกชนิดข้อมูล

ขั้นตอนที่5  กำหนดอธิบายฟิลด์ ว่า รหัสสินค้า

ขั้นตอนที่6 กำหนดคุณสมบัติให้ครบคุณสมบัติของแต่ละ Field (Field Properties)Field Size ขนาดของ
ตามชนิดที่เลือกไว้
จนครบทุกฟิลด์ที่คุณต้องการ

ขั้นตอนที่7  คลิกปุ่ม Save จาก QAT เพื่อบันทึกตาราง

ขั้นตอนที่8  กำหนดชื่อตาราง

ขั้นตอนที่9 คลิกปุ่ม OK

 

การกำหนดคุณสมบัติของฟิลด์ข้อมูล (Field Properties)

 

มีรายละเอียดทีสำคัญดังต่อไปนี้

Format  รูปแบบของข้อมูลใน Field นั้น ๆ
Input Mask
  รูปแบบที่ใช้บังคับป้อนข้อมูล เช่น
กำหนดให้ป้อนได้เฉพาะตัวเลขได้ไม่เกิน
 
5ตัวเลข
Caption  ป้ายชื่อที่ติดแทนชื่อ 
Field ที่หัวคอลัมนืเมื่อแสดงข้อมูลแบบ Datasheet View
Default Value
 การกำหนดค่าเริ่มต้น
Validation Text  แสดงกรอบข้อความเมื่อข้อมูลที่ป้อนเข้าไปไม่เป็นไปตามเงื่อนไงที่กำหนดไว้ใน 
Validation
Rule
Required
 กำหนดว่าต้องป้อนข้อมูลหรือไม่
Allow Zero Length 
กำหนดว่าสามารถป้อนค่าว่าง
(
Null Value) ได้หรือไม่

    ประโยชน์ Primary Key
1. ป้องกันการป้อนข้อมูลที่ซ้ำกัน
2. ป้องกันการเว้นว่างในการป้อนข้อมูล
3. ช่วยในการจัดเรียงข้อมูล
4. เป็น Field ที่ใช้ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง Table 
สร้างคีย์ให้กับตาราง
 

คีย์หลัก (Primary Key) 

เป็นการกำหนดให้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่งจะต้องไม่มีข้อมูลซ้ำกัน
โดยมีขั้นตอนดังนี้

1.กำหนด Primary
Key 
โดยการคลิกที่
ฟิลด์
 productID
2.คลิกปุ่มคีย์หลัก (Primary Key) เพื่อกำหนดให้ฟิลด์ productID 
เป็นคีย์หลักสำหรับการอ้างอิงค่าต่างๆ
ในตาราง

3.จะพบสัญลักษณ์รูปกุญแจบริเวณหน้าฟิลด์ productID
การใส่วันที่โดยใช้ปฏิทิน
1.เลื่อนเมาส์ไปที่ฟิลด์
จะปรากฏไอคอนรูปปฏิทินขึ้นมา

2.คลิกที่ไอคอนปฏิทิน
3.เลือกวันที่ต้องการ

 

การสร้างรายงานด้วยตัวช่วยสร้าง
(Report
Wizard)

1.คลิกที่แท็บ สร้าง(Create)
2.คลิกไอคอนคำสั่ง ตัวช่วยสร้างรายงาน (Report Wizard)
3.คลิกเลือกตารางหรือคิวรีที่ต้องการ
4.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการ โดยคลิกที่ปุ่ม > เพื่อเลือกที่ละฟิลด์ หรือคลิกที่ปุ่ม >> เพื่อเลือกฟิลด์ทั้งหมด
5.คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)
6.คลิกปุ่ม ถัดไป
(
Next)
7. คลิกปุ่ม ถัดไป (Next
8. คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)
9. เลือกรูปแบบเค้าโครงและรูปแบบการวาง
คลิกปุ่ม ถัดไป
 (Next)
10. เลือกรูปแบบ คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)
11.ตั้งชื่อรายงาน rpt_product

มัธทาย  กอบสินค้า  ม.4/3 เลขที่ 8

รูปภาพของ pnckotchaya

http://www.thaigoodview.com/node/124735

น.ส กชญาณ์ เมฆสคราญ ม4/1 เขที่ 16 ค่ะ

รูปภาพของ pncjenjira

http://www.thaigoodview.com/node/124213

รูปภาพของ pncmaythawee

สร้างตารางใหม่ด้วยมุมมองออกแบบ (Design View)
1. คลิกเลือกแทบ สร้าง(
Create)
2.คลิกเลือกไอคอน ออกแบบตาราง (
Table Design)

3. พิมพ์ชื่อฟิลด์ productID
4. คลิกเลือกชนิดข้อมูลเป็น
Text
5. พิมพ์คำอธิบายฟิลด์ว่า รหัสสินค้า
6. สร้างฟิลด์อื่นๆ ให้ครบคุณสมบัติของแต่ละ
Field (Field Properties)Field Size ขนาดของ ตามชนิดที่เลือกไว้ใน Data Type
Formatรูปแบบของข้อมูลใน Field นั้น ๆ
Input Maskรูปแบบที่ใช้บังคับป้อนข้อมูล เช่น กำหนดให้ป้อนได้เฉพาะตัวเลขได้ไม่เกิน 5ตัวเลข
Captionป้ายชื่อที่ติดแทนชื่อ Field ที่หัวคอลัมนืเมื่อแสดงข้อมูลแบบ Datasheet View
Default Valueการกำหนดค่าเริ่มต้น
Validation Textแสดงกรอบข้อความเมื่อข้อมูลที่ป้อนเข้าไปไม่เป็นไปตามเงื่อนไงที่กำหนดไว้ใน Validation Rule
Requiredกำหนดว่าต้องป้อนข้อมูลหรือไม่
Allow Zero Lengthกำหนดว่าสามารถป้อนค่าว่าง (Null Value) ได้หรือไม่ประโยชน์ Primary Key
1. ป้องกันการป้อนข้อมูลที่ซ้ำกัน
2. ป้องกันการเว้นว่างในการป้อนข้อมูล
3. ช่วยในการจัดเรียงข้อมูล
4. เป็น
Field ที่ใช้ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง Table สร้างคีย์ให้กับตาราง
คีย์หลัก (
Primary Key) เป็นการกำหนดให้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่งจะต้องไม่มีข้อมูลซ้ำกัน โดยมีขั้นตอนดังนี้
1.กำหนด
Primary Key โดยการคลิกที่ ฟิลด์ productID
2.คลิกปุ่มคีย์หลัก (
Primary Key) เพื่อกำหนดให้ฟิลด์ productID เป็นคีย์หลักสำหรับการอ้างอิงค่าต่างๆ ในตาราง
3.จะพบสัญลักษณ์รูปกุญแจบริเวณหน้าฟิลด์
productID
การใส่วันที่โดยใช้ปฏิทิน
1.เลื่อนเมาส์ไปที่ฟิลด์ จะปรากฏไอคอนรูปปฏิทินขึ้นมา
2.คลิกที่ไอคอนปฏิทิน
3.เลือกวันที่ต้องการ

การใช้ฟังก์ชัน
1.คลิกไอคอนคำสั่ง (SUM) ที่แท็บ หน้าแรก (Home)
2.ปรากฏแถวรวมที่เรคคอร์ดสุดท้ายของแผ่นข้อมูล
3.คลิกเลือกคำสั่ง ผลรวม (
SUM )
เมื่อต้องการสร้างฟอร์มใหม่ใน Access 2007 ให้คลิกแท็บ สร้าง แล้วคลิก ฟอร์ม ง่ายๆ แค่นั้น Access จะสร้างฟอร์มใหม่ตามวัตถุฐานข้อมูลที่มีอยู่ซึ่งคุณเปิดไว้แล้ว หรือที่คุณเลือกไว้ในบานหน้าต่างนำทางฟอร์มใหม่จะเปิดขึ้นในมุมมองเค้าโครง และริบบิ้นจะเสนอ เครื่องมือเค้าโครงฟอร์ม พร้อมด้วยสองแท็บคือ การจัดรูปแบบ และ จัดเรียง (เครื่องมือเค้าโครงฟอร์ม จะปรากฏขึ้นบนริบบิ้นเฉพาะเมื่อสามารถใช้เครื่องมือดังกล่าวได้เท่านั้น) คำสั่งบนแท็บเหล่านั้นจะทำให้การเปลี่ยนแปลงลักษณะที่ปรากฏของตัวควบคุมและป้ายชื่อทำได้ง่าย เคล็ดลับอยู่ที่การรู้ว่าควรจะหยุดเมื่อใด สิ่งที่ดีที่สุดคือ คุณแสดงตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงขณะที่ทำการเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าคุณไม่ชอบการเปลี่ยนแปลงใด ให้เลิกทำการเปลี่ยนแปลงนั้น โดยกด CTRL+Z หรือกดปุ่มแถบเครื่องมือเข้าถึงด่วน     ประเภทของรายงาน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
1.รายงานแบบตาราง (
Tabular Report) เป็นรายงานที่มีการจัดเรียงข้อมูลเหมือนตาราง ซึ่งจะเรียงฟิลด์จากซ้ายไปขวาของรายงาน
โดยจะแสดงข้อมูลทุกเรคคอร์ดในหนึ่งหน้ารายงาน
2.รายงานแบบหลายคอลัมน์ (
Columnar Report) เป็นรายงานที่แสดงข้อมูลซึ่งจะจัดเรียงฟิลด์จากบนลงล่าง โดยจะแสดงข้อมูลทีละ 1 เรคคอร์ด
3.รายงานแบบป้ายชื่อ (
Label Report) เป็นรายงานแบบป้ายฉลากที่เรียกว่าเลเบล สำหรับติด หน้าซองต่างๆ เช่น ป้ายติดซองจดหมาย เลเบลต่างๆ ป้ายฉลากสินค้า เป็นต้น มุมมองของรายงาน
1.มุมมองรายงาน(
Report View) เป็นมุมมองที่ใช้สำหรับการแสดงผลในรูปแบบรายงานเท่านั้น ไม่สามารถแก้ไขรายงานได้
2.มุมมองแสดงตัวอย่างก่อนพิมพ์ (
Print Preview) เป็นมุมมองที่ใช้สำหรับแสดงตัวอย่างรายงานก่อนพิมพ์ โดยมีลักษณะเหมือนกับที่เห็นบนหน้าจอ
3.มุมมองเค้าโครง (
Layout View) มีลักษณะคล้ายกับมุมมองรายงาน ในการแสดงผลข้อมูลและคล้ายกับมุมมองออกแบบตรงที่สามารถจัดรูปแบบของรายงานได้
4.มุมมองออกแบบ (
Design View) เป็นมุมมองที่ใช้ในการออกแบบและปรับแต่งรูปแบบการแสดงผลของรายงานโดยสามารถเพิ่มตัวควบคุมต่างๆ เข้ามาในรายงานได้การสร้างรายงาน
ในการสร้างรายงานเพื่อใช้สรุปข้อมูลหรือแสดงผลจะมีลักษณะคล้ายกับฟอร์ม คือ สามารถกำหนดเงื่อนไขของข้อมูลเพื่อเลือกดูเฉพาะข้อมูลที่สนใจได้ แต่จะแตกต่างกันตรงที่ฟอร์มใช้แสดงผลข้อมูลที่หน้าจอและแก้ไขข้อมูลได้ ส่วนรายงานพิมพ์ได้แต่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้
1.การสร้างรายงานอย่างง่ายด้วยปุ่มคำสั่ง
Report
2.การสร้างรายงานเปล่า
3.การสร้างรายงานด้วยตัวช่วยสร้าง
4.การสร้างรายงานแบบเลเบล
5.การสร้างรายงานด้วยตัวเองในมุมมองออกแบบ การสร้างรายงานด้วยปุ่มคำสั่งรายงาน
Report
1.คลิกเลือกตารางหรือแบบสอบถามที่ต้องการสร้างรายงาน
2.ที่แท็บ สร้าง (
Create) คลิกไอคอนคำสั่งรายงาน (Report)3. จากนั้นจะแสดงหน้าจอรายงานขึ้นมาอัตโนมัติ
4. คลิกปุ่มบันทึก และตั้งชื่อให้กับรายงาน เช่น
rpt_product
5. คลิกปุ่มตกลง
คลิกที่แท็บ สร้าง(
Create) คลิกไอคอนคำสั่ง รายงานเปล่า (Bank Report)

1.คลิกเลือกตารางที่ต้องการแสดงโดยคลิกที่เครื่องหมาย + (บวก) ในหน้าต่างเขตข้อมูลในที่นี้เลือกตาราง tbl_product
2.จากนั้นเลือกฟิลด์ที่ต้องการแสดง
3.บันทึกรายงาน คลิกที่ไอคอน
4.ตั้งชื่อรายงาน rpt_product
5.คลิกปุ่ม OK
การสร้างรายงานด้วยตัวช่วยสร้าง (
Report Wizard)
1.คลิกที่แท็บ สร้าง(
Create)
2.คลิกไอคอนคำสั่ง ตัวช่วยสร้างรายงาน (
Report Wizard)
3.คลิกเลือกตารางหรือคิวรีที่ต้องการ
4.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการ โดยคลิกที่ปุ่ม
> เพื่อเลือกที่ละฟิลด์ หรือคลิกที่ปุ่ม >> เพื่อเลือกฟิลด์ทั้งหมด
5.คลิกปุ่ม ถัดไป (
Next)
6.คลิกปุ่ม ถัดไป (
Next)
7. คลิกปุ่ม ถัดไป (
Next
8. คลิกปุ่ม ถัดไป (
Next)
9. เลือกรูปแบบเค้าโครงและรูปแบบการวาง คลิกปุ่ม ถัดไป (
Next)
10. เลือกรูปแบบ คลิกปุ่ม ถัดไป (
Next)
11.ตั้งชื่อรายงาน
rpt_product
การสร้างรายงานแบบลาเบล (
Label Wizard)
เลือกตารางหรือคิวรีที่ต้องการสร้างเป็นลาเบล
1.คลิกที่แท็บ สร้าง (
Create)
2.คลิกไอคอนคำสั่ง ป้ายชื่อ (
label)
3.กำหนดขนาดและชนิดของเลเบล
4.กำหนดรูปแบบของข้อความที่จะแสดงในเลเบล
5.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการแสดง
6.เลือกรูปแบบการแสดง
7.ตั้งชื่อรายงาน8.คลิกปุ่ม เสร็จสิ้น Finish   น.ส.   เมธาวี   สุทธิ   เลขที่17  ม .4/1

รูปภาพของ pnctanyatornthongklam

การสร้างตารางด้วย
มุมมองการออกแบบ
(Design
View)

 

ในการสร้างตารางอีกรูปแบบหนึ่งที่นิยม
คือการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบหรือดีไซน์วิว

(Design View) โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้

 

ขั้นตอนที่1 คลิกที่แท็บ สร้าง Create

ขั้นตอนที่2 เลือกปุ่มคำสั่ง Table
Design
(เป็นรูปไม้บรรทัดก35องศากับแผนภาพตาราง3*4)

ขั้นตอนที่3  กำหนดฟิลด์ข้อมูล
แล้วกดปุ่ม
Tab

ขั้นตอนที่4  เลือกชนิดข้อมูล

ขั้นตอนที่5  กำหนดอธิบายฟิลด์ ว่า รหัสสินค้า

ขั้นตอนที่6 กำหนดคุณสมบัติให้ครบคุณสมบัติของแต่ละ Field (Field Properties)Field Size ขนาดของ
ตามชนิดที่เลือกไว้
จนครบทุกฟิลด์ที่คุณต้องการ

ขั้นตอนที่7  คลิกปุ่ม Save จาก QAT เพื่อบันทึกตาราง

ขั้นตอนที่8  กำหนดชื่อตาราง

ขั้นตอนที่9 คลิกปุ่ม OK

 

การกำหนดคุณสมบัติของฟิลด์ข้อมูล (Field Properties)

 

มีรายละเอียดทีสำคัญดังต่อไปนี้

Format  รูปแบบของข้อมูลใน Field นั้น ๆ
Input Mask  รูปแบบที่ใช้บังคับป้อนข้อมูล เช่น
กำหนดให้ป้อนได้เฉพาะตัวเลขได้ไม่เกิน
 5ตัวเลข
Caption  ป้ายชื่อที่ติดแทนชื่อ Field ที่หัวคอลัมนืเมื่อแสดงข้อมูลแบบ Datasheet View
Default Value  การกำหนดค่าเริ่มต้น
Validation Text  แสดงกรอบข้อความเมื่อข้อมูลที่ป้อนเข้าไปไม่เป็นไปตามเงื่อนไงที่กำหนดไว้ใน Validation
Rule
Required  กำหนดว่าต้องป้อนข้อมูลหรือไม่
Allow Zero Length  กำหนดว่าสามารถป้อนค่าว่าง
(
Null Value) ได้หรือไม่

 

 

 

ประโยชน์ Primary Key
1. ป้องกันการป้อนข้อมูลที่ซ้ำกัน
2. ป้องกันการเว้นว่างในการป้อนข้อมูล
3. ช่วยในการจัดเรียงข้อมูล
4. เป็น Field ที่ใช้ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง Table 
สร้างคีย์ให้กับตาราง

 

คีย์หลัก (Primary Key) 

เป็นการกำหนดให้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่งจะต้องไม่มีข้อมูลซ้ำกัน
โดยมีขั้นตอนดังนี้

1.กำหนด Primary
Key โดยการคลิกที่
ฟิลด์
 productID
2.คลิกปุ่มคีย์หลัก (Primary Key) เพื่อกำหนดให้ฟิลด์ productID เป็นคีย์หลักสำหรับการอ้างอิงค่าต่างๆ
ในตาราง

3.จะพบสัญลักษณ์รูปกุญแจบริเวณหน้าฟิลด์ productID
การใส่วันที่โดยใช้ปฏิทิน
1.เลื่อนเมาส์ไปที่ฟิลด์
จะปรากฏไอคอนรูปปฏิทินขึ้นมา

2.คลิกที่ไอคอนปฏิทิน
3.เลือกวันที่ต้องการ

 

การสร้างรายงานด้วยตัวช่วยสร้าง
(
Report
Wizard)

1.คลิกที่แท็บ สร้าง(Create)
2.คลิกไอคอนคำสั่ง ตัวช่วยสร้างรายงาน (Report Wizard)
3.คลิกเลือกตารางหรือคิวรีที่ต้องการ
4.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการ โดยคลิกที่ปุ่ม > เพื่อเลือกที่ละฟิลด์ หรือคลิกที่ปุ่ม >> เพื่อเลือกฟิลด์ทั้งหมด
5.คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)
6.คลิกปุ่ม ถัดไป
(
Next)
7. คลิกปุ่ม ถัดไป (Next
8. คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)
9. เลือกรูปแบบเค้าโครงและรูปแบบการวาง
คลิกปุ่ม ถัดไป
 (Next)
10. เลือกรูปแบบ คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)
11.ตั้งชื่อรายงาน rpt_product

 

 

นายธันยธร ทองกล่ำ ม.4/2 เลขที่1

 

สร้างตารางใหม่ด้วยมุมมองออกแบบ (Design View)
1. คลิกเลือกแทบ สร้าง(Create)
2.คลิกเลือกไอคอน ออกแบบตาราง (Table Design)

3. พิมพ์ชื่อฟิลด์ productID
4. คลิกเลือกชนิดข้อมูลเป็น Text
5. พิมพ์คำอธิบายฟิลด์ว่า รหัสสินค้า
6. สร้างฟิลด์อื่นๆ ให้ครบ
คุณสมบัติของแต่ละ Field (Field Properties)Field Size ขนาดของ ตามชนิดที่เลือกไว้ใน Data Type
Formatรูปแบบของข้อมูลใน Field นั้น ๆ
Input Maskรูปแบบที่ใช้บังคับป้อนข้อมูล เช่น กำหนดให้ป้อนได้เฉพาะตัวเลขได้ไม่เกิน 5ตัวเลข
Captionป้ายชื่อที่ติดแทนชื่อ Field ที่หัวคอลัมนืเมื่อแสดงข้อมูลแบบ Datasheet View
Default Valueการกำหนดค่าเริ่มต้น
Validation Textแสดงกรอบข้อความเมื่อข้อมูลที่ป้อนเข้าไปไม่เป็นไปตามเงื่อนไงที่กำหนดไว้ใน Validation Rule
Requiredกำหนดว่าต้องป้อนข้อมูลหรือไม่
Allow Zero Lengthกำหนดว่าสามารถป้อนค่าว่าง (Null Value) ได้หรือไม่
ประโยชน์ Primary Key
1. ป้องกันการป้อนข้อมูลที่ซ้ำกัน
2. ป้องกันการเว้นว่างในการป้อนข้อมูล
3. ช่วยในการจัดเรียงข้อมูล
4. เป็น Field ที่ใช้ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง Table
สร้างคีย์ให้กับตาราง
คีย์หลัก (Primary Key) เป็นการกำหนดให้ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่งจะต้องไม่มีข้อมูลซ้ำกัน โดยมีขั้นตอนดังนี้
1.กำหนด Primary Key โดยการคลิกที่ ฟิลด์ productID
2.คลิกปุ่มคีย์หลัก (Primary Key) เพื่อกำหนดให้ฟิลด์ productID เป็นคีย์หลักสำหรับการอ้างอิงค่าต่างๆ ในตาราง
3.จะพบสัญลักษณ์รูปกุญแจบริเวณหน้าฟิลด์ productID
การใส่วันที่โดยใช้ปฏิทิน
1.เลื่อนเมาส์ไปที่ฟิลด์ จะปรากฏไอคอนรูปปฏิทินขึ้นมา
2.คลิกที่ไอคอนปฏิทิน
3.เลือกวันที่ต้องการ

การใช้ฟังก์ชัน
1.คลิกไอคอนคำสั่ง (SUM) ที่แท็บ หน้าแรก (Home)
2.ปรากฏแถวรวมที่เรคคอร์ดสุดท้ายของแผ่นข้อมูล
3.คลิกเลือกคำสั่ง ผลรวม (SUM )


ตัวอย่าง
หาผลรวมของราคาสินค้า
กำหนดคุณสมบัติของ Validation rule และ Validation Text เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของฟิลด์
ตัวอย่างตารางร้าน Video กำหนดให้ค่าเช่าวีดีโอ 20 และ 30 เท่านั้น ถ้าไม่ใช่ให้ขึ้นข้อความเตือน
1.เลือกฟิลด์ค่าเช่า Rent
2.กำหนดค่า Validation rule : in(20,30)
3.กำหนดค่า Validation Text : ค่าเช่าต้องมีค่าเท่ากับ 20 หรือ 30 เท่านั้น
ตัวอย่าง ผลการตรวจสอบเมื่อป้อนข้อมูลไม่ถูกต้อง  สร้างฟอร์มในเวลาเพียงชั่วครู่ จัดรูปแบบฟอร์มตามเนื้อหาที่ต้องการ


เมื่อต้องการสร้างฟอร์มใหม่ใน Access 2007 ให้คลิกแท็บ สร้าง แล้วคลิก ฟอร์ม ง่ายๆ แค่นั้น Access จะสร้างฟอร์มใหม่ตามวัตถุฐานข้อมูลที่มีอยู่ซึ่งคุณเปิดไว้แล้ว หรือที่คุณเลือกไว้ในบานหน้าต่างนำทางฟอร์มใหม่จะเปิดขึ้นในมุมมองเค้าโครง และริบบิ้นจะเสนอ เครื่องมือเค้าโครงฟอร์ม พร้อมด้วยสองแท็บคือ การจัดรูปแบบ และ จัดเรียง (เครื่องมือเค้าโครงฟอร์ม จะปรากฏขึ้นบนริบบิ้นเฉพาะเมื่อสามารถใช้เครื่องมือดังกล่าวได้เท่านั้น) คำสั่งบนแท็บเหล่านั้นจะทำให้การเปลี่ยนแปลงลักษณะที่ปรากฏของตัวควบคุมและป้ายชื่อทำได้ง่าย เคล็ดลับอยู่ที่การรู้ว่าควรจะหยุดเมื่อใด สิ่งที่ดีที่สุดคือ คุณแสดงตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงขณะที่ทำการเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าคุณไม่ชอบการเปลี่ยนแปลงใด ให้เลิกทำการเปลี่ยนแปลงนั้น โดยกด CTRL+Z หรือกดปุ่มแถบเครื่องมือเข้าถึงด่วน     ประเภทของรายงาน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
1.รายงานแบบตาราง (Tabular Report) เป็นรายงานที่มีการจัดเรียงข้อมูลเหมือนตาราง ซึ่งจะเรียงฟิลด์จากซ้ายไปขวาของรายงาน
โดยจะแสดงข้อมูลทุกเรคคอร์ดในหนึ่งหน้ารายงาน
2.รายงานแบบหลายคอลัมน์ (Columnar Report) เป็นรายงานที่แสดงข้อมูลซึ่งจะจัดเรียงฟิลด์จากบนลงล่าง โดยจะแสดงข้อมูลทีละ 1 เรคคอร์ด
3.รายงานแบบป้ายชื่อ (Label Report) เป็นรายงานแบบป้ายฉลากที่เรียกว่าเลเบล สำหรับติด หน้าซองต่างๆ เช่น ป้ายติดซองจดหมาย เลเบลต่างๆ ป้ายฉลากสินค้า เป็นต้น
มุมมองของรายงาน
1.มุมมองรายงาน(Report View) เป็นมุมมองที่ใช้สำหรับการแสดงผลในรูปแบบรายงานเท่านั้น ไม่สามารถแก้ไขรายงานได้
2.มุมมองแสดงตัวอย่างก่อนพิมพ์ (Print Preview) เป็นมุมมองที่ใช้สำหรับแสดงตัวอย่างรายงานก่อนพิมพ์ โดยมีลักษณะเหมือนกับที่เห็นบนหน้าจอ
3.มุมมองเค้าโครง (Layout View) มีลักษณะคล้ายกับมุมมองรายงาน ในการแสดงผลข้อมูลและคล้ายกับมุมมองออกแบบตรงที่สามารถจัดรูปแบบของรายงานได้
4.มุมมองออกแบบ (Design View) เป็นมุมมองที่ใช้ในการออกแบบและปรับแต่งรูปแบบการแสดงผลของรายงานโดยสามารถเพิ่มตัวควบคุมต่างๆ เข้ามาในรายงานได้
การสร้างรายงาน
ในการสร้างรายงานเพื่อใช้สรุปข้อมูลหรือแสดงผลจะมีลักษณะคล้ายกับฟอร์ม คือ สามารถกำหนดเงื่อนไขของข้อมูลเพื่อเลือกดูเฉพาะข้อมูลที่สนใจได้ แต่จะแตกต่างกันตรงที่ฟอร์มใช้แสดงผลข้อมูลที่หน้าจอและแก้ไขข้อมูลได้ ส่วนรายงานพิมพ์ได้แต่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้
1.การสร้างรายงานอย่างง่ายด้วยปุ่มคำสั่ง Report
2.การสร้างรายงานเปล่า
3.การสร้างรายงานด้วยตัวช่วยสร้าง
4.การสร้างรายงานแบบเลเบล
5.การสร้างรายงานด้วยตัวเองในมุมมองออกแบบ
การสร้างรายงานด้วยปุ่มคำสั่งรายงาน Report
1.คลิกเลือกตารางหรือแบบสอบถามที่ต้องการสร้างรายงาน
2.ที่แท็บ สร้าง (Create) คลิกไอคอนคำสั่งรายงาน (Report)
3. จากนั้นจะแสดงหน้าจอรายงานขึ้นมาอัตโนมัติ
4. คลิกปุ่มบันทึก และตั้งชื่อให้กับรายงาน เช่น rpt_product
5. คลิกปุ่มตกลง
คลิกที่แท็บ สร้าง(Create) คลิกไอคอนคำสั่ง รายงานเปล่า (Bank Report)

1.คลิกเลือกตารางที่ต้องการแสดงโดยคลิกที่เครื่องหมาย + (บวก) ในหน้าต่างเขตข้อมูลในที่นี้เลือกตาราง tbl_product
2.จากนั้นเลือกฟิลด์ที่ต้องการแสดง


1.บันทึกรายงาน คลิกที่ไอคอน
2.ตั้งชื่อรายงาน rpt_product
3.คลิกปุ่ม OK
การสร้างรายงานด้วยตัวช่วยสร้าง (Report Wizard)
1.คลิกที่แท็บ สร้าง(Create)
2.คลิกไอคอนคำสั่ง ตัวช่วยสร้างรายงาน (Report Wizard)
3.คลิกเลือกตารางหรือคิวรีที่ต้องการ
4.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการ โดยคลิกที่ปุ่ม > เพื่อเลือกที่ละฟิลด์ หรือคลิกที่ปุ่ม >> เพื่อเลือกฟิลด์ทั้งหมด
5.คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)


6.คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)
7. คลิกปุ่ม ถัดไป (Next

8. คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)

9. เลือกรูปแบบเค้าโครงและรูปแบบการวาง คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)

10. เลือกรูปแบบ คลิกปุ่ม ถัดไป (Next)

11.ตั้งชื่อรายงาน rpt_product

ตัวอย่าง รายงานสินค้า

การสร้างรายงานแบบลาเบล (Label Wizard)
เลือกตารางหรือคิวรีที่ต้องการสร้างเป็นลาเบล
1.คลิกที่แท็บ สร้าง (Create)
2.คลิกไอคอนคำสั่ง ป้ายชื่อ (label)

1.กำหนดขนาดและชนิดของเลเบล
2.กำหนดรูปแบบของข้อความที่จะแสดงในเลเบล
3.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการแสดง
4.เลือกรูปแบบการแสดง
5.ตั้งชื่อรายงาน
6.คลิกปุ่ม เสร็จสิ้น Finish
 

รูปภาพของ pnc_sedtaruji

http://www.thaigoodview.com/node/122181
กีรติ เศรษฐรุจิ ม. 4/4 เลขที่ 40

รูปภาพของ pnc26amonrat402

ใบงานที่ 2

 

1.ฮาร์ดแวร์คืออะไร

 
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ
ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ
คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ
ตามลักษณะการทำงาน ได้
4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input
Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary
Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน 

1. ฮาร์ดแวร์สำคัญที่พบใน
Case ได้แก่ 
1.1 Power
Supply 
1.2
Mainboard และ ฮาร์ดแวร์ที่ติดตั้งหรือเป็นส่วนหนึ่งของ Mainboard
ที่สำคัญ ได้แก่ 
1.2.1 CPU 
1.2.2 RAM 
1.2.3 Expansion Slots 
1.2.4 Ports 
1.3 Hard
Disk 
1.4
Floppy Disk Drive 
1.5
CD-ROM Drive 
1.6
DVD-ROM Drive 
1.7 Sound
Card 
1.8 Network
Card 
2. ฮาร์ดแวร์สำคัญที่อยู่นอก
Case ที่สำคัญได้แก่ 
2.1
Keyboard 
2.2
Monitor 
2.3
Mouse 
2.4
Printer 
2.5
Scanner 
2.6
Digital Camera 
2.7
Modem 
2.8 UPS

 2. ซอฟต์แวร์
คือ มีกี่ ประเภท

 

ซอฟต์แวร์ (software)
หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์
คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง
การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง
ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้

 

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นซอฟต์แวร์
เพราะเป็นลำดับขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทำงานแตกต่างกันได้มากมายด้วยซอฟต์แวร์ที่แตกต่างกัน
ซอฟต์แวร์จึงหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้

การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ทำงานให้กับเราได้มากมาย
เพราะว่ามีผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาให้เราสั่งงานคอมพิวเตอร์
ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ทำบัญชีที่ยุ่งยากซับซ้อน
บริษัทขายตั๋วใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบการจองตั๋ว
คอมพิวเตอร์ช่วยในเรื่องกิจการงานธนาคารที่มีข้อมูลต่าง ๆ มากมาย คอมพิวเตอร์ช่วยงานพิมพ์เอกสารให้สวยงาม
เป็นต้น การที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการให้ประโยชน์ได้มากมายมหาศาลจะอยู่ที่ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสำคัญของระบบคอมพิวเตอร์
หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทำงานได้ ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่จำเป็น
และมีความสำคัญมาก และเป็นส่วนประกอบหนึ่งที่ทำให้ระบบสารสนเทศเป็นไปได้ตามที่ต้องการ

  Software มี 2
ประเภท ดังนี้


1. Software ระบบ (System Software) คือ
ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป
ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของ
Hardware
ทุกอย่าง และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน 

Software หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows,
Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น
ภาษา
Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เป็นต้น 

นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s
Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน

2. Software ประยุกต์ (Application Software)
คือ Software หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ
ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น
 

Software ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท
คือ

2.1 Software สำหรับงานเฉพาะด้าน 
คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่าง บางที่เรียกว่า User’s
Program เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ
โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไขหรือแบบฟอร์ม
แตกต่างกันออกไปตามความต้องการหรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้
ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (
Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้
เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และ
Software ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา

2.2 Software สำหรับงานทั่วไป 
เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ
ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้
แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง
ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้
ยังไม่ต้องใช้เวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้
มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานที่ขาดบุคลากร
ที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้นการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวก
และเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
 

โปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe
Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น 

ในการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องมี Software ทั้ง 2 ประเภทเพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
โดย
Software ระบบทำหน้าที่ควบคุมส่วนของ Hardware ให้ทำงานอย่างอัตโนมัติ ส่วนของ Software ประยุกต์นั้นจะทำหน้าที่ควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
ตามที่ผู้ใช้ต้องการเพื่อประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ

ที่มา:

http://bala.yru.ac.th/~404709030/work.htm

 

3.บุคลากร คือ มีกี่ ประเภท

      

 

หมายถึง
บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน
สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้
4 ระดับ ดังนี้

1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) 

คือ
ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน

2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) 

คือ
ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม
ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน
เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน

3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) 

คือ
ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้

4. ผู้ใช้ (User) 

คือ
ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง
และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ

เนื่องจากเป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์
มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือ
เนื่องจากคำสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกำหนดของมนุษย์ (
Peopleware) ทั้งสิ้น

 

4. spss คือ

      SPSS เดิมชื่อว่า "Statistical Package for the Social Sciences" (ชุดโปรแกรมสถิติเพื่อสังคมศาสตร์) ออกเผยแพร่ครั้งแรกในปี 2511 หลังจากถูกพัฒนาโดย Norman H. Nie และ C. Hadlai Hull Norman Nie ในขณะนั้นเป็นนักศึกษารัฐศาสตร์ภาคบัณฑิตที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์วิจัยที่ภาควิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และศาสตราจารย์เกียรติคุณสาขารัฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก[2] SPSS เป็นหนึ่งในโปรแกรมที่นิยมใช้แพร่หลายมากที่สุดสำหรับการวิเคราะห์ทางสถิติในสังคมศาสตร์ มันถูกใช้โดยนักวิจัยตลาด นักวิจัยสุขภาพ บริษัทสำรวจความคิดเห็น รัฐบาล นักวิจัยการศึกษา บริษัทการตลาด ฯลฯ คู่มือการใช้งาน SPSS ฉบับแรก (Nie, Bent & Hull, 1970) ถูกอธิบายว่าเป็นหนึ่งใน "หนังสือที่ทรงอิทธิพลที่สุดในสาขาสังคมวิทยา"[3] นอกเหนือไปจากการวิเคราะห์ทางสถิติแล้ว การจัดการข้อมูล (การเลือกกรณีศึกษา, การแปลงแฟ้ม, การสร้างข้อมูลสืบทอด) และการทำเอกสารข้อมูล (พจนานุกรมเมตาดาตาจะถูกเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล) ก็เป็นความสามารถของซอฟต์แวร์รุ่นพื้นฐาน           

 

5. รหัสแอสกี คือ

  aรหัสแอสกี
(
ASCII) เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่
เป็นคำย่อมาจาก
American Standard Code Information Interchange เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่ 

6. รหัสเอบซีดิก

 

เอบซีดิก หรือ รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย [1] (อังกฤษEBCDIC: Extended Binary Coded Decimal Interchange Code) เป็นรหัสอักขระ 8 บิตที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบปฏิบัติการขนาดใหญ่ โดยเป็นรหัสสำหรับไฟล์ข้อความที่ใช้กับระบบปฏิบัติการ IBM OS-390 สำหรับเครื่องแม่ข่าย S/390 และบริษัทจำนวนมากใช้กับโปรแกรมประยุกต์ legacy application และฐานข้อมูล ในไฟล์เอบซีดิก ตัวอักษรพยัญชนะและตัวเลขได้รับการนำเสนอเป็นเลขฐานสอง 8 บิต (8 ตัวอักษรของ 0 และ 1) ทำให้สามารถสร้างรหัสได้ 256 รหัส (2 ยกกำลัง 8) ได้แก่ ตัวพยัญชนะ ตัวเลข และเครื่องหมายพิเศษ แต่ในปัจจุบันนิยมใช้รหัสแอสกี (ASCII) มากกว่า

7. รหัสยูนิโค้ด  คือ

 

ยูนิโคด (อังกฤษUnicode) คือมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์แสดงผลและจัดการข้อความตัวอักษรที่ใช้ในระบบการเขียนของภาษาส่วนใหญ่ในโลกได้อย่างสอดคล้องกัน ยูนิโคดประกอบด้วยรายการอักขระที่แสดงผลได้มากกว่า 100,000 ตัว พัฒนาต่อยอดมาจากมาตรฐานชุดอักขระสากล (Universal Character Set: UCS) และมีการตีพิมพ์ลงในหนังสือ The Unicode Standard เป็นแผนผังรหัสเพื่อใช้เป็นรายการอ้างอิง นอกจากนั้นยังมีการอธิบายวิธีการที่ใช้เข้ารหัสและการนำเสนอมาตรฐานของการเข้ารหัสอักขระอีกจำนวนหนึ่ง การเรียงลำดับอักษร กฎเกณฑ์ของการรวมและการแยกอักขระ รวมไปถึงลำดับการแสดงผลของอักขระสองทิศทาง

8. อุุปกรณ์ส่งออก (Output Device) คือ

หมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบ

9. ระบบเลขฐานสอง อธิบาย

 

เลขฐานสอง (อังกฤษ: binary numeral system) หมายถึง ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น

10.  ระบบเลขฐานแปด 

เป็นระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด มีตัวเลขอยู่ 8 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ซึ่งสามารถเปรียบเทียบค่าเลขฐานได้

11 ระบบเลขฐานสิบหก

(hexadecimal)นี้จะเป็นที่นิยมใช้ในการเข้ารหัส (encode)คำสั่งควบคุมเครื่อง (control code ) ที่อยู่ในระบบเลขฐานสอง ( binary ) ที่มีจำนวนคำสั่งยาวมากๆ ยกตัวอย่างได้เช่นตามคำอธิบายข้างต้น ถ้า 11111 เป็นคำสั่งควบคุมเครื่องในรูปเลขฐานสอง(binary)คือ 11111 ผู้ควบคุมเครื่องอาจจะเข้ารหัส ( encode)คำสั่งควบคุมเครื่องไว้ในรหัสบาร์โค้ด(barcode)ในรูป 1F ถ้าใช้รหัสเลขฐานสิบหก (hexadecimal)ซึ่งบาร์โค้ด(barcode)นั้นเวลาพิมพ์ที่จะใช้ให้เครื่องอ่านคำสั่งควบคุมเครื่อง จะใช้ความยาวของบาร์โค้ด(barcode) 2 ตัว เช่นการใช้ระบบเลขฐานสิบหก (hexadecimal)นี้ในการเข้ารหัส (encode)คำสั่งควบคุมเครื่อง (control code )สำหรับเครื่องจักรอัตโนมัติความเร็วสูง ( high speed Finishing system) เป็นต้น

 
ที่ มา มี หลายที่ อาจาร
 
 
 นาย อมรรัตน์
สูงเนิน เลขที่ 26 ม.4/2

 

 


 

 

 

 

รูปภาพของ pnc_sedtaruji

http://www.thaigoodview.com/node/114622
กีรติ เศรษฐรุจิ ม.4/4 เลที่ 42

รูปภาพของ pnc_sedtaruji

http://www.thaigoodview.com/node/114460
กีรติ
เศรษฐรุจิ ม.4/4 เลขที่ 42 

รูปภาพของ pnc_sedtaruji

http://www.thaigoodview.com/node/114459

กีรติ เศรษฐรุจิ ม.4/4 เลขที่ 42 

รูปภาพของ pnc_sedtaruji

http://www.thaigoodview.com/node/114458

มาช้าดีกว่าไม่มา กีรติ เศรษฐรุจิ  ม.4/4 เลขที่ 42

รูปภาพของ pncpiyaporn piensuk

ส่งงานค่ะ

http://www.thaigoodview.com/node/114116

ตรวจด้วยนะคะ

น.ส.ปิยะภรณ์  เปลี่ยนสุข   ม.4/2  เลขที่  32

รูปภาพของ pncpeerapongdeeluan

http://www.thaigoodview.com/node/113994

นาย พีรพงษ์ ดีล้วน ม.4/2 เลขที่ 2

รูปภาพของ pncnamtip

http://namtip-402.thde.com/manager_user.php

น.ส น้ำทิพย์ อาระยากุล ม.4/2 เลขที่ 12

รูปภาพของ pncnamtip

http://www.thaigoodview.com/node/107506

น.ส น้ำทิพย์ อาระยากุล ม.4/2 เลขที่ 12

รูปภาพของ pncJirarat

ส่งงานคอม พื้นฐาน คะ

www.jirarat-401-2554.ob.tc

นางสาว จิรารัตน์ ลีลา ม.4/1เลขที่ 14

รูปภาพของ pncpeerapongdeeluan

http://www.thaigoodview.com/node/107533

พีรพงษ์  ดีล้วน  ม.4/2 เลขที่2

รูปภาพของ pncketkanok

http://www.thaigoodview.com/node/107527#comment-118867

         เกตกนก  ศาสตร์ไขแสง  ม. 4/2   เลขที่  11

 

รูปภาพของ pncchadaporn

 

รูปภาพของ pncchadaporn

http://www.thaigoodview.com/node/107518?page=0%2C4

น.ส. ชฎาพร แจนอาษา ม.4/2 เลขที่ 35 

ตรวจด้วยนะค่ะอาจารย์  แต่มันยังเสร็จไม่หมดนะค่ะ

รูปภาพของ pncchadaporn

http://www.thaigoodview.com/node/107518?page=0%2C4

น.ส. ชฎาพร แจนอาษา ม.4/2 เลขที่ 35 

ตรวจด้วยนะค่ะอาจารย์  แต่มันยังเสร็จไม่หมดนะค่ะ

รูปภาพของ pncpongpon

หน่วยที่ 3 ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

aaaaaการติดต่อสื่อสารข้อมูลสมัยใหม่นี้ มีรากฐานมาจากความพยายามในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยระบบสื่อสารที่มีอยู่แล้ว เช่น โทรศัพท์ ดังนั้นการสื่อสารข้อมูลจึงอยู่ในขอบเขตที่จำกัด ต่อมาเมื่อมีการใช้คอมพิวเตอร์มากขึ้น ความต้องการในการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์หลายเครื่องในเวลาเดียวกัน ที่เรียกว่า ระบบเครื่อข่าย (Network) ได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้นเป็นลำดับ
aaaaaในตอนเริ่มต้นของยุคสื่อสาร เมื่อประมาณ พ.ศ. 2513-2515 ความต้องการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกันมีมากขึ้น แต่คอมพิวเตอร์ยังมีราคาสูงมาก เมื่อเทียบกับอุปกรณ์สื่อสารที่มีอยู่แล้วบางอย่าง การสื่อสารด้วยระบบเครือข่ายในระยะนั้นจึงเน้นการใช้คอมพิวเตอร์ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์เป็นผู้ให้บริการแก่ผู้ใช้ปลายทางหลายคน เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายของระบบ
aaaaaต่อมาเมื่อถึงยุคสมัยของไมโครคอมพิวเตอร์ พบว่าขีดความสามารถในด้านความเร็วของการทำงานของเมนเฟรม มีความเร็วมากกว่า 10 เท่า เมื่อเทียบกับไมโครคอมพิวเตอร์ตัวที่ดีที่สุด แต่ราคาของเมนเฟรมแพงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์หลายพันเท่า การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์จึงแพร่หลายและกระจายออกไป การสื่อสารจึงกลายเป็นระบบเครือข่ายแบบกระจาย กล่าวคือ แทนที่จะออกแบบให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทางต่อกับเมนเฟรม ก็เปลี่ยนเป็นระบบเครือข่ายที่ใช้คอมพิวเตอร์ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์แทน
aaaaaลักษณะของเครือข่ายจึงเริ่มจากจุดเล็ก ๆ อาจจะอยู่บนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์เดียวกัน ขยายตัวใหญ่ขึ้นเป็นระบบที่ทำงานร่วมกันในห้องทำงาน ในตึก ระหว่างตึก ระหว่างสถาบัน ระหว่างเมือง ระหว่างประเทศ การจัดแบ่งรูปแบบของเครือข่ายคอม

ที่มาhttp://www.tanti.ac.th/Com-tranning/IT/technof7.htm

รูปภาพของ pncpongpon

หน่วยที่ 1 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ    

มี 5 องค์ประกอบ  ได้แก่  ฮาร์ดแวร์   ซอฟต์แวร์   ข้อมูล บุคลากร  และขั้นตอนการปฏิบัติงาน

       ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง

       ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นชุดคำสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงาน

       ข้อมูล เป็นส่วนที่จะนำไปจัดเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์

       บุคลากรเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานคอมพิวเตอร์

       ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เป็นสิ่งที่จะต้องเข้าใจเพื่อให้ทำงานได้ถูกต้องเป็นระบบ 

ที่มาhttp://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/napaporn_pr/com/sec03p01.html

รูปภาพของ pncpongpon

หน่วยที่ 4 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

  1. คอมพิวเตอรปจจุบันแบงออกไดเปน 5 ประเภท ไดแก ซูเปอรคอมพิวเตอร (super computer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร (mainframe computer) มินิคอมพิวเตอร (minicomputer) ไมโครคอมพิวเตอร (microcomputer) คอมพิวเตอรขนาดเล็ก (handheld computer)
  2. 1. ซูเปอรคอมพิวเตอร (super computer) มีความเร็วในการประมวลผลสูงสุด มีราคาแพงมาก ขนาดใหญ สามารถคํานวณทางคณิตศาสตรไดหลายแสนลานครั้งตอวินาที ใชแกปญหาทางวิทยาศาสตรและทางวิศวกรรมศาสตรไดอยาง รวดเร็ว การพยากรณอากาศลวงหนาเปนระยะเวลาหลายวัน การวิเคราะหภาพถายจากดาวเทียม งานจําลองที่ซับซอนมากๆ
  3. 1. ซูเปอรคอมพิวเตอร (super computer)
  4. 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร (mainframe computer) มีสมรรถนะการทํางานสูง แตไมเนนความเร็วในการคํานวณ มีความเร็วสูง ใหบริการผูใชจํานวนหลายรอยคนพรอมๆ กัน นิยมใชในองคกรใหญๆ เชน ธนาคาร ธุรกิจสายการบิน
  5. 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร (mainframe computer)
  6. 3. มินคอมพิวเตอร (minicomputer) ิ เหมาะสําหรับใชงานในองคกรขนาดกลางที่ใหบริการขอมูลแกเครื่องลูก ขาย เชน โรงแรม โรงพยาบาล
  7. 4. ไมโครคอมพิวเตอร (microcomputer) ไดรับความนิยมมากที่สุด มีประสิทธิภาพสูงและราคาไมแพง เหมาะสําหรับใชสวนตัวที่บาน โรงเรียน และสํานักงาน
  8. 5. คอมพิวเตอรขนาดเล็ก (handheld computer) สามารถจัดการกับขอมูลประจําวันได สรางปฏิทิน บันทึกเตือนความจํา เลนเกม ชมภาพยนตร ฟงเพลง และ รับ-สงจดหมายอิเล็กทรกนิกสได ปจจุบัน เชน ปาลมท็อป พีดีเอ ไอโฟน แบล็คเบอรรี
  9. หมายถึง อุปกรณตางๆ ที่สามารถตอเขากับอุปกรณของหนวย ประมวลผลกลางและประกอบเขากับระบบคอมพิวเตอรเพื่อการ ใชงาน
  10. แผงแปนอักขระ (keyboard) เปนอุปกรณที่รับขอมูลจากการ กดแปนแลวทําการเปลี่ยนรหัสเพื่อสงตอไปใหคอมพิวเตอร ประมวลผล แปนพิมพโดยทั่วไปมี 50 แปนขึ้นไป แบงเปนแปน อักขระและแปนตัวเลขเพื่อความสะดวกในการปอนขอมูล ปจจุบันมีแผงเปนอักขระหลายชนิดใหเลือกใช
  11. เมาส (mouse) เปนอุปกรณประเภทตัวชี้ที่รับขอมูลจากการกด ปุมบนตัวเมาส ทําหนาที่คลิกปุมคําสั่ง (icon) และเลือกรายการ  หรือคําสั่ง ทั้งในรูปแบบคลิก หรือดับเบิลคลิก และ แดรก เมาสแบงเปนประเภทใหญๆ ได 2 ประเภท ไดแก 2.1 เมาสทางกล 2.2 เมาสแบบใชแสง
  12. อุปกรณชีตําแหนงสําหรับเครืองคอมพิวเตอรโนตบุค เปน ้ ่ อุปกรณรับเขาที่ออกแบบใหสามารถติดอยูกับตัวเครื่อง คอมพิวเตอรโนตบุคไดเลย สะดวกในการพกพา ซึ่งมีอยูดวยกัน 3 ประเภท ดังนี้ ลูกกลมควบคุม (track ball) แทงชี้ควบคุม (track point) แผนรองสัมผัส (touch pad)
  13. กานควบคุม (joystick) มีลักษณะเปนกานที่โผลออกมาจาก กลอง ผูใชสามารถใชอุปกรณนี้ควบคุมการเคลื่อนที่ของตัวชี้บน  จอภาพโดยการบิดขึ้นหรือลง ซายหรือขวา และนิยมใชในการ เลนเกม
  14. จอสัมผัส (touch screen) เปนอุปกรณรับเขาที่รับขอมูล จากการสัมผัสบนจอภาพ เมือมีการเลือก ตําแหนงที่ถูกเลือกจะถูกแปลงเปนสัญญาณไฟฟา ่ สงไปยังซอฟตแวรที่แปลคําสั่งใหคอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรที่ใชกับจอสัมผัสจะเปนซอฟตแวรที่เขียนขึ้นโดยเฉพาะ ปจจุบันจะพบจอสัมผัสไดในโทรศัพทเคลื่อนที่ เกม ใน หางสรรพสินคา เปนตน
  15. อุปกรณรับเขาแบบกราดตรวจ ทีนยมใชมีอยู 3 ประเภท ่ ิ เครื่องอานรหัสแทง เครื่องกราดตรวจหรือสแกนเนอร กลองดิจิทัล
  16. เว็บแคม (web cam ยอมาจาก Web Camera) เปน อุปกรณรับเขาประเภทกลองวีดีโอที่สามารถบันทึกและ ถายทอดภาพนิ่ง หรือภาพเคลื่อนไหวผานระบบเครือขาย เว็บไซต หรือโปรแกรม แลวสงตอไปปรากฏในจอภาพ
  17. จอภาพ (monitor) มี 2 ชนิด ไดแก จอภาพแบบซีอารที (Cathode Ray Tube : CRT) จอภาพแบบแอลซีดี (Liquid Crystal Display : LCD)
  18. ลําโพง (speaker) เปนอุปกรณสงออกที่แสดงผลเปนขอมูลเสียง โดยตองใชงานคูกับการดเสียง (sound card) ซึ่งเปนอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสที่ติดตั้งอยูบนแผงวงจรหลักในเครื่องคอมพิวเตอร ทําหนาที่แปลงสัญญาณดิจิทัลใหเปนอะนาลอก แลวสงไปยัง ลําโพง
  19. หูฟง (headphone) เปนอุปกรณที่สงออกที่ใชสําหรับฟงเพลง และฟงเสียงจากคอมพิวเตอร โดยทําหนาที่เปลี่ยน สัญญาณไฟฟาใหเปนสัญญาณเสียงใหเราไดยิน หูฟงที่ใชกับ เครื่องคอมพิวเตอรมีทั้งชนิดที่มีสายและไรสาย และบางรุนจะมี ไมโครโฟนติดตั้งไดแลว เพื่อใชในการสนทนาผานเครือขาย อินเตอรเน็ต
  20. เครืองพิมพ (printer) เปนอุปกรณสงออกที่แสดงผลงาน ่ พิมพลงบนกระดาษ เครื่องพิมพที่ใชอยูในปจจุบันมีดังนี้ เครืองพิมพแบบจุด (dot matrix printer) ่ เครืองพิมพเลเซอร (laser printer) ่ เครืองพิมพแบบฉีดหมึก (inkjet printer) ่
  21. พล็อตเตอร (plotter) เปนเครื่องพิมพขนาดใหญที่ให ความเที่ยงตรง มีความละเอียดและสัดสวนที่ถูกตองสูง สามารถพิมพลงบนกระดาษที่มีขนาดใหญได
  22. สวนใดของคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่คลายสมองของมนุษย อุปกรณใดที่ทําหนาที่เปนทั้งอุปกรณรับเขาและอุปกรณสงออก เมนบอรดมีความสําคัญตอการทํางานของคอมพิวเตอรอยางไร สิ่งใดมีความสําคัญในการรับสงขอมูลไปยังหนวยตางๆ ของคอมพิวเตอร นักเรียนจะนําความรูเกี่ยวกับบัสไปใชประโยชนในเรื่องใดบาง  กิจการโรงแรมควรเลือกใชคอมพิวเตอรประเภทใด ถานักเรียนจะเลือกซื้อคอมพิวเตอรมาใชงานที่บาน จะเลือกซื้อ คอมพิวเตอรประเภทใด เพราะอะไร ฮารดดิสกและซีพียูมีคุณลักษณะสําคัญอยางไร อุปกรณตอพวงแตกตางจากอุปกรณในหนวยประมวลผลกลางอยางไร อุปกรณตอพวงที่จําเปนมีอะไรบาง

ที่มาhttp://www.slideshare.net/jokesparrow/ss-4345080

รูปภาพของ pncpaweena

ใบงานที่ 6

1.ภาพที่นิยมใช้ในระบบอินเทอร์เน็ต คือภาพตามข้อใด

ก. jpg     ข.tiff    ค.gif    ง.dmp

ตอบ

2.โปรแกรมที่นิยมใช้ในสำนักพิมพืคือ โปรแกรมข้อใด

ก. Microsoft Word         ข. Micosoft  Pudlisher       ค. Micosoft Access        ง. PageMaker

ตอบ

3.ระบบปฏิบัติการที่ติดต่อกับผู้ใช้ด้วยภาพเล็กๆ

ก.

 ตอบ

4.กรณีที่มีผู้ใส่รหัสผ่านไว้ในซีมอส แล้วจำไม้ไสมารถแก้ปัญหาด้วยวิธีใด

ก. Sestart ระบบใหม่         ข. ย้ายตัวข้างในแผงหลัก

ค. ถอดแบตเตอร์               ง.ใช้ได้ทั้งข้อ ข และ ค

ตอบ

5.การทำงานแบบมัลติดปรเวสซิ่ง  มีความหมายตามข้อใด

ก.ทำงารหลายงานพร้อมกันด้วยซีพิฃียูเพียงตัวเดียว

ข.ใช้หลายซีพียูช่วยกันประมวนผลงานเดียวกันได้อย่างรวดเร็ว

ค.ใช้หลายซีพียูประมวลผลงานหลายงานให้เสร็จในเวลาอันรวดเร็ว

รูปภาพของ pncsudawan

ใบงานที่6   ข้อ1 ภาพที่นิยมใช้ในอินเตอร์เน็ตตามข้อใด ก.jpg   ข. tiff   ค. gif   ง. bmp ข้อ2โปรแกรมที่นิยมใช้ในสำนักพิมพ์คือโปรแกรมข้อใด ก.Microsoft  Word     ข. Microsoft  Publisher ค. Microsoft  Access  ง.PageMaker ข้อ3ระบบปฏิบัติการที่ติดต่อกับผู้ใช้ด้วยภาพเล็กๆแทนคำสั่งมีชื่อเรียกว่าอะไร ก.Windows    ข. GUI  ค. OOP   ง. DOS ข้อ4กรณีที่ผู้ใช้รหัสผ่านไว้ในซีมอสแล้วจำไม่ได้สามารถแก้ปัญหาด้วยวิธีใด ก. Restart  ระบบใหม่    ข.ย้ายตัวข้ามไปแผงหลัก ค. ถอดแบตเตอรี่           ง.ฬช้ได้ทั้งข้อ ข และ ค ข้อ5การทำงานแบบมัลติโปรเซสซิ่ง  มีความหมายตามข้อใด ก.ทำงานหลายงานพร้อมกันด้วยซีพียูตัวเดียว ข.ใช้หลายซีพียูช่วยกันประมวลผลงานเดียวกันได้อย่างรวดเร็ว ค.ใช้หลายซีพียูช่วยกันประมวลผลงานเดียวกันได้อย่างรวดเร็ว ค.ใช้หลายซีพียูประมวลผลงานหลายงานให้เสร็จในเวลาอันรวดเร็ว ง.ใช้หน่วยความจำจำนวนมากช่วยเก็บงานส่งให้ซีพียู ข้อ6ระบบปฏิบัติการแรกที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์คือข้อใด ก. Dos  ข.Windows 95  ค.Linux   ง.MAC  OSX ข้อ7ทำไมจึงต้องรู้วิธีติดตั้งโปรแกรมระบบปฏิบัติการแบบวินโดวส์เมื่อในเครื่องก็มีโปรแกรมนี้อยู่แล้ว ก.เพราะสามารถช่วยแก้ปัญหาให้เพื่อนได้ ข.เพราะโปรแกรมวินโดวส์รุ่นเก่าหมดอายูใช้งานไม่ได้อีกต่อไป ค.เพราะบริษัทไมโครซอฟต์มีการปรับปรุงรุ่นของวินโดวส์ใหม่จึงต้องเปลี่ยนให้ทันสมัย ง.เพราะมีโปรแกรมวินโดวส์ในเครื่องอาจเสียหายเนื่องจากการติดตั้งไวรัสที่แก้ไขไม่ได้ ข้อ8โปรแกรมแรกที่คอมพิวเตอร์อ่านจากหน่วยความจำที่เรียกตามข้อใด ก.Operating                         ข.Basic  Input Output ค.Microsoft  Windows            ง.Liux  tle      

รูปภาพของ pncsudawan

ใบงานที่ 5

 

 

1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึง
เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุดโดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์ที่ต้องการการประมวลผลซับซ้อนและต้องการความเร็วสูง
http://www.sriayudhya.in.th/~der/elerning2553/knowledge/21101/typecom.pdf

2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากด้วยโปรแกรมหลายชุดเพื่อให้สามารถบริการผู้ใช้หลายคนได้พร้อมกัน
http://www.thaigoodview.com/node/10190

3. มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแบบมัลติโปรแกรมมิ่งที่จัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรแกรมพร้อม
ๆ กันได้ http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm#mini_com

4. . ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่นิยมใช้ทั่วไปในปัจจุบันบางครั้งเรียกว่า
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal coputer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถเคลื่อนย้ายไปไหนได้โดยง่าย http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm

5.ง่าย5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง ไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดพอที่จะวางอยู่บนโต๊ะทำงานได้สบาย
ๆ ในปัจจุบัน เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงทุกที โดยปกติ เราจะถือว่า
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะนั้นมีขนาดใหญ่กว่าขนาดกระเป๋าหิ้ว
ซึ่งก็ยังใหญ่กว่าขนาดวางตัก และขนาดโน้ตบุ๊ค

6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ค หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ที่พกพาได้สะดวก สามารถใช้พลังงานจากแบตเตอรี
และจากปลั๊กไฟโดยตรงก็ได้

7.คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์สำหรับทำงานเฉพาะอย่าง เช่นเป็นพจนานุกรม เป็นสมุดจนบันทึกประจำวัน บันทึกการนัดหมายและการเก็บข้อมูล

ใบงานที่ 4

 

1.แผ่น CD จุข้อมูลได้จุข้อมูล
70 ได้เมกะไบต์ 

 

2. ดีวีดี จุข้อมูลได้ 85 กิกะไบต์

 

3.คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่น ความถี่ประมาณ 2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ 100
เมตร

 

4. Lan คือ
เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้ ๆ กัน
เครือข่าย LAN ออกแบบมาเพื่อให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน
ในส่วนต่างๆขององค์กรในบริเวณที่ไม่ไกลกันมาก เช่นอยู่ในอาคารเดียวกัน
ระหว่างชั้นอาคาร สามารถดูแลได้เองโดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น
การเชื่อมโยงเครือข่าย

 

5.ฮับ (Hub) ทำหน้าที่
เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ
เข้าด้วยกัน 

ใบงานที่ 3

1. 
คอมพิวเตอร์
คือ คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคำนวณ พจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า
"เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ 
ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์" คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์
ในด้านการคิดคำนวณและสามารถจำข้อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไป
นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง
โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านต่างๆ อีกมาก
อาทิเช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ
ได้ 

2. 
หน่วยรับเข้า
คือ เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล
อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท ดังนี้ 
เช่น แผงแป้นอักขระ (keyboard) หรือที่รู้จักกันว่า “แป้นพิมพ์ เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญ มีลักษณะการทำงานเหมือนกับแป้นพิมพ์ เมาส์ (mouse) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญรองจากแผงแป้นอักขระ
(keyboard) ลักษณะการทำงานจะช่วยในการบ่งชี้ตำแหน่งว่ากำลังอยู่
ณ จุดใดบนจอภาพ โดยจะมีลูกศรปรากฏอยู่บนจอภาพ เรียกว่า ตัวชี้ตำแหน่ง (Pointer)
ซึ่งอาศัยการเลื่อนเมาส์ แทนการกดปุ่มบังคับทิศ แบบทางกล ใช้ลูกกลิ้งกลม
ที่มีน้ำหนักและแรงเสียดทานพอดี เมื่อมีการเลื่อนเมาส์ลูกกลิ้งจะเคลื่อนไปมาทำให้กลไก
ซึ่งทำหน้าที่ปรับแกนหมุนในแกน X และแกน Y ส่งผลไปเลื่อนตำแหน่ง ตัวชี้ตำแหน่งบนจอภาพ เมาส์แบบใช้แสง อาศัยหลักการส่งแสงจากเมาส์
ลงไปบนแผ่นรองเมาส์ (mouse pad)

3. 
หน่วยประมวลผลกลาง คือ หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า ซีพียู (CPU)

เป็นวงจรอิเลคทรอนิคที่ทำงาน
หรือประมวลผล ตามชุดของคำสั่งเครื่องจากซอฟต์แวร์ คำนี้เริ่มใช้ในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ต้นศตวรรษ
1960s หน่วยประมวลผลเปรียบเสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ในการทำหน้าที่ตัดสินใจหรือคำนวณ
จากคำสั่งที่ได้รับมา เช่น
การเปรียบเทียบ การกระทำการทางคณิตศาสตร์ ฯลฯ

โดยมีกระบวนการพื้นฐานคือ

1. อ่านชุดคำสั่ง
(fetch)Fetch - การอ่านชุดคำสั่งขึ้นมา 1 คำสั่งจากโปรแกรม ในรูปของระหัสเลขฐานสอง (Binary Code from on-off
of BIT)

2. ตีความชุดคำสั่ง (decode)Decode - การตีความ 1 คำสั่งนั้นด้วยวงจรถอดรหัส (Decoder
circuit) ตามจำนวนหลัก (BIT) ว่ารหัสนี้จะให้วงจรอื่นใดทำงานด้วยข้อมูลที่ใด

· 


3. ประมวลผลชุดคำสั่ง (execute)Execute - การทำงานตาม 1 คำสั่งนั้น คือ
วงจรใดในไมโครโปรเซสเซอร์ทำงาน เช่น วงจรบวก วงจรลบ วงจรเปรียบเทียบ วงจรย้ายข้อมูล
ฯลฯ

4. อ่านข้อมูลจากหน่วยความจำ
(memory)Memory - การติดต่อกับหน่วยความจำ การใช้ข้อมูที่อยู่ในหน่วยจำชั่วคราว
(RAM, Register) มาใช้ในคำสั่งนั้นโดยอ้างที่อยู่ (Address)

5. เขียนข้อมูล/ส่งผลการประมวลกลับ
(write back)Write Back - การเขียนข้อมูลกลับ
โดยมีหน่วยจำ Register ช่วยเก็บที่อยู่ของคำสั่งต่อไป
ภายหลังมีคำสั่งกระโดดบวกลบที่อยู่

 

 

 

6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือที่เราเรียนกว่า
แรม (Random Access Memory : RAM) เป็นหน่วยความจำหลักที่สามารถนำโปรแกรมและข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกหรือหน่วยความจำรองมาบรรจุไว้
หน่วยความจำแรมนี้ต่างจากรอมที่สามารถเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีไฟฟ้าเลี้ยงวงจรอยู่เท่านั้น
หากปิดเครื่องข้อมูลจะหายไปหมดสิ้น เมื่อเปิดเครื่องใหม่อีกครั้งจึงจะนำข้อมูลหรือโปรแกรมมาเขียนใหม่อีกครั้ง
หน่วยความจำชนิดนี้ทำงานเหมือนกระดานดำ คือสามารถลบข้อมูลที่ไม่ใช้งานแล้วออกได ้เพื่อเพิ่มพื้นที่ว่างในการเก็บข้อมูลใหม่
ไมโครคอมพิวเตอร์ 16 บิต รุ่น XT มีหน่วยความจำหลักแรมเพียง
640 KB แต่ในยุคหลังนี้ไมโครโพรเซสเซอร์มีหน่วยความจำหลักแรมได้หลายร้อยเมกะไบต์
โดยปกติขนาดของแรมจะใช้ในการกล่าวถึงขนาดความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย หน่วยความจำแรมมีขนาดแตกต่างกันออกไป
หน่วยความจำชนิดนี้ บางครั้งเรียกว่า read write memory ซึ่งหมายความว่าสามารถทั้งอ่านและบันทึกได้
หน่วยความจำแบบแรมที่มีใช้อยู่สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
(1) ไดนามิกแรมหรือดีแรม
(Dynamic RAM : DRAM) เป็นหน่วยความจำที่มีใช้งานอยู่ในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มากที่สุด
เนื่องจากราคาไม่แพงและมีความจุสูง หน่วยความจำชนิดนี้เก็บข้อมูลเลขฐานสองแต่ละบิตไว้ที่ตัวเก็บประจุ
ซึ่งจะมีการคายประจุทำให้ข้อมูลที่เก็บไว้หายไปได้ จึงต้องออกแบบให้มีการย้ำสัญญาณไฟฟ้าหรือที่เรียกว่ารีเฟรช
(refresh) ให้ตัวเก็บประจุตลอดเวลา
เพื่อให้ข้อมูลที่เก็บภายในยังคงอยู่ตลอดการใช้งาน ซึ่งการรีเฟรชดังกล่าวมีผลให้หน่วยความจำชนิดนี้อ่านและเขียนข้อมูลได้ช้า
ในการเข้าถึงข้อมูลของไดนามิกแรมจะแบ่งเวลาในการเข้าถึงข้อมูลเป็น
2 ช่วง ได้แก่ ช่วงจัดเตรียม (setup time) คือเวลาที่ใช้ในการเตรียมพื้นที่ในแรมให้พร้อมในการรับหรือส่งข้อมูล
ภายในแรมแบ่งเป็นตารางที่สามารถระบุเป็นแถว (row) และสดมภ์ (column)
แต่ละช่องคือพื้นที่ใช้เก็บข้อมูลแบ่งเป็นตำแหน่งที่อยู่ (address)
การจะอ่านหรือเขียนข้อมูล
ซีพียูต้องส่งสัญญาณที่ระบุตำแหน่งดังกล่าวไป เพื่อเตรียมการรับหรือส่งข้อมูลของพื้นที่ที่ระบุ
สำหรับส่วนที่สองเรียกว่า ช่วงวงรอบการทำงาน (cycle time) คือ
เวลาที่ใช้ในการอ่านหรือเขียนข้อมูลในตำแหน่งที่อยู่ที่ระบุส่งกลับมายังซีพียู การอ่านข้อมูลของดีแรมในยุคแรกๆ
อ่านข้อมูลทีละ 4 ไบต์ โดยต้องส่งสัญญาณระบุตำแหน่งที่อยู่เป็นแถวและสดมภ์ของแต่ละไบต์ไปยังแรม
ในปัจจุบันมีการคิดค้นดีแรมขึ้นใช้งานอยู่หลายชนิด เทคโนโลยีในการพัฒนาหน่วยความจำประเภทแรมเป็นความพยายามลดเวลาในส่วนที่สองของการอ่านข้อมูล
นั่นก็คือช่วงวงรอบการทำงาน นักเรียนอาจเคยได้ยินชื่อเรียกแรมมาหลายประเภท ดังนี้
(ก) เอฟพีเอ็มดีแรม (Fast
Page Mode Dynamic RAM : FPM DRAM) เป็นแรมที่พัฒนาหลังจากไดนามิกแรมธรรมดาในยุคแรกๆ
ที่ใช้ในเครื่องระดับ 80286 และ 80386 เอฟพีเอ็มดีแรมเป็นแรมชนิดที่เก่าที่สุดที่ยังคงมีขายอยู่ในตลาดคอมพิวเตอร์
เป็นแรมที่พัฒนาขึ้นใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับ 80486 ปัจจุบันยังคงมีการผลิตมาจำหน่ายแต่น้อยมาก
ทำให้เป็นแรมชนิดที่มีราคาแพง
หลักการทำงานของแรมชนิดนี้พัฒนามาจากการทำงานของไดนามิกแรมธรรมดา
คือ อ่านข้อมูลทีละ 4 ไบต์เหมือนกัน แต่ใช้หลักการที่ให้ข้อมูลเหล่านั้นอยู่ในแถวเดียวกันแต่คนละสดมภ์
การส่งสัญญาณระบุตำแหน่งของไบต์ที่ 2 ถึง 4 ระบุเฉพาะส่วนที่เป็นตำแหน่งของสดมภ์ ส่วนการระบุแถวจะส่งไปในครั้งแรกเพียงครั้งเดียว
ทำให้เวลาในการเข้าถึงข้อมูลไบต์ที่ 2- 4 ลดลงเหลือเพียงส่วนที่สองเท่านั้น
เป็นผลให้การทำงานของเอฟพีเอ็มดีแรมเร็วกว่าแรมธรรมดาประมาณร้อยละ 30 และมีอัตราการส่งถ่ายข้อมูลในช่วง 100 –200 เมกะไบต์ต่อวินาที

(ข) อีดีโอแรม (Extended
Data Output RAM : EDO RAM) เป็นแรมที่พัฒนาขึ้นหลังจากเอฟพีเอ็มดีแรม
พัฒนาขึ้นในปี พ.ศ.2538 โดยบริษัทไมครอนในประเทศสหรัฐอเมริกา
ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับเพนเทียมเอ็มเอ็มเอ็กซ์ เพนเทียมโปร ซึ่งไม่เป็นที่นิยมแล้วในปัจจุบัน
หลักการทำงานของแรมชนิดนี้เหมือนกับเอฟพีเอ็มดีแรม แต่ใช้เวลาในการอ่าข้อมูลแต่ละไบต์เร็วกว่า
โดยสามารถส่งสัญญาณระบุตำแหน่งส่วนที่เป็นสดมภ์ของไบต์ถัดไปได้เลยโดยไม่ต้องรอให้การอ่านข้อมูลปัจจุบันเสร็จสิ้นก่อน
ทำให้เข้าถึงข้อมูลได้เร็วกว่าเอฟพีเอ็มดีแรมร้อยละ 5-10 แรมชนิดนี้ทำงานได้เร็วในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ความถี่
66 เมกะเฮิร์ต และส่งถ่ายข้อมูลด้วยความเร็ว 800 เมกะไบต์ต่อวินาทีเอสดีแรม (Synchronous Dynamic RAM : SDRAM) หลังจาก พ.ศ. 2538 การพัฒนาไมโครโพรเซสเซอร์เป็นไปอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว
ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผลิตในยุคต่อมาเพนเทียมทูร์ (Pentium II) และเพนเทียมทรี (Pentium III) เป็นเครืองที่มีความถี่สูงกว่า
66 เมกะเฮิรตซ์ และมีแนวโน้มที่จะพัฒนาต่อมาเรื่อยๆ
มีผลให้อีดีโอแรมทำงานได้ไม่ดีพอ จึงมีการผลิตแรมที่เรียกว่าเอสดีแรม
ที่มีการทำงานเข้าจังหวะของสัญญาณนาฬิกาแทน โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลและอ่านข้อมูลได้
4 ไบต์ต่อรอบสัญญาณนาฬิกา 1 ครั้ง หรือที่เรียกว่า
1 คล็อก(1 clock) แรมชนิดนี้สามารถทำงานได้ที่ความถี่ตั้งแต่
100 เมกะเฮิรตซ์ขึ้นไป และความเร็วในการส่งถ่ายข้อมูลประมาณ 800
เมกะบิตต่อวินาทีเอสดีแรม เอสดีแรมเป็นแรมชนิดที่ยังใช้งานอยู่ในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน
โดยแรมประเภทนี้ที่มีขายในตลาดคอมพิวเตอร์จะทำงานได้ที่ความถี่แตกต่างกัน การอ้างถึงแรมประเภทนี้จะอ้างตามความถี่ดังกล่าว
โดยอ้างเป็น PC-66 หมายถึงเอสดีแรมที่มีมีการส่งถ่ายข้อมูลที่ความถี่
66 เมกะเฮิรตซ์ ในขณะที่เป็น PC-133 หมายถึง
เอสดีแรมที่มีมีการส่งถ่ายข้อมูลที่ความถี่ 133 เมกะเฮิรตซ์ดีดีอาร์
เอสดีแรม (Double Data Rate Synchronous Dynamic RAM : DDR SDRAM) เป็นแรมที่พัฒนามาจากเอสดีแรม นิยมเรียกอีกอย่างว่า ดีอาร์ดีแรม (DRDRAM)
สามารถทำงานได้เร็วกว่าเอสดีแรมธรรมดา 2 เท่าที่ความถี่เดียวกัน
คือสามารถอ่านหรือเขียนข้อมูลได้ 2 ครั้งใน 1 รอบสัญญาณนาฬิกา

อาร์ดีแรม
(1) อาร์ดีแรม (Rambus Dynamic RAM : RDRAM) เป็นแรมที่ได้รับการออกแบบระบบใหม่
ให้แตกต่างจากแรมชนิดอื่นที่ได้กล่าวมาข้างต้น พัฒนาโดยบริษัทแรมบัส (Rambus
Inc.) โดยแรมชนิดนี้ใช้สัญญาณนาฬิกาความถี่ 400 เมกะเฮิรตซ์ และส่งข้อมูลผ่านทางบัสที่มีความเร็วสูง เป็นแรมประเภทที่มีราคาแพงและการใช้งานซับซ้อน
จึงไม่เป็นที่นิยมเท่ากับเอสดีแรม และดีดีอาร์เอสดีแรม

(2) สแตติกแรม (Static RAM : SRAM) เป็นหน่วยความจำที่สามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้เร็วกว่าดีแรม เนื่องจากไม่ต้องมีการรีเฟรชอยู่ตลอดเวลา
แต่หน่วยความจำชนิดนี้มีราคาแพงและจุข้อมูลได้ไม่มาก จึงนิยมใช้หน่วยความจำชนิดนี้เป็นหน่วยความจำแคช
ซึ่งเป็นอุปกรณ์ช่วยเพิ่มความเร็วในการทำงานของดีแรม และเราจะกล่าวถึงรายละเอียดของหน่วยความจำชนิดนี้ในหัวข้อต่อไป

ที่มา: http://lungthee.phibun.com/hardware/hardware_ddrII.html

7. หน่วยความจำแคช คือ CACHE คือ
หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ
เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้
SRAM (STATIC RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก
( MAIN MEMORY) ซึ่งใช้ DRAM (DYNAMIC RAM ) หลายเท่าตัว

ชนิดของ
CACHE แบ่งเป็น 2 ชนิดดังนี้

Level 1 (L1 CACHE) คือ CACHE
ที่สร้างลงบน chipCPU หรือเรียกอีกอย่างว่า internal
CACHE มีขนาดเล็ก อย่างเช่น ขนาด 8k สำหรับ chip
486, เพนเทียมและ เพนเทียมโปรมีอยู่ 16k ส่วนเพนเทียม
MMX และเพนเทียม II มี CACHE L1
ขนาด 32k -Level 2 (L2 CACHE) คือ CACHE
ที่อยู่ระหว่าง CPU กับ DRAM หรือเรียกอีกอย่างว่า external CACHE แต่มีขนาด
ใหญ่กว่า CACHE ชนิด L1 มาก แต่ในปัจจุบันมี
CACHE L2 ของคอมพิวเตอร์บางรุ่นอยู่บน Chip CPU เช่น Chip ของ intel Pentium II เป็นต้น

ที่มา: http://pirun.ku.ac.th/~b5055141/cache.html

8. หน่วยความจำรอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม
เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล
และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้ แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้ ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง 

นอกจากนี้ หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ เนื่องจากหน่วยความจำหลักจะมีขนาดความจุจำกัด
หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้

หน่วยประมวลผลจะเรียกใช้ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำรอง ได้จะช้ากว่า หน่วยความจำหลัก

ที่มา: http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/sec04p01.html

9.ฮาร์ดดิสก์ คือ เป็นหน่วยความจำรองที่มีขนาดความจุมากที่สุด
ไม่สะดวกพกพา

ที่มา: http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/sec04p02.html

10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู
เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ
แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช
หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ
มากมายแต่ส่วนสำคัญๆ ประกอบด้วย 1. ชุดชิพเซ็ต
ชุดชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ดอีกที่หนึ่ง
เนื่องจากอุปกรณ์ตัวนี้จะมีหน้าที่หลักเป็นเหมือนทั้ง อุปกรณ์ แปลภาษา ให้อุปกรณ์ต่างๆ
ที่อยู่บนเมนบอร์ดสามารถทำงานร่วมกันได้ และทำหน้าที่ควบคุม อุปกรณ์ต่างๆ
ให้ทำงานได้ตามต้องการ โดยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบด้วยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบไปด้วยชิพ 2
ตัว คือชิพ System Controller และชิพ PCI
to ISA Bridge ชิพ System
Controller หรือ AGPSET หรือ North
Bridge เป็นชิพที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของ อุปกรณ์หลักๆ
ความเร็วสูงชนิดต่างๆ บนเมนบอร์ดที่ประกอบด้วยซีพียู หน่วยความจำแคชระดับสอง (SRAM)
หน่วยความจำหลัก (DRAM) ระบบกราฟิกบัสแบบ AGP
และระบบบัสแบบ PCI

ชิพ PCI to ISA Bridge หรือ South Bridge จะทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกันระหว่างระบบบัสแบบ
PCI กับอุปกรณ์อื่นๆ ที่มีความเร็วในการทำงานต่ำกว่าเช่นระบบบัสแบบ
ISA ระบบบัสอนุกรมแบบ USB ชิพคอนโทรลเลอร์
IDE ชิพหน่วยความจำรอมไออส ฟล็อบปี้ดิกส์ คีย์บอร์ด
พอร์ตอนุกรม และพอร์ตขนานชุดชิพเซ็ตจะมีอยู่ด้วยกันหลายรุ่นหลายยี่ห้อโดยลักษณะการใช้งานจะขึ้นอยู่กับซีพียูที่ใชเป็นหลัก
เช่นชุด ชิพเซ็ตตระกูล 430 ของอินเทลเช่นชิพเซ็ต 430FX,
430HX 430VX และ 430TX จะใช้งานร่วมกับซีพียู
ตระกูลเพนเทียม เพนเที่ยม MMX, K5, K6, 6x86L, 6x86MX (M II) และ IDT Winchip C6 ชุดชิพเซ็ต ตระกูล 440 ของอิเทลเช่นชิพเซ็ต 440FX, 440LX, 440EX และชิพเซ็ต
440BX จะใช้งานร่วมกับ ซีพียูตระกูลเพนเที่ยมโปร เพนเที่ยมทู
และเซลเลอรอน และชุดชิพเซ็ตตระกูล 450 ของอินเทลเช่นชุดชิพเซ็ต
450GX และ 450NX ก็จะใช้งานร่วมกับซีพียูตระกูลเพนเที่ยมทูซีนอนสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับ
Server หรือ Workstation นอกจากนี้ยังมีชิพเซ็ตจากบริษัทอื่นๆ
อีกหลายรุ่นหลายยี่ห้อที่ถูกผลิตออกมา แข่งกับอินเทลเช่นชุดชิพเซ็ต Apollo
VP2, Apollo VP3 และ Apollo mVp3 ของ VIA,
ชุดชิพเซ็ต Aladin IV+ และ Aladin V ของ ALi และชุดชิพเซ็ต 5597/98, 5581/82 และ 5591/92 ของ SiS สำหรับซีพียูตระกูลเพนเที่ยม
เพนเที่ยม MMX, K5, K6, 6x86L, 6x86MX (M II) และ IDT
Winchip C6 ชุดชิพเซ็ต Apollo BX และ Apollo
Pro ของ VIA, ชุดชิพเซ็ต Aladin Pro II
M1621/M1543C ของ ALi และชุดชิพเซ้ต 5601
ของ Sis สำหรับซีพียู . หน่วยความจำรอมไบออส และแบตเตอรรี่แบ็คอัพ
ไบออส BIOS (Basic Input
Output System) หรืออาจเรียกว่าซีมอส (CMOS) เป็นชิพหน่วยความจำชนิด
หนึ่งที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูล และโปรแกรมขนาดเล็กที่จำเป็นต่อการบูตของระบบคอมพิวเตอร์
โดยในอดีต ส่วนของชิพรอมไบออสจะประกอบด้วย 2 ส่วนคือ
ชิพไบออส และชิพซีมอส ซึ่งชิพซีไปออสจะทำหน้าที่
เก็บข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่อการบูตของระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนชิพซีมอสจะทำหน้าที่
เก็บโปรแกรมขนาดเล็ก ที่ใช้ในการบูตระบบ และสามารถเปลี่ยนข้อมูลบางส่วนภายในชิพได้
ชิพไบออสใช้พื้นฐานเทคโนโลยีของรอม ส่วนชิพซีมอสจะใช้เทคโนโลยีของแรม
ดังนั้นชิพไบออสจึงไม่จำเป็นต้องใช้พลังงานไฟฟ้า ในการเก็บรักษาข้อมูล แต่ชิพซีมอส
จะต้องการพลังงานไฟฟ้าในการเก็บรักษาข้อมูลอยตลอดเวลาซึ่งพลังงานไฟฟ้า ก็จะมาจากแบตเตอรี่แบ็คอัพที่อยู่บนเมนบอร์ด
(แบตเตอรี่แบ็คอัพจะมีลักษณะเป็นกระป๋องสีฟ้า
หรือเป็นลักษณะกลมแบนสีเงิน ซึ่งภายในจะบรรจุแบตเตอรรี่แบบลิเธี่ยมขนาด 3 โวลต์ไว้) แต่ตอ่มาในสมัย ซีพียตระกูล 80386 จึงได้มีการรวมชิพทั้งสองเข้าด้วยกัน
และเรียกชื่อว่าชิพรอมไบออสเพียงอย่างเดียว และการที่ชิพรอมไบออสเป็นการรวมกันของชิพไบออส
และชิพซีมอสจึงทำให้ข้อมูลบางส่วนที่อยู่ภายใน ชิพรอมไบออส ต้องการพลังงานไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูลไว้
แบตเตอรี่แบ็คอัพ จึงยังคงเป็นสิ่งจำเป็นอยู่จนถึง ปัจจุบัน จึงเห็นได้ว่าเมื่อแบตเตอรี่แบ็คอัพเสื่อม
หรือหมดอายุแล้วจะทำให้ข้อมูลที่คุณเซ็ตไว้ เช่น วันที่ จะหายไปกลายเป็นค่าพื้นฐานจากโรงงาน
และก็ต้องทำการเซ้ตใหม่ทุกครั้งที่เปิดเครื่อง เทคโนโลยีรอมไบออส ในอดีต
หน่วยความจำรอมชนิดนี้จะเป็นแบบ EPROM (Electrical Programmable Read Only
Memory) ซึ่งเป็นชิพหน่วยความจำรอม ที่สามารถบันทึกได้ โดยใช้แรงดันกระแสไฟฟ้าระดับพิเศษ
ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า Burst Rom และสามาถลบข้อมูลได้ด้วยแสงอุตราไวโอเล็ต
ซึ่งคุณไม่สามารถอัพเกรดข้อมูลลงในไบออสได้ ด้วยตัวเองจึงไม่ค่อยสะดวกต่อการแก้ไขหรืออัพเกรดข้อมูลที่อยู่ในชิพรอมไบออส
แต่ต่อมาได้มีการพัฒนา เทคโนโลยชิพรอมขึ้นมาใหม่ ให้เป็นแบบ EEPROM หรือ E2PROM โดยคุณจะสามารถทั้งเขียน และลบข้อมูล
ได้ด้วยกระแสไฟฟ้าโดยใช้ซอฟต์แวร์พิเศษ ได้ด้วยตัวเองอย่างง่ายดายดังเช่นที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน

3. หน่วยความจำแคชระดับสอง
หน่วยความจำแคชระดับสองนั้นเป็นอุปกรณ์
ตัวหนึ่งที่ทำหน้าเป็นเสมือนหน่วยความจำ บัฟเฟอร์ให้กับซีพียู โดยใช้หลักการที่ว่า
การทำงานร่วมกับอุปกร์ที่ความเร็วสูงกว่า จะทำให้เสียเวลาไปกับการรอคอยให้อุปกรณ์ ที่มีความเร็วต่ำ
ทำงานจนเสร็จสิ้นลง เพราะซีพียูมีความเร็วในการทำงานสูงมาก การที่ซีพียูต้องการข้อมูล
ซักชุดหนึ่งเพื่อนำไปประมวลผลถ้าไม่มีหน่วยความจำแคช

ตระกูลเพนเที่ยมทู
และเซลเลอรอน ซึ่งชิพเซ้ตแต่ละรุ่น แต่ละยี้ห้อนั้นจะมีจุดดีจุดด้อยแตกต่างกันไป
ที่มา: http://www.bcoms.net/hardware/mainboard.asp

 

 

ใบงานที่ 2

1.ฮาร์ดแวร์ คือตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้
โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล
การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์
(Case)
และ เชื่อมต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์

2.ซอฟต์แวร์ คือ 1. Software ระบบ
(System Software) คือ
ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป
ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของ Hardware ทุกอย่าง และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน
Software หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows,
Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น
ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เป็นต้น
นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities
ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน
2. Software ประยุกต์ (Application Software)
คือ Software หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ
ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น
Software ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.1 Software สำหรับงานเฉพาะด้าน
คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่าง บางที่เรียกว่า User’s
Program เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ
โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไขหรือแบบฟอร์ม
แตกต่างกันออกไปตามความต้องการหรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม
(Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้
เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และ Software
ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา
2.2 Software สำหรับงานทั่วไป
เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ทั่วไป
โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้
แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้
ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน
และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องใช้เวลามากในการฝึกและปฏิบัติ
ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานที่ขาดบุคลากร
ที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรม
ดังนั้นการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวก
และเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
โปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ ได้แก่ MS-Office, Lotus,
Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น ในการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องมี
Software ทั้ง 2
ประเภทเพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดย Software ระบบทำหน้าที่ควบคุมส่วนของ Hardware ให้ทำงานอย่างอัตโนมัติ
ส่วนของ Software
ประยุกต์นั้นจะทำหน้าที่ควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
ตามที่ผู้ใช้ต้องการเพื่อประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ

3.บุคลากรหมายถึง
บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน
สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้

1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ
ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน

2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ
ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน
เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน

3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้

4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป
ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม
เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ

เนื่องจากเป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์
มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากคำสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกำหนดของมนุษย์ (Peopleware) ทั้งสิ้น

4.spss คือ คือ โปรแกรมหาค่าสถิติ

5.รหัสแอสกี คือ เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่
เป็นคำย่อมาจาก American Standard Code Information Interchange เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้

6.รัหสเอบซีดิก
คือ พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม
รหัสแทนข้อมูลนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้แล้วในปัจจุบัน
การกำหนดรหัสจะใช้ 8 บิต ต่อหนึ่งอักขระ เหมือนกับรหัสแอสกี แต่แบบของรหัสที่กำหนดจะแตกต่างกัน
รหัสแบบเอ็บซีดิก ก็สามารถใช้กำหนดให้กับอักษรภาษาไทยและเครื่องหมายอื่นๆ
ได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างรหัสแทนข้อมูลแบบเอ็บซีดิก

ที่มา: http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_25.htm

7.รหัสยูนิโค้ด คือเป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ
รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร
เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร
(font) ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น
เป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัว หากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง
8 บิต เราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256 รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้น ซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบ จึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง
65,536 ตัว ซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย

ที่มา:
http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_26.htm

8. อ 8. อุุปกรณ์ส่งออก (Output Device) คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ
หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า
จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์
รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบ

ที่มา:
http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_26.htm

 

9. ระบบเลขฐานสอง อธิบาย ในชีวิตประจำวันของมนุษย์ต้องได้พบเจอกับจำนวนและการคำนวณอยู่ทุกวัน หากเราสังเกตจะพบว่าจำนวนที่เราคุ้นเคยอยู่ทุกวันนั้นไม่ว่าจะเป็นการซื้อของเป็นเงิน
39,587 บาท จำนวนเงินฝากในธนาคาร 1,426,000 บาท
หรือจำนวนในใบแจ้งหนี้ค่าโทรศัพท์จำนวน 2,560 บาท ล้วนแล้วแต่ประกอบขึ้นจากตัวเลข
10 ตัว คือ 0,1,2,3,4,5,6,7,8 และ9 ทั้งสิ้น ตัวเลขทั้ง 10 ตัวนี้ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการนับจำนวนของมนุษย์
การที่มนุษย์เลือกเลข 10 ตัวในการแทนการนับ อาจเนื่องจากมนุษย์มีนิ้วมือที่สามารถใช้เป็นอุปกรณ์ช่วยนับได้เพียง
10 นิ้ว จึงกำหนดระบบตัวเลขนี้ขึ้นมาและเรียกว่า ระบบเลขฐานสิบ (decimal) ต่อมาเมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงาน
แบบ ดิจิทัลและใช้ระดับแรงดันไฟฟ้าแสดงสถานะเพียง
2 สถานะ คือ ปิด (แทนด้วย 0) และเปิด (แทนด้วย 1)หรืออาจกล่าวได้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์รู้จักตัวเลขเพียง 2 ตัวเท่านั้น คือ 0 และ 1 หากมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือช่วยทำงาน
มนุษย์ต้องเรียนรู้ระบบเลขที่ประกอบด้วยตัวเลขเพียง 2 ตัวเช่นกัน
จึงได้มีการคิดค้นระบบเลขฐานสอง
(binary)
ขึ้นเพื่อช่วยในการสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยระบบเลขฐานสองเป็นระบบตัวเลขที่ประกอบด้วยตัวเลขเพียง
2 ตัว คือ 0 และ 1 เท่านั้น ตัวอย่างเลขฐานสอง เช่น 1102 , 101102

10. ระบบเลขฐานแปด อธิบายระบบเลขฐานแปด
อธิบาย ระบบเลขฐานแปดเป็นระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด มีตัวเลขอยู่ 8 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6,7 ซึ่งสามารถเปรียบเทียบค่าเลขฐานได้ตามตาราง ทีมา
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/sukanda_p/number/sec02p01.html

11.ระบบเลขฐานสิบหก อธิบาย ระบบเลขฐานสิบหก
(Hexadecimal)
ฐานของมันจะมีค่าเป็น 16 ซึ่งจะมีตัวเลขที่ไม่ซ้ำกันอยู่ทั้งหมด16
ตัว คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F (ตัวอักษร6 ตัว แทน ตัวเลข 10 –15 ตามลำดับ)

 

 

ใบงานที่ 1

1.ระบบสารสนเทศ คือ ระบบสารสนเทศ (Information System ) หมายถึง ระบบที่มีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการรวบรวม
จัดเก็บ หรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ข้อมุลนั้นกลายเป็นสารสนเทศที่ดี สามารถนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็วและถูกต้อง

ระบบสารสนเทศประกอบด้วยองค์ประกอบดังนี้
1.
Hardware หมายถึงอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการจัดกระทำกับข้อมูล

ทั้งที่เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น
เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องคิดเลข
2.
Software หมายถึง ชุดคำสั่ง หรือเรียกให้เข้าง่ายว่า โปรแกรม ที่สามารถ
สั่งการให้คอมพิวเตอร์ทำงานในลักษณะที่ต้องการภายใต้ขอบเขตความสามารถที่เครื่อง
คอมพิวเตอร์ หรือโปรแกรมนั้น ๆ สามารถทำได้ ซอร์ฟแวร์แบ่งออกเป็น
ซอร์ฟแวร์ระบบ และ ซอร์ฟแวร์ประยุกต์
3
User หมายถึง กลุ่มผุ้คนที่ทำงานหรือเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ

4.
Data หมายถึง ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่อาจอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็น ตัวหนังสือ แสง สี เสียง สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ภาพ วัตถุ หรือ
หลาย ๆ อย่างผสมผสานกัน ซึ่งข้อมูลที่ดีจะต้องตรงกับความต้องการของผู้ใช้
5.
Procedure หมายถึง ขั้นตอน กระบวนการต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานในระบบสารสนเทศ เมื่อทั้่ง 5 ส่วนดังกล่าวข้างต้น ทำงานประสานกัน
ส่งผลให้ข้อมูลเกิดการประมวลผลและนำไปใช้ประโยชน์ นั่นก็คือ สารสนเทศนั่นเอง
ซึ่งสารเสนทศนี้จะเป็นสารสนเทศที่ดี จะต้องเป็นสารสนเทศที่มีความถูกต้อง
ตรงกับความต้องการของผู้ใช้และทันเวลาในการใช้งาน
กล่าวโดยสรุปก็คือ กระบวนการสารสนเทศเป็นกระบวนการที่ทำให้เกิด
สารเสนเทศขึ้นมานั่นเอง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 5
ส่วน นั่นคือ
Hardware Software User Procedure และ Data
2. ข้อมูล คือ 
ข้อมูล คือ
ข้อมูลคือข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ ไม่ว่าจะเป็น
คน สัตว์ สิ่งของ หรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ 
ข้อมูลอาจอยู่ใน
รูปตัวอักษร ตัวเลข เสียง ภาพ วีดีทัศน์ ดังนั้นการเก็บข้อมูลจึงเป็นการรวบรวมเกี่ยวกับ
ข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจนั่นเอง
ข้อมูลจึงหมายถึงตัวแทนของ ข้อเท็จจริงหรือความเป็นไปของสิ่งที่เราสนใจ
1.2 
คุณสมบัติของข้อมูล

ข้อมูลที่จะนำมาดำเนินการประมวลผล
จะต้องมีคุณสมบัติพื้นฐานดังต่อไปนี้

1. ความถูกต้อง 2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน 3. ความสมบูรณ์ 4. 
ความชัดเจนกะทัดรัด 5. ความสอดคล้อง 1.3 แหล่งข้อมูล มาจากโทรทัศน์ วิทยุ นิตยสาร หนังสือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ

3. สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่มีการปรับเปลี่ยน
(Convert) ด้วยการจัดรูปแบบ (Formatting) การกลั่นกรอง (Filtering) และการสรุป (Summarizing)
ให้เป็นผลลัพธ์ที่มี รูปแบบ (เช่น ข้อความ เสียง รูปภาพ
หรือวีดิทัศน์) และเนื้อหาที่ตรงกับ ความต้องการ และเหมาะสมต่อการนำไปใช้ (Alter
1996 : 29, 65, 714)

4. เทคโนโลยี คือ คำว่า เทคโนโลยี ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า
"Technology" ซึ่งมาจากภาษากรีกว่า
"Technologia" แปลว่า การกระทำที่มีระบบ
อย่างไรก็ตามคำว่า เทคโนโลยี มักนิยมใช้ควบคู่กับคำว่า วิทยาศาสตร์ โดยเรียกรวม ๆ
ว่า "วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี"

5. เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่
การเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผล การแสดงผลลัพธ์ การทำสำเนา และการสื่อสารโทรคมนาคม
เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้

 

 

 

 

 

 

รูปภาพของ pncpaweena

ใบงานที่ 5

 

 

1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึง
เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุดโดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์ที่ต้องการการประมวลผลซับซ้อนและต้องการความเร็วสูง
http://www.sriayudhya.in.th/~der/elerning2553/knowledge/21101/typecom.pdf

2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากด้วยโปรแกรมหลายชุดเพื่อให้สามารถบริการผู้ใช้หลายคนได้พร้อมกัน
http://www.thaigoodview.com/node/10190

3. มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแบบมัลติโปรแกรมมิ่งที่จัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรแกรมพร้อม
ๆ กันได้ http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm#mini_com

4. . ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่นิยมใช้ทั่วไปในปัจจุบันบางครั้งเรียกว่า
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal coputer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถเคลื่อนย้ายไปไหนได้โดยง่าย http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm

5.ง่าย5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง ไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดพอที่จะวางอยู่บนโต๊ะทำงานได้สบาย
ๆ ในปัจจุบัน เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงทุกที โดยปกติ เราจะถือว่า
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะนั้นมีขนาดใหญ่กว่าขนาดกระเป๋าหิ้ว
ซึ่งก็ยังใหญ่กว่าขนาดวางตัก และขนาดโน้ตบุ๊ค

6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ค หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ที่พกพาได้สะดวก สามารถใช้พลังงานจากแบตเตอรี
และจากปลั๊กไฟโดยตรงก็ได้

7.คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์สำหรับทำงานเฉพาะอย่าง เช่นเป็นพจนานุกรม เป็นสมุดจนบันทึกประจำวัน บันทึกการนัดหมายและการเก็บข้อมูล

ใบงานที่ 4

 

1.แผ่น CD จุข้อมูลได้จุข้อมูล
70 ได้เมกะไบต์ 

 

2. ดีวีดี จุข้อมูลได้ 85 กิกะไบต์

 

3.คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่น ความถี่ประมาณ 2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ 100
เมตร

 

4. Lan คือ
เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้ ๆ กัน
เครือข่าย LAN ออกแบบมาเพื่อให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน
ในส่วนต่างๆขององค์กรในบริเวณที่ไม่ไกลกันมาก เช่นอยู่ในอาคารเดียวกัน
ระหว่างชั้นอาคาร สามารถดูแลได้เองโดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น
การเชื่อมโยงเครือข่าย

 

5.ฮับ (Hub) ทำหน้าที่
เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ
เข้าด้วยกัน 

ใบงานที่ 3

1. 
คอมพิวเตอร์
คือ คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคำนวณ พจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า
"เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ 
ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์" คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์
ในด้านการคิดคำนวณและสามารถจำข้อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไป
นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง
โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านต่างๆ อีกมาก
อาทิเช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ
ได้ 

2. 
หน่วยรับเข้า
คือ เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล
อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท ดังนี้ 
เช่น แผงแป้นอักขระ (keyboard) หรือที่รู้จักกันว่า “แป้นพิมพ์ เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญ มีลักษณะการทำงานเหมือนกับแป้นพิมพ์ เมาส์ (mouse) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญรองจากแผงแป้นอักขระ
(keyboard) ลักษณะการทำงานจะช่วยในการบ่งชี้ตำแหน่งว่ากำลังอยู่
ณ จุดใดบนจอภาพ โดยจะมีลูกศรปรากฏอยู่บนจอภาพ เรียกว่า ตัวชี้ตำแหน่ง (Pointer)
ซึ่งอาศัยการเลื่อนเมาส์ แทนการกดปุ่มบังคับทิศ แบบทางกล ใช้ลูกกลิ้งกลม
ที่มีน้ำหนักและแรงเสียดทานพอดี เมื่อมีการเลื่อนเมาส์ลูกกลิ้งจะเคลื่อนไปมาทำให้กลไก
ซึ่งทำหน้าที่ปรับแกนหมุนในแกน X และแกน Y ส่งผลไปเลื่อนตำแหน่ง ตัวชี้ตำแหน่งบนจอภาพ เมาส์แบบใช้แสง อาศัยหลักการส่งแสงจากเมาส์
ลงไปบนแผ่นรองเมาส์ (mouse pad)

3. 
หน่วยประมวลผลกลาง คือ หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า ซีพียู (CPU)

เป็นวงจรอิเลคทรอนิคที่ทำงาน
หรือประมวลผล ตามชุดของคำสั่งเครื่องจากซอฟต์แวร์ คำนี้เริ่มใช้ในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ต้นศตวรรษ
1960s หน่วยประมวลผลเปรียบเสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ในการทำหน้าที่ตัดสินใจหรือคำนวณ
จากคำสั่งที่ได้รับมา เช่น
การเปรียบเทียบ การกระทำการทางคณิตศาสตร์ ฯลฯ

โดยมีกระบวนการพื้นฐานคือ

1. อ่านชุดคำสั่ง
(fetch)Fetch - การอ่านชุดคำสั่งขึ้นมา 1 คำสั่งจากโปรแกรม ในรูปของระหัสเลขฐานสอง (Binary Code from on-off
of BIT)

2. ตีความชุดคำสั่ง (decode)Decode - การตีความ 1 คำสั่งนั้นด้วยวงจรถอดรหัส (Decoder
circuit) ตามจำนวนหลัก (BIT) ว่ารหัสนี้จะให้วงจรอื่นใดทำงานด้วยข้อมูลที่ใด

· 


3. ประมวลผลชุดคำสั่ง (execute)Execute - การทำงานตาม 1 คำสั่งนั้น คือ
วงจรใดในไมโครโปรเซสเซอร์ทำงาน เช่น วงจรบวก วงจรลบ วงจรเปรียบเทียบ วงจรย้ายข้อมูล
ฯลฯ

4. อ่านข้อมูลจากหน่วยความจำ
(memory)Memory - การติดต่อกับหน่วยความจำ การใช้ข้อมูที่อยู่ในหน่วยจำชั่วคราว
(RAM, Register) มาใช้ในคำสั่งนั้นโดยอ้างที่อยู่ (Address)

5. เขียนข้อมูล/ส่งผลการประมวลกลับ
(write back)Write Back - การเขียนข้อมูลกลับ
โดยมีหน่วยจำ Register ช่วยเก็บที่อยู่ของคำสั่งต่อไป
ภายหลังมีคำสั่งกระโดดบวกลบที่อยู่

 

 

 

6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือที่เราเรียนกว่า
แรม (Random Access Memory : RAM) เป็นหน่วยความจำหลักที่สามารถนำโปรแกรมและข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกหรือหน่วยความจำรองมาบรรจุไว้
หน่วยความจำแรมนี้ต่างจากรอมที่สามารถเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีไฟฟ้าเลี้ยงวงจรอยู่เท่านั้น
หากปิดเครื่องข้อมูลจะหายไปหมดสิ้น เมื่อเปิดเครื่องใหม่อีกครั้งจึงจะนำข้อมูลหรือโปรแกรมมาเขียนใหม่อีกครั้ง
หน่วยความจำชนิดนี้ทำงานเหมือนกระดานดำ คือสามารถลบข้อมูลที่ไม่ใช้งานแล้วออกได ้เพื่อเพิ่มพื้นที่ว่างในการเก็บข้อมูลใหม่
ไมโครคอมพิวเตอร์ 16 บิต รุ่น XT มีหน่วยความจำหลักแรมเพียง
640 KB แต่ในยุคหลังนี้ไมโครโพรเซสเซอร์มีหน่วยความจำหลักแรมได้หลายร้อยเมกะไบต์
โดยปกติขนาดของแรมจะใช้ในการกล่าวถึงขนาดความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย หน่วยความจำแรมมีขนาดแตกต่างกันออกไป
หน่วยความจำชนิดนี้ บางครั้งเรียกว่า read write memory ซึ่งหมายความว่าสามารถทั้งอ่านและบันทึกได้
หน่วยความจำแบบแรมที่มีใช้อยู่สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
(1) ไดนามิกแรมหรือดีแรม
(Dynamic RAM : DRAM) เป็นหน่วยความจำที่มีใช้งานอยู่ในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มากที่สุด
เนื่องจากราคาไม่แพงและมีความจุสูง หน่วยความจำชนิดนี้เก็บข้อมูลเลขฐานสองแต่ละบิตไว้ที่ตัวเก็บประจุ
ซึ่งจะมีการคายประจุทำให้ข้อมูลที่เก็บไว้หายไปได้ จึงต้องออกแบบให้มีการย้ำสัญญาณไฟฟ้าหรือที่เรียกว่ารีเฟรช
(refresh) ให้ตัวเก็บประจุตลอดเวลา
เพื่อให้ข้อมูลที่เก็บภายในยังคงอยู่ตลอดการใช้งาน ซึ่งการรีเฟรชดังกล่าวมีผลให้หน่วยความจำชนิดนี้อ่านและเขียนข้อมูลได้ช้า
ในการเข้าถึงข้อมูลของไดนามิกแรมจะแบ่งเวลาในการเข้าถึงข้อมูลเป็น
2 ช่วง ได้แก่ ช่วงจัดเตรียม (setup time) คือเวลาที่ใช้ในการเตรียมพื้นที่ในแรมให้พร้อมในการรับหรือส่งข้อมูล
ภายในแรมแบ่งเป็นตารางที่สามารถระบุเป็นแถว (row) และสดมภ์ (column)
แต่ละช่องคือพื้นที่ใช้เก็บข้อมูลแบ่งเป็นตำแหน่งที่อยู่ (address)
การจะอ่านหรือเขียนข้อมูล
ซีพียูต้องส่งสัญญาณที่ระบุตำแหน่งดังกล่าวไป เพื่อเตรียมการรับหรือส่งข้อมูลของพื้นที่ที่ระบุ
สำหรับส่วนที่สองเรียกว่า ช่วงวงรอบการทำงาน (cycle time) คือ
เวลาที่ใช้ในการอ่านหรือเขียนข้อมูลในตำแหน่งที่อยู่ที่ระบุส่งกลับมายังซีพียู การอ่านข้อมูลของดีแรมในยุคแรกๆ
อ่านข้อมูลทีละ 4 ไบต์ โดยต้องส่งสัญญาณระบุตำแหน่งที่อยู่เป็นแถวและสดมภ์ของแต่ละไบต์ไปยังแรม
ในปัจจุบันมีการคิดค้นดีแรมขึ้นใช้งานอยู่หลายชนิด เทคโนโลยีในการพัฒนาหน่วยความจำประเภทแรมเป็นความพยายามลดเวลาในส่วนที่สองของการอ่านข้อมูล
นั่นก็คือช่วงวงรอบการทำงาน นักเรียนอาจเคยได้ยินชื่อเรียกแรมมาหลายประเภท ดังนี้
(ก) เอฟพีเอ็มดีแรม (Fast
Page Mode Dynamic RAM : FPM DRAM) เป็นแรมที่พัฒนาหลังจากไดนามิกแรมธรรมดาในยุคแรกๆ
ที่ใช้ในเครื่องระดับ 80286 และ 80386 เอฟพีเอ็มดีแรมเป็นแรมชนิดที่เก่าที่สุดที่ยังคงมีขายอยู่ในตลาดคอมพิวเตอร์
เป็นแรมที่พัฒนาขึ้นใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับ 80486 ปัจจุบันยังคงมีการผลิตมาจำหน่ายแต่น้อยมาก
ทำให้เป็นแรมชนิดที่มีราคาแพง
หลักการทำงานของแรมชนิดนี้พัฒนามาจากการทำงานของไดนามิกแรมธรรมดา
คือ อ่านข้อมูลทีละ 4 ไบต์เหมือนกัน แต่ใช้หลักการที่ให้ข้อมูลเหล่านั้นอยู่ในแถวเดียวกันแต่คนละสดมภ์
การส่งสัญญาณระบุตำแหน่งของไบต์ที่ 2 ถึง 4 ระบุเฉพาะส่วนที่เป็นตำแหน่งของสดมภ์ ส่วนการระบุแถวจะส่งไปในครั้งแรกเพียงครั้งเดียว
ทำให้เวลาในการเข้าถึงข้อมูลไบต์ที่ 2- 4 ลดลงเหลือเพียงส่วนที่สองเท่านั้น
เป็นผลให้การทำงานของเอฟพีเอ็มดีแรมเร็วกว่าแรมธรรมดาประมาณร้อยละ 30 และมีอัตราการส่งถ่ายข้อมูลในช่วง 100 –200 เมกะไบต์ต่อวินาที

(ข) อีดีโอแรม (Extended
Data Output RAM : EDO RAM) เป็นแรมที่พัฒนาขึ้นหลังจากเอฟพีเอ็มดีแรม
พัฒนาขึ้นในปี พ.ศ.2538 โดยบริษัทไมครอนในประเทศสหรัฐอเมริกา
ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับเพนเทียมเอ็มเอ็มเอ็กซ์ เพนเทียมโปร ซึ่งไม่เป็นที่นิยมแล้วในปัจจุบัน
หลักการทำงานของแรมชนิดนี้เหมือนกับเอฟพีเอ็มดีแรม แต่ใช้เวลาในการอ่าข้อมูลแต่ละไบต์เร็วกว่า
โดยสามารถส่งสัญญาณระบุตำแหน่งส่วนที่เป็นสดมภ์ของไบต์ถัดไปได้เลยโดยไม่ต้องรอให้การอ่านข้อมูลปัจจุบันเสร็จสิ้นก่อน
ทำให้เข้าถึงข้อมูลได้เร็วกว่าเอฟพีเอ็มดีแรมร้อยละ 5-10 แรมชนิดนี้ทำงานได้เร็วในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ความถี่
66 เมกะเฮิร์ต และส่งถ่ายข้อมูลด้วยความเร็ว 800 เมกะไบต์ต่อวินาทีเอสดีแรม (Synchronous Dynamic RAM : SDRAM) หลังจาก พ.ศ. 2538 การพัฒนาไมโครโพรเซสเซอร์เป็นไปอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว
ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผลิตในยุคต่อมาเพนเทียมทูร์ (Pentium II) และเพนเทียมทรี (Pentium III) เป็นเครืองที่มีความถี่สูงกว่า
66 เมกะเฮิรตซ์ และมีแนวโน้มที่จะพัฒนาต่อมาเรื่อยๆ
มีผลให้อีดีโอแรมทำงานได้ไม่ดีพอ จึงมีการผลิตแรมที่เรียกว่าเอสดีแรม
ที่มีการทำงานเข้าจังหวะของสัญญาณนาฬิกาแทน โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลและอ่านข้อมูลได้
4 ไบต์ต่อรอบสัญญาณนาฬิกา 1 ครั้ง หรือที่เรียกว่า
1 คล็อก(1 clock) แรมชนิดนี้สามารถทำงานได้ที่ความถี่ตั้งแต่
100 เมกะเฮิรตซ์ขึ้นไป และความเร็วในการส่งถ่ายข้อมูลประมาณ 800
เมกะบิตต่อวินาทีเอสดีแรม เอสดีแรมเป็นแรมชนิดที่ยังใช้งานอยู่ในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน
โดยแรมประเภทนี้ที่มีขายในตลาดคอมพิวเตอร์จะทำงานได้ที่ความถี่แตกต่างกัน การอ้างถึงแรมประเภทนี้จะอ้างตามความถี่ดังกล่าว
โดยอ้างเป็น PC-66 หมายถึงเอสดีแรมที่มีมีการส่งถ่ายข้อมูลที่ความถี่
66 เมกะเฮิรตซ์ ในขณะที่เป็น PC-133 หมายถึง
เอสดีแรมที่มีมีการส่งถ่ายข้อมูลที่ความถี่ 133 เมกะเฮิรตซ์ดีดีอาร์
เอสดีแรม (Double Data Rate Synchronous Dynamic RAM : DDR SDRAM) เป็นแรมที่พัฒนามาจากเอสดีแรม นิยมเรียกอีกอย่างว่า ดีอาร์ดีแรม (DRDRAM)
สามารถทำงานได้เร็วกว่าเอสดีแรมธรรมดา 2 เท่าที่ความถี่เดียวกัน
คือสามารถอ่านหรือเขียนข้อมูลได้ 2 ครั้งใน 1 รอบสัญญาณนาฬิกา

อาร์ดีแรม
(1) อาร์ดีแรม (Rambus Dynamic RAM : RDRAM) เป็นแรมที่ได้รับการออกแบบระบบใหม่
ให้แตกต่างจากแรมชนิดอื่นที่ได้กล่าวมาข้างต้น พัฒนาโดยบริษัทแรมบัส (Rambus
Inc.) โดยแรมชนิดนี้ใช้สัญญาณนาฬิกาความถี่ 400 เมกะเฮิรตซ์ และส่งข้อมูลผ่านทางบัสที่มีความเร็วสูง เป็นแรมประเภทที่มีราคาแพงและการใช้งานซับซ้อน
จึงไม่เป็นที่นิยมเท่ากับเอสดีแรม และดีดีอาร์เอสดีแรม

(2) สแตติกแรม (Static RAM : SRAM) เป็นหน่วยความจำที่สามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้เร็วกว่าดีแรม เนื่องจากไม่ต้องมีการรีเฟรชอยู่ตลอดเวลา
แต่หน่วยความจำชนิดนี้มีราคาแพงและจุข้อมูลได้ไม่มาก จึงนิยมใช้หน่วยความจำชนิดนี้เป็นหน่วยความจำแคช
ซึ่งเป็นอุปกรณ์ช่วยเพิ่มความเร็วในการทำงานของดีแรม และเราจะกล่าวถึงรายละเอียดของหน่วยความจำชนิดนี้ในหัวข้อต่อไป

ที่มา: http://lungthee.phibun.com/hardware/hardware_ddrII.html

7. หน่วยความจำแคช คือ CACHE คือ
หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ
เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้
SRAM (STATIC RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก
( MAIN MEMORY) ซึ่งใช้ DRAM (DYNAMIC RAM ) หลายเท่าตัว

ชนิดของ
CACHE แบ่งเป็น 2 ชนิดดังนี้

Level 1 (L1 CACHE) คือ CACHE
ที่สร้างลงบน chipCPU หรือเรียกอีกอย่างว่า internal
CACHE มีขนาดเล็ก อย่างเช่น ขนาด 8k สำหรับ chip
486, เพนเทียมและ เพนเทียมโปรมีอยู่ 16k ส่วนเพนเทียม
MMX และเพนเทียม II มี CACHE L1
ขนาด 32k -Level 2 (L2 CACHE) คือ CACHE
ที่อยู่ระหว่าง CPU กับ DRAM หรือเรียกอีกอย่างว่า external CACHE แต่มีขนาด
ใหญ่กว่า CACHE ชนิด L1 มาก แต่ในปัจจุบันมี
CACHE L2 ของคอมพิวเตอร์บางรุ่นอยู่บน Chip CPU เช่น Chip ของ intel Pentium II เป็นต้น

ที่มา: http://pirun.ku.ac.th/~b5055141/cache.html

8. หน่วยความจำรอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม
เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล
และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้ แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้ ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง 

นอกจากนี้ หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ เนื่องจากหน่วยความจำหลักจะมีขนาดความจุจำกัด
หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้

หน่วยประมวลผลจะเรียกใช้ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำรอง ได้จะช้ากว่า หน่วยความจำหลัก

ที่มา: http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/sec04p01.html

9.ฮาร์ดดิสก์ คือ เป็นหน่วยความจำรองที่มีขนาดความจุมากที่สุด
ไม่สะดวกพกพา

ที่มา: http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/sec04p02.html

10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู
เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ
แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช
หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ
มากมายแต่ส่วนสำคัญๆ ประกอบด้วย 1. ชุดชิพเซ็ต
ชุดชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ดอีกที่หนึ่ง
เนื่องจากอุปกรณ์ตัวนี้จะมีหน้าที่หลักเป็นเหมือนทั้ง อุปกรณ์ แปลภาษา ให้อุปกรณ์ต่างๆ
ที่อยู่บนเมนบอร์ดสามารถทำงานร่วมกันได้ และทำหน้าที่ควบคุม อุปกรณ์ต่างๆ
ให้ทำงานได้ตามต้องการ โดยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบด้วยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบไปด้วยชิพ 2
ตัว คือชิพ System Controller และชิพ PCI
to ISA Bridge ชิพ System
Controller หรือ AGPSET หรือ North
Bridge เป็นชิพที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของ อุปกรณ์หลักๆ
ความเร็วสูงชนิดต่างๆ บนเมนบอร์ดที่ประกอบด้วยซีพียู หน่วยความจำแคชระดับสอง (SRAM)
หน่วยความจำหลัก (DRAM) ระบบกราฟิกบัสแบบ AGP
และระบบบัสแบบ PCI

ชิพ PCI to ISA Bridge หรือ South Bridge จะทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกันระหว่างระบบบัสแบบ
PCI กับอุปกรณ์อื่นๆ ที่มีความเร็วในการทำงานต่ำกว่าเช่นระบบบัสแบบ
ISA ระบบบัสอนุกรมแบบ USB ชิพคอนโทรลเลอร์
IDE ชิพหน่วยความจำรอมไออส ฟล็อบปี้ดิกส์ คีย์บอร์ด
พอร์ตอนุกรม และพอร์ตขนานชุดชิพเซ็ตจะมีอยู่ด้วยกันหลายรุ่นหลายยี่ห้อโดยลักษณะการใช้งานจะขึ้นอยู่กับซีพียูที่ใชเป็นหลัก
เช่นชุด ชิพเซ็ตตระกูล 430 ของอินเทลเช่นชิพเซ็ต 430FX,
430HX 430VX และ 430TX จะใช้งานร่วมกับซีพียู
ตระกูลเพนเทียม เพนเที่ยม MMX, K5, K6, 6x86L, 6x86MX (M II) และ IDT Winchip C6 ชุดชิพเซ็ต ตระกูล 440 ของอิเทลเช่นชิพเซ็ต 440FX, 440LX, 440EX และชิพเซ็ต
440BX จะใช้งานร่วมกับ ซีพียูตระกูลเพนเที่ยมโปร เพนเที่ยมทู
และเซลเลอรอน และชุดชิพเซ็ตตระกูล 450 ของอินเทลเช่นชุดชิพเซ็ต
450GX และ 450NX ก็จะใช้งานร่วมกับซีพียูตระกูลเพนเที่ยมทูซีนอนสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับ
Server หรือ Workstation นอกจากนี้ยังมีชิพเซ็ตจากบริษัทอื่นๆ
อีกหลายรุ่นหลายยี่ห้อที่ถูกผลิตออกมา แข่งกับอินเทลเช่นชุดชิพเซ็ต Apollo
VP2, Apollo VP3 และ Apollo mVp3 ของ VIA,
ชุดชิพเซ็ต Aladin IV+ และ Aladin V ของ ALi และชุดชิพเซ็ต 5597/98, 5581/82 และ 5591/92 ของ SiS สำหรับซีพียูตระกูลเพนเที่ยม
เพนเที่ยม MMX, K5, K6, 6x86L, 6x86MX (M II) และ IDT
Winchip C6 ชุดชิพเซ็ต Apollo BX และ Apollo
Pro ของ VIA, ชุดชิพเซ็ต Aladin Pro II
M1621/M1543C ของ ALi และชุดชิพเซ้ต 5601
ของ Sis สำหรับซีพียู . หน่วยความจำรอมไบออส และแบตเตอรรี่แบ็คอัพ
ไบออส BIOS (Basic Input
Output System) หรืออาจเรียกว่าซีมอส (CMOS) เป็นชิพหน่วยความจำชนิด
หนึ่งที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูล และโปรแกรมขนาดเล็กที่จำเป็นต่อการบูตของระบบคอมพิวเตอร์
โดยในอดีต ส่วนของชิพรอมไบออสจะประกอบด้วย 2 ส่วนคือ
ชิพไบออส และชิพซีมอส ซึ่งชิพซีไปออสจะทำหน้าที่
เก็บข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่อการบูตของระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนชิพซีมอสจะทำหน้าที่
เก็บโปรแกรมขนาดเล็ก ที่ใช้ในการบูตระบบ และสามารถเปลี่ยนข้อมูลบางส่วนภายในชิพได้
ชิพไบออสใช้พื้นฐานเทคโนโลยีของรอม ส่วนชิพซีมอสจะใช้เทคโนโลยีของแรม
ดังนั้นชิพไบออสจึงไม่จำเป็นต้องใช้พลังงานไฟฟ้า ในการเก็บรักษาข้อมูล แต่ชิพซีมอส
จะต้องการพลังงานไฟฟ้าในการเก็บรักษาข้อมูลอยตลอดเวลาซึ่งพลังงานไฟฟ้า ก็จะมาจากแบตเตอรี่แบ็คอัพที่อยู่บนเมนบอร์ด
(แบตเตอรี่แบ็คอัพจะมีลักษณะเป็นกระป๋องสีฟ้า
หรือเป็นลักษณะกลมแบนสีเงิน ซึ่งภายในจะบรรจุแบตเตอรรี่แบบลิเธี่ยมขนาด 3 โวลต์ไว้) แต่ตอ่มาในสมัย ซีพียตระกูล 80386 จึงได้มีการรวมชิพทั้งสองเข้าด้วยกัน
และเรียกชื่อว่าชิพรอมไบออสเพียงอย่างเดียว และการที่ชิพรอมไบออสเป็นการรวมกันของชิพไบออส
และชิพซีมอสจึงทำให้ข้อมูลบางส่วนที่อยู่ภายใน ชิพรอมไบออส ต้องการพลังงานไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูลไว้
แบตเตอรี่แบ็คอัพ จึงยังคงเป็นสิ่งจำเป็นอยู่จนถึง ปัจจุบัน จึงเห็นได้ว่าเมื่อแบตเตอรี่แบ็คอัพเสื่อม
หรือหมดอายุแล้วจะทำให้ข้อมูลที่คุณเซ็ตไว้ เช่น วันที่ จะหายไปกลายเป็นค่าพื้นฐานจากโรงงาน
และก็ต้องทำการเซ้ตใหม่ทุกครั้งที่เปิดเครื่อง เทคโนโลยีรอมไบออส ในอดีต
หน่วยความจำรอมชนิดนี้จะเป็นแบบ EPROM (Electrical Programmable Read Only
Memory) ซึ่งเป็นชิพหน่วยความจำรอม ที่สามารถบันทึกได้ โดยใช้แรงดันกระแสไฟฟ้าระดับพิเศษ
ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า Burst Rom และสามาถลบข้อมูลได้ด้วยแสงอุตราไวโอเล็ต
ซึ่งคุณไม่สามารถอัพเกรดข้อมูลลงในไบออสได้ ด้วยตัวเองจึงไม่ค่อยสะดวกต่อการแก้ไขหรืออัพเกรดข้อมูลที่อยู่ในชิพรอมไบออส
แต่ต่อมาได้มีการพัฒนา เทคโนโลยชิพรอมขึ้นมาใหม่ ให้เป็นแบบ EEPROM หรือ E2PROM โดยคุณจะสามารถทั้งเขียน และลบข้อมูล
ได้ด้วยกระแสไฟฟ้าโดยใช้ซอฟต์แวร์พิเศษ ได้ด้วยตัวเองอย่างง่ายดายดังเช่นที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน

3. หน่วยความจำแคชระดับสอง
หน่วยความจำแคชระดับสองนั้นเป็นอุปกรณ์
ตัวหนึ่งที่ทำหน้าเป็นเสมือนหน่วยความจำ บัฟเฟอร์ให้กับซีพียู โดยใช้หลักการที่ว่า
การทำงานร่วมกับอุปกร์ที่ความเร็วสูงกว่า จะทำให้เสียเวลาไปกับการรอคอยให้อุปกรณ์ ที่มีความเร็วต่ำ
ทำงานจนเสร็จสิ้นลง เพราะซีพียูมีความเร็วในการทำงานสูงมาก การที่ซีพียูต้องการข้อมูล
ซักชุดหนึ่งเพื่อนำไปประมวลผลถ้าไม่มีหน่วยความจำแคช

ตระกูลเพนเที่ยมทู
และเซลเลอรอน ซึ่งชิพเซ้ตแต่ละรุ่น แต่ละยี้ห้อนั้นจะมีจุดดีจุดด้อยแตกต่างกันไป
ที่มา: http://www.bcoms.net/hardware/mainboard.asp

 

 

ใบงานที่ 2

1.ฮาร์ดแวร์ คือตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้
โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล
การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์
(Case)
และ เชื่อมต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์

2.ซอฟต์แวร์ คือ 1. Software ระบบ
(System Software) คือ
ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป
ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของ Hardware ทุกอย่าง และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน
Software หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows,
Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น
ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เป็นต้น
นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities
ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน
2. Software ประยุกต์ (Application Software)
คือ Software หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ
ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น
Software ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.1 Software สำหรับงานเฉพาะด้าน
คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่าง บางที่เรียกว่า User’s
Program เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ
โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไขหรือแบบฟอร์ม
แตกต่างกันออกไปตามความต้องการหรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม
(Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้
เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และ Software
ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา
2.2 Software สำหรับงานทั่วไป
เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ทั่วไป
โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้
แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้
ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน
และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องใช้เวลามากในการฝึกและปฏิบัติ
ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานที่ขาดบุคลากร
ที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรม
ดังนั้นการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวก
และเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
โปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ ได้แก่ MS-Office, Lotus,
Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น ในการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องมี
Software ทั้ง 2
ประเภทเพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดย Software ระบบทำหน้าที่ควบคุมส่วนของ Hardware ให้ทำงานอย่างอัตโนมัติ
ส่วนของ Software
ประยุกต์นั้นจะทำหน้าที่ควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
ตามที่ผู้ใช้ต้องการเพื่อประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ

3.บุคลากรหมายถึง
บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน
สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้

1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ
ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน

2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ
ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน
เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน

3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้

4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป
ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม
เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ

เนื่องจากเป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์
มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากคำสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกำหนดของมนุษย์ (Peopleware) ทั้งสิ้น

4.spss คือ คือ โปรแกรมหาค่าสถิติ

5.รหัสแอสกี คือ เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่
เป็นคำย่อมาจาก American Standard Code Information Interchange เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้

6.รัหสเอบซีดิก
คือ พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม
รหัสแทนข้อมูลนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้แล้วในปัจจุบัน
การกำหนดรหัสจะใช้ 8 บิต ต่อหนึ่งอักขระ เหมือนกับรหัสแอสกี แต่แบบของรหัสที่กำหนดจะแตกต่างกัน
รหัสแบบเอ็บซีดิก ก็สามารถใช้กำหนดให้กับอักษรภาษาไทยและเครื่องหมายอื่นๆ
ได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างรหัสแทนข้อมูลแบบเอ็บซีดิก

ที่มา: http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_25.htm

7.รหัสยูนิโค้ด คือเป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ
รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร
เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร
(font) ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น
เป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัว หากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง
8 บิต เราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256 รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้น ซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบ จึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง
65,536 ตัว ซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย

ที่มา:
http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_26.htm

8. อ 8. อุุปกรณ์ส่งออก (Output Device) คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ
หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า
จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์
รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบ

ที่มา:
http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_26.htm

 

9. ระบบเลขฐานสอง อธิบาย ในชีวิตประจำวันของมนุษย์ต้องได้พบเจอกับจำนวนและการคำนวณอยู่ทุกวัน หากเราสังเกตจะพบว่าจำนวนที่เราคุ้นเคยอยู่ทุกวันนั้นไม่ว่าจะเป็นการซื้อของเป็นเงิน
39,587 บาท จำนวนเงินฝากในธนาคาร 1,426,000 บาท
หรือจำนวนในใบแจ้งหนี้ค่าโทรศัพท์จำนวน 2,560 บาท ล้วนแล้วแต่ประกอบขึ้นจากตัวเลข
10 ตัว คือ 0,1,2,3,4,5,6,7,8 และ9 ทั้งสิ้น ตัวเลขทั้ง 10 ตัวนี้ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการนับจำนวนของมนุษย์
การที่มนุษย์เลือกเลข 10 ตัวในการแทนการนับ อาจเนื่องจากมนุษย์มีนิ้วมือที่สามารถใช้เป็นอุปกรณ์ช่วยนับได้เพียง
10 นิ้ว จึงกำหนดระบบตัวเลขนี้ขึ้นมาและเรียกว่า ระบบเลขฐานสิบ (decimal) ต่อมาเมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงาน
แบบ ดิจิทัลและใช้ระดับแรงดันไฟฟ้าแสดงสถานะเพียง
2 สถานะ คือ ปิด (แทนด้วย 0) และเปิด (แทนด้วย 1)หรืออาจกล่าวได้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์รู้จักตัวเลขเพียง 2 ตัวเท่านั้น คือ 0 และ 1 หากมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือช่วยทำงาน
มนุษย์ต้องเรียนรู้ระบบเลขที่ประกอบด้วยตัวเลขเพียง 2 ตัวเช่นกัน
จึงได้มีการคิดค้นระบบเลขฐานสอง
(binary)
ขึ้นเพื่อช่วยในการสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยระบบเลขฐานสองเป็นระบบตัวเลขที่ประกอบด้วยตัวเลขเพียง
2 ตัว คือ 0 และ 1 เท่านั้น ตัวอย่างเลขฐานสอง เช่น 1102 , 101102

10. ระบบเลขฐานแปด อธิบายระบบเลขฐานแปด
อธิบาย ระบบเลขฐานแปดเป็นระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด มีตัวเลขอยู่ 8 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6,7 ซึ่งสามารถเปรียบเทียบค่าเลขฐานได้ตามตาราง ทีมา
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/sukanda_p/number/sec02p01.html

11.ระบบเลขฐานสิบหก อธิบาย ระบบเลขฐานสิบหก
(Hexadecimal)
ฐานของมันจะมีค่าเป็น 16 ซึ่งจะมีตัวเลขที่ไม่ซ้ำกันอยู่ทั้งหมด16
ตัว คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F (ตัวอักษร6 ตัว แทน ตัวเลข 10 –15 ตามลำดับ)

 

 

ใบงานที่ 1

1.ระบบสารสนเทศ คือ ระบบสารสนเทศ (Information System ) หมายถึง ระบบที่มีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการรวบรวม
จัดเก็บ หรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ข้อมุลนั้นกลายเป็นสารสนเทศที่ดี สามารถนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็วและถูกต้อง

ระบบสารสนเทศประกอบด้วยองค์ประกอบดังนี้
1.
Hardware หมายถึงอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการจัดกระทำกับข้อมูล

ทั้งที่เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น
เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องคิดเลข
2.
Software หมายถึง ชุดคำสั่ง หรือเรียกให้เข้าง่ายว่า โปรแกรม ที่สามารถ
สั่งการให้คอมพิวเตอร์ทำงานในลักษณะที่ต้องการภายใต้ขอบเขตความสามารถที่เครื่อง
คอมพิวเตอร์ หรือโปรแกรมนั้น ๆ สามารถทำได้ ซอร์ฟแวร์แบ่งออกเป็น
ซอร์ฟแวร์ระบบ และ ซอร์ฟแวร์ประยุกต์
3
User หมายถึง กลุ่มผุ้คนที่ทำงานหรือเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ

4.
Data หมายถึง ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่อาจอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็น ตัวหนังสือ แสง สี เสียง สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ภาพ วัตถุ หรือ
หลาย ๆ อย่างผสมผสานกัน ซึ่งข้อมูลที่ดีจะต้องตรงกับความต้องการของผู้ใช้
5.
Procedure หมายถึง ขั้นตอน กระบวนการต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานในระบบสารสนเทศ เมื่อทั้่ง 5 ส่วนดังกล่าวข้างต้น ทำงานประสานกัน
ส่งผลให้ข้อมูลเกิดการประมวลผลและนำไปใช้ประโยชน์ นั่นก็คือ สารสนเทศนั่นเอง
ซึ่งสารเสนทศนี้จะเป็นสารสนเทศที่ดี จะต้องเป็นสารสนเทศที่มีความถูกต้อง
ตรงกับความต้องการของผู้ใช้และทันเวลาในการใช้งาน
กล่าวโดยสรุปก็คือ กระบวนการสารสนเทศเป็นกระบวนการที่ทำให้เกิด
สารเสนเทศขึ้นมานั่นเอง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 5
ส่วน นั่นคือ
Hardware Software User Procedure และ Data
2. ข้อมูล คือ 
ข้อมูล คือ
ข้อมูลคือข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ ไม่ว่าจะเป็น
คน สัตว์ สิ่งของ หรือ เหตุการณ์ต่าง ๆ 
ข้อมูลอาจอยู่ใน
รูปตัวอักษร ตัวเลข เสียง ภาพ วีดีทัศน์ ดังนั้นการเก็บข้อมูลจึงเป็นการรวบรวมเกี่ยวกับ
ข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจนั่นเอง
ข้อมูลจึงหมายถึงตัวแทนของ ข้อเท็จจริงหรือความเป็นไปของสิ่งที่เราสนใจ
1.2 
คุณสมบัติของข้อมูล

ข้อมูลที่จะนำมาดำเนินการประมวลผล
จะต้องมีคุณสมบัติพื้นฐานดังต่อไปนี้

1. ความถูกต้อง 2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน 3. ความสมบูรณ์ 4. 
ความชัดเจนกะทัดรัด 5. ความสอดคล้อง 1.3 แหล่งข้อมูล มาจากโทรทัศน์ วิทยุ นิตยสาร หนังสือ ภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ

3. สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่มีการปรับเปลี่ยน
(Convert) ด้วยการจัดรูปแบบ (Formatting) การกลั่นกรอง (Filtering) และการสรุป (Summarizing)
ให้เป็นผลลัพธ์ที่มี รูปแบบ (เช่น ข้อความ เสียง รูปภาพ
หรือวีดิทัศน์) และเนื้อหาที่ตรงกับ ความต้องการ และเหมาะสมต่อการนำไปใช้ (Alter
1996 : 29, 65, 714)

4. เทคโนโลยี คือ คำว่า เทคโนโลยี ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า
"Technology" ซึ่งมาจากภาษากรีกว่า
"Technologia" แปลว่า การกระทำที่มีระบบ
อย่างไรก็ตามคำว่า เทคโนโลยี มักนิยมใช้ควบคู่กับคำว่า วิทยาศาสตร์ โดยเรียกรวม ๆ
ว่า "วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี"

5. เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่
การเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผล การแสดงผลลัพธ์ การทำสำเนา และการสื่อสารโทรคมนาคม
เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้

 

 

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 519 คน กำลังออนไลน์